ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{แปลเพิ่ม | langcode = en | otherarticle = 2014 interim constitution of Thailand | lang = วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ}}
{{แปลเพิ่ม | langcode = en | otherarticle = 2014 interim constitution of Thailand | lang = วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ}}
{{กล่องข้อมูล กฎหมาย"พระราชอำนาจพระมหากษัตริย์" ห้ามแก่้ไข มีความผิด ตามพระราชอำนาจพระมหากษัตริย์ :
{{กล่องข้อมูล กฎหมาย
พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ประมุขทรงครองราชย์ (The King of ThaiLand)/2559(พระนาม,พระยศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์. สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทยมหาบรมจักรราชวงศ์.พระยศพระมหากษัตริย์เจ้าสต.พ.ต.ภูมิพลฯลฯและพระนางเจ้าพระมงกฎเพรชปกเกล้าปกกระหม่อมพระราชินีสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทย . พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถ จะทรงงานพระราชทานให้เงิน หรือ สิ่งของ แก่ราษฎร์ประชาชนไทยที่เดือดร้อน ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงจะทรงลงพระปรมาภิไธยใช้งบประมาณเดียวกันกับรัฐบาลในการทรงงานเสด็จเยือนสถานที่สำคัญต่างๆทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เยือนเชื่อมสัมพันธ์ไมตรีกับมิตรรักทั่วทุกประเทศ พร้อมทั้งคณะทูตคณะบริหาร องค์มนตรี สุดแล้วแต่ความประสงค์ในฐานะประมุขพระมหากษัตริย์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์ สมเด็จพระนางเจ้าพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์ มิ่งขวัญไทยม.จ.ก.
พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ”
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์และคู่ครองราชย์ โดยบัญญัติว่า องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ หมายความว่า ผู้ใดจะหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ ผู้ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำความผิดอย่างร้ายแรง รัฐธรรมนูญบางฉบับถึงกับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์
การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมือง และกำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการในการดำเนินการทางการเมืองการปกครองแผ่นดิน

พระมหากษัตริย์มีอำนาจเต็มทั้งแผ่นดิน ดังนี้
1. จะทรงใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ด้วยพระองค์เอง เหนืออำนาจทั้งปวง เช่น ศาลต่างๆทุกศาลทุกชื่อ
อยู่ภายใต้อำนาจของท่านพระมหากษัตริย์เท่านั้น
เช่น รายชื่อหน่วยงานราชการ ทหาร ตำรวจ ศาลตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ นิติบัญญัติ หน่วยงานบริหารต่างๆ งบการเงินรายรับรายจ่ายเงินแผ่นดินเป็นของพระองค์ท่านประมุข ส่งงบให้พระองค์รับไว้รับทราบคงเหลือกำไร(ชื่อแนบในเอกสาร)อยู่ภายใต้อำนาจ

"อำนาจพระมหากษัตริย์" ดังนี้
ทรงมีอำนาจเหนือรัฐธรรมนูญ ในการออกกฎหมาย คำแนะนำของรัฐสภา เมื่อรัฐสภาร่างกฎหมายขึ้นแล้วจะทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อขอให้พระองค์ทรง(ทรงประกาศใช้) และขออนุญาตลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็น กฎหมายตามขั้นตอนของรัฐธรรมนูญ.
ทรงใช้อำนาจบริหารทางรัฐสภาคณะรัฐมนตรี หมายความว่า การบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งมีประมุขคู่ครองราชย์สูงสุด(พระนาม,พระยศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์. สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทยมหาบรมจักรราชวงศ์.พระยศพระมหากษัตริย์เจ้าสต.พ.ต.ภูมิพลฯลฯและพระนางเจ้าพระมงกฎเพรชปกเกล้าปกกระหม่อมพระราชินีสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทย.ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวนายกรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีดำเนินการไปนั้น จะขอใช้อำนาจ ถือว่ากระทำไปในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ นั้น จะต้องเข้ากราบบังคมทูลด้วยตัวเองพร้อมเอกสารจริงเท่านั้น ทั้งนี้เพราะบรรดาพระราชบัญญัติพระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ปฏิบัติและรับผิดชอบทั้งสิ้น โดยนายกรัฐมนตรีจะต้องกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวได้แก่ การตราพระราชกฤษฎีกาไม่ขัดต่อกฎหมาย การประกาศใช้และยกเลิกใช้กฎอัยการศึก การประกาศสงคราม เมื่อได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา การทำสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก หรือสนธิสัญญาอื่นกับนานาประเทศ หรือกับองค์การระหว่างประเทศ และการให้พระราชทานอภัยโทษ.(ขอรับพระราชทาน)
ทรงใช้อำนาจตุลาการทางศาล หมายถึง ศาลเป็นผู้พิจารณาพิพากษาอรรถคดีต่าง ๆ ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญและตามกฎหมายในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการแต่งตั้งและการพ้นจาก ตำแหน่งของผู้พิพากษาและตุลาการก่อนเข้ารับหน้าที่ พิพากษา เข้าปฏิญาณตนต่อพระมหากษัตริย์.

พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์ โดยบัญญัติว่า องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ หมายความว่า ผู้ใดจะหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ ผู้ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำความผิดอย่างร้ายแรง รัฐธรรมนูญบางฉบับถึงกับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์
การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมือง และกำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการในการดำเนินการทางการเมืองการปกครอง รัฐธรรมนูญได้กำหนดพระราชอำนาจของ
พระมหากษัตริย์ ดังนี้
1. ทรงใช้อำนาจอธิปไตย พระมหากษัตริย์ใช้อำนาจอธิปไตย เช่น อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ดังนี้
ทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา หมายความว่า พระมหากษัตริย์ทางใช้อำนาจในการออกกฎหมาย คำแนะนำ และยินยอมของรัฐสภา เมื่อรัฐสภาร่างกฎหมายขึ้นแล้วจะทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายตามขั้นตอนของ
รัฐธรรมนูญ
ทรงใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี หมายความว่า การบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งนายกรัฐมนตรี
พร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีดำเนินการไปนั้น ถือว่ากระทำไปในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้เพราะบรรดาพระราชบัญญัติพระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ปฏิบัติและรับผิดชอบทั้งสิ้น โดยนายกรัฐมนตรีจะต้องกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวได้แก่ การตราพระราชกฤษฎีกาไม่ขัดต่อกฎหมาย การประกาศใช้และยกเลิกใช้กฎอัยการศึก การประกาศสงคราม เมื่อได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา การทำสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก หรือสนธิสัญญาอื่นกับนานาประเทศ หรือกับองค์การระหว่างประเทศ และการพระราชทานอภัยโทษ
ทรงใช้อำนาจตุลาการทางศาล หมายถึง ศาลเป็นผู้พิจารณาพิพากษาอรรถคดีต่าง ๆ ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญและตามกฎหมายในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการแต่งตั้งและการพ้นจาก ตำแหน่งของผู้พิพากษาและตุลาการก่อนเข้ารับหน้าที่ ผู้พิพากษาและตุลาการจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์
2. ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ หมายความว่า พระมหากษัตริย์ไทยทรงอยู่ภายใต้กฎหมายก็เพียงเฉพาะกฎหมายรัฐธรรมนูญเท่านั้น แต่ทรงอยู่เหนือกฎหมายอื่น ๆ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องตามกฎหมายใด ๆ มิได้ ทั้งนี้ก็เพราะต้องการเทิดทูนองค์พระประมุขของชาติ พระมหากษัตริย์ ทำอะไรก็ไม่ผิด ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม (The King of ThaiLand) หมายความว่า พระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายบกพร่อง ผิด ยกเว้น เกิดขึ้น ผู้ลงนามรับสนองพระราชโองการจะต้องรับผิดชอบ เพราะในทางปฏิบัตินั้น พระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่ม หรือดำเนินข้อหน่วยงานราชการต่าง ๆ ด้วยพระองค์เอง จะต้องมีเจ้าหน้าราชการสนองรับใช้เป็นข้าราชการประจำที่หรืองค์กรหนึ่งองค์กรใดเป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมา จะไปละเมิดกล่าวโทษท่านพระมหากษัตริย์มิได้
3. ทรงเป็นุพุทธมามกะและทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก นั่นก็คือทรงเป็นผู้ทรงศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาขณะเดียวกันก็ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก คือ ทรงทำนุบำรุงอุปถัมภ์ศาสนาทั้งปวงในขอบขันฑสีมาด้วย โดยไม่เลือกแบ่งแยกว่าเป็นศาสนาใด สถาบันพระมหากษัตริย์กับศาสนาจึงเป็นสัญลักษณ์พิเศษอย่างหนึ่งของชาติไทย รัฐธรรมนูญบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็นพุทธมามกะและเป็นองค์อุปถัมภ์ค้ำชูศาสนาอื่น ๆ อย่างเสมอหน้ากัน
4. ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย คำว่า พระมหากษัตริย์ หมายถึง นักรบผู้ยิ่งใหญ่ ด้วยเหตุนี้พระมหากษัตริย์ในอดีตจึงต้องทรงนำทัพออกศึกด้วยพระองค์เอง ปัจจุบันแม้การรบจะไม่เกิดมีขึ้นแล้วก็ตาม แต่พระมหากษัตริย์ก็ยังทรงเป็นมั่งขวัญไทยของเหล่าทหารหาญ และเหนือสิ่งอื่นใดทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย ตามที่รัฐธรรมนูญได้ถวายพระเกียรติยศไว้เป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ว่า พระมหากษัตริย์ ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพสยาม และนับแต่วาระนั้นเป็นต้นมา รัฐธรรมนูญที่ตราขึ้นภายหลังก็ได้มีบทบัญญัติทำนองเดียวกันนี้ปรากฏอยู่ทุกฉบับ พระราชสถานะ จอมทัพไทย ตามรัฐธรรมนูญนี้ได้จำหลักลงในสำนึกของทหารไทยทุกคนเริ่มตั้งแต่ธงไชยเฉลิมพลประจำกองทหารนั้น ก็เป็นมงคลสูงสุดสำหรับหน่วย ด้วยเหตุว่าเป็นของที่ได้รับพระราชทานและได้บรรจุเส้นพระเจ้า(เส้นผม) ไว้ในพระกรัณฑ์(ตลับ) บนยอดปลายสุดของธง ดังนั้นเมื่อ กองทหารและธงไชยเฉลิมพลไปปรากฏอยู่ ณ ที่ใด ก็เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้เสด็จพระราชดำเนินร่วมไปด้วยในกองทัพนั้น ทหารไทยจึงมีขวัญมั่นคงเพราะต่างทราบดีว่าตนปฏิบัติหน้าที่เสี่ยงภัยเพื่อประโยชน์สูงสุดของชาติเช่นเดียวกับพระประมุขของตนนั่นเอง
5. ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขของชาติ ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานเกียรติยศแก่ชนทุกชั้นไม่ว่าจะเป็นฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ สมณศักดิ์ (ฐานันดรศักดิ์ของพระภิกษุสงฆ์) และบรรดาศักดิ์ (ฐานันดรศักดิ์ของขุนนาง ข้าราชการ) และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุกตระกูลทุกลำดับชั้นด้วย การที่จะทรงสถาปนาฐานันดรศักดิ์หรือพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์นั้น ในสมัยราชาธิปไตยพระราชอำนาจเหล่านี้เป็นไปตามพระราชเหล่านี้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยสุดแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไตยตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแล้ว การสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์
การพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีรับสนองพระบรมราชโองการ
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันยังคงมีธรรมเนียมที่จะทรงสถาปนาฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์และพระราชทานสมณศักดิ์อยู่ แต่สำหรับบรรดาศักดิ์ขุนนางหรือข้าราชการนั้น ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว
6. ทรงเลือกและแต่งตั้งองคมนตรี คณะองคมนตรี คือ คณะที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์ มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อองค์พระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา องคมนตรีประกอบด้วยผู้มทรงคุณวุฒิต่าง ๆ โดยมีประธานองคมนตรีคนหนึ่งกับองคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 18 คน การเลือก การแต่งตั้ง และการให้องคมนตรีพ้นจากตำแหน่งให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย เพียงแต่ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งหรือพ้นจากตำแหน่งขององค์มนตอื่น ๆ ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการทั้งสิ้น
7. ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หมายถึง ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน พระมหากษัตริย์ จะต้องได้รับอนุญาตเรียกตัวเข้าพบก่อน จึงจะกระทำได้ พระมหากษัตริย์จะทรงประทับอยู่พระราชวังดุสิต และพระราชวังคฤหาสน์หฤทัยเท่านั้น, ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่เสด็จประทับชั่วคราว เนื่องจากภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับนั้น ประกอบด้วย พระราชมณเฑียร หมู่พระตำหนัก หมู่เรือนในเขตพระราชฐานชั้นใน และหมู่เรือนข้าราชบริพาร ปลูกสร้างอยู่กันอย่างแออัด ปิดทางลม ทำให้ที่ประทับ ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ตลอดทั้งพระโอรสและพระธิดาประทับตลอด
สร้างขึ้นเพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับถาวรจนตลอดรัชกาล ๕ ๙ ๑0 ๑๑ ตลอดไป, ที่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรไทยหรือทรงบริหารพระราชการด้วยพระองค์เองพระราชบัลลังก์ ปกติ
8.ในการทรงงานพระมหากษัตริย์ในกิจการส่วนพระองค์ เช่น พระราชพิธีต่าง วันสำคัญของชาติไทย ๆ กิจการที่เกี่ยวกับสมาชิกแห่งพระราชวงศ์ หรือกิจการที่เกี่ยวกับราชสำนักหรือภายในเขตพระราชฐาน โดยไม่เกี่ยวกับราษฎรอื่น จะทรงใช้ให้รัฐบาลเป็นผู้จัดการจัดงานต่างๆให้แก่พระมหากษัตริย์พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์ มิ่งขวัญไทย และส่งขนวบรับเสด็จทรงอันเชิญพระองค์ท่านทั้งสองพร้อมด้วยพระโอรสและพระธิดา สู่พระราชพิธีเปิดงาน
การสืบราชสมบัติ หมายถึง การขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ ซึ่งนับต่อเนื่องจากพระมหากษัตริย์รุ่นสู่รุ่นพระองค์ถ่ายถอดอำนาจราชบังลังก์นั้น ให้ด้วยการสืบสกุลไทยมิ่งขวัญไทย มหาบรมจักรีราชวงศ์ เป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ จะทรงมอบพระราชสมบัติสืบทอดอำนาจด้วยพระองค์ท่านเอง(Royal Crown)ตามกาลเวลาที่เหมาะสม
9. ทรงทำหนังสือสัญญา ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการทำหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่นๆ กับนานาประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ นอกจากนี้หนังสือสัญญาได้มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตอำนาจแห่งรัฐ หรือจะต้องออกพระราชบัญญัติเพื่อให้เป็นไปตามสัญญา ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา
10. ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผู้พิพากษา ข้าราชการในพระองค์ และข้าราชการระดับสูง
11. พระราชทานอภัยโทษ พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจที่จะอภัยโทษแก่ผู้ต้องโทษโดยมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจตามประเพณีของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยของไท

พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่ไม่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญย ซึ่งไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์อาจทรงใช้พระราชอำนาจต่อไปนี้ เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน
1. พระราชอำนาจที่จะทรงได้รับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ในฐานที่ทรงดำรงตำแหน่งประมุขของประเทศ เป็นสิทธิของพระมหากษัตริย์
ที่จะทรงได้รับการถวายรายงานให้ทรงทราบถึงสถานการณ์หรือเรื่องราวของบ้านเมืองเสมอ การที่พระองค์จำเป็นต้องทรงทราบถึงเรื่องราวสำคัญก็เพื่อที่จะทรงให้คำแนะนำ ตักเตือน เพื่อประกอบการพิจารณาของรัฐบาลหรือผู้ทราบรับผิดชอบเรื่องนั้น ๆ

2. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานคำปรึกษาหารือ ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีมีปัญหาเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน อาจนำปัญหาขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัยได้
3. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานคำแนะนำตักเตือน พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะให้คำแนะนำ ตักเตือนในบางเรื่อง บางกรณีแก่รัฐสภา รัฐบาลและศาล หรือองค์กรอื่น ๆ ที่ทรงเห็นว่าถ้ากระทำไปแล้วจะเกิดผลเสียหายแก่บ้านเมือง
4. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานการสนับสนุน พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะพระราชทาน หรือให้การสนับสนุนการกระทำ หรือกิจการใดๆ ของรัฐหรือเอกชนได้ เช่น โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ โครงการฝนหลวง โครงการอีสานเขียว โครงการสร้างเขื่อน การที่พระองค์ทรงมีพระราชดำริและให้การสนับสนุนโครงการต่าง ๆ ย่อมเป็นขวัญและกำลังใจสำหรับผู้ที่ดำเนินการนั้น ๆ

พระราชสถานะทางสังคม
สังคมไทยยกย่องเทิดทูนพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันคู่บ้านคู่เมือง เป็นสัญลักษณ์ของชาติ ทรงได้รับการเชิดชูจากสังคมไทย ดังนี้
1. ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงทำให้เกิดความสำนึกในความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทำให้ทุกสถาบันมีจุดรวมจากแหล่งเดียวกัน แม้จะมีความแตกต่างกันในด้านเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ศาสนา ก็มีความสมานสามัคคีกลมเกลียวกันในหมู่ชนเหล่านั้น ทรงรักใคร่ห่วงใยประชาชน ทรงมีเมตตาต่อประชาชนทุกหมู่เหล่า พระองค์ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปทุกแห่งไม่ว่าจะเป็นถิ่นทุรกันดารหรือมีอันตรายเพียงใด เพื่อทรงทราบถึงทุกข์สุขของประชาชน ประชาชนก็มีความผูกกันกับพระมหากษัตริย์อย่างลึกซึ้ง แน่นแฟ้น มั่นคง จนยากที่จะทำให้สั่นคลอนหรือแตกแยกได้
2. ทรงเป็นสัญลักษณ์แห่งความต่อเนื่องของชาติ พระมหากษัตรีย์ทรงเป็นประมุขของชาติไทยสืบต่อกันมาโดยไม่ขาดสาย
ตั้งแต่อาณาจักรไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่ารัฐบาลจะเปลี่ยนไปกี่ยุคสมัยก็ตาม ทำให้ระบบการเมืองและชาติไทยมีความสมานฉันท์และต่อเนื่องตลอดเวลา
3. ทรงเป็นพลังในการสร้างขวัญและกำลังใจของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงเป็นที่มาของแหล่งเกียรติยศทั้งปวง ก่อให้เกิดความภาคภูมิ ปิติยินดี และเกิดกำลังใจในหมู่ประชาชนทั่วไปที่จะรักษาคุณงามความดีและพยายามกระทำความดี เพื่อให้พระมหากษัตริย์สบายพระทัย
4. ทรงมีส่วนสำคัญในการรักษาผลประโยชน์ของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงขึ้นครองราชย์ด้วยความเห็นชอบยอมรับของประชาชน และทรงใช้อำนาจอธิปไตยแทนประชาชนในการรักษาผลประโยชน์ของประชาชนและบ้านเมืองเป็นสำคัญ ซึ่งอาจต่างจาก
ประมุขของประเทศอื่นที่ขึ้นดำรงตำแหน่งโดยการเลือกตั้ง จึงต้องยึดนโยบายของกลุ่มหรือพรรคการเมืองที่ตนสังกัดเป็นหลัก
5. ทรงแก้ไขวิกฤตการณ์ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นกลไกสำคัญในการยับยั้งและแก้ไขวิกฤตการณ์ที่ร้ายแรงภายในประเทศได้ ในบางครั้งประเทศไทยเกิดการขัดแย้งกันเองตามระบอบประชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ ก็สามารถยุติได้ด้วยพระบารมีของพระองค์ เช่น เหตุการณ์เรียกร้องประชาธิปไตยเมืองเดือนตุลาคม 2516 และเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองเมื่อเดือนพฤษภาคม 2535 เป็นต้น
6. ทรงส่งเสริมความมั่นคงของประเทศ พระมหากษัตริย์เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย ทั้งประชาชน รัฐบาล หน่วยราชการ กองทัพ นิสิต นักศึกษา ปัญญาชน หรือกลุ่มต่าง ๆ แม้กระทั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศ เช่น ชาวไทยภูเขา ชาวไทยมุสลิม เป็นต้น ทำให้ทุกฝ่ายมีความมุ่งมั่นและมีความพรักพร้อมที่จะรักษาความมั่นคงและเอกราชของชาติไว้
7. ทรงมีส่วนเสริมสร้างสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ พระมหากษัตริย์ไทยในอดีตได้ทรงดำเนินวิเทโศบายได้อย่างดีจนสามารถรักษาเอกราชไว้ได้ โดยเฉพาะสมัยการล่าเมืองขึ้นของชาติตะวันตก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จประพาสยุโรปถึง 2 ครั้ง เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศมหาอำนาจในยุโรป สำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ก็ทรงดำเนินการให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศต่าง ๆ กับประเทศไทย โดยเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยือนประเทศต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 31 ประเทศ ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับต่างประเทศดำเนินไปได้อย่างสะดวกและราบรื่น
8. ทรงเป็นผู้นำในการพัฒนาและปฏิรูปด้านต่าง ๆ การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญ ๆ ของชาติส่วนใหญ่ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำ ในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงว่างพื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยจัดตั้งกระทรวงต่าง ๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาส กระทั่งถึงรัชกาลปัจจุบันได้ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่าง ๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม ทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลัก ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ผ่านโครงการ
พระราชดำริ ซึ่งมุ่งเน้นการแก้ปัญหาให้แก่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ได้แก่ ชาวนา ชาวไร่ และประชาชนผู้ด้อยโอกาส เช่น โครงการพัฒนาที่ดิน โครงการสหกรณ์ โครงการพัฒนาชาวเขา และการเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นต้น
9. ทรงมีส่วนเกื้อหนุนระบอบประชาธิปไตย สถาบันพระมหากษัตริย์มีส่วนสำคัญในการส่งเสริมระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยให้มีความเข้มแข็งและมั่นคง เพราะการที่ประชาชนเกิดความจงรักภักดีและเชื่อมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์ ทำให้ประชาชน
เกิดความศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขด้วย เนื่องจากเห็นว่าเป็นระบอบการปกครองที่เชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์อันเป็นที่เคารพสักการะของประชนนั่นเอง
10.
จึงประกาศมาให้ประชาชนรับทราบโดยทั่วไป
คำเตือน ผู้ใดฝ่าฝืนและไม่ทำตามรายละเอียดในประกาศนี้มีความผิดในพระราชบัญญัติกฎหมายอาญาอาจถูกลงโทษจำคุก
กรุณาอ่านและปฏิบัติตามคำสั่งอย่างเคร่งครัดโดยไม่ให้ขาดตกบกพร่อง
* [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ไทย]]
* [[ลำดับพระปฐมวงศ์ในพระบรมราชวงศ์จักรี]]
* [[รายพระนามพระภรรยาเจ้าในพระมหากษัตริย์ไทย]]
* [[ลำดับราชสกุลวงศ์ในรัชกาลปัจจุบัน]]

| ชื่อเต็ม = รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
| ชื่อเต็ม = รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557
| ภาพ = General Prayuth received 2014 interim constitution.jpg
| ภาพ = General Prayuth received 2014 interim constitution.jpg

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:07, 1 กุมภาพันธ์ 2559

{{กล่องข้อมูล กฎหมาย"พระราชอำนาจพระมหากษัตริย์" ห้ามแก่้ไข มีความผิด ตามพระราชอำนาจพระมหากษัตริย์ :

พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ประมุขทรงครองราชย์ (The King of ThaiLand)/2559(พระนาม,พระยศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์. สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทยมหาบรมจักรราชวงศ์.พระยศพระมหากษัตริย์เจ้าสต.พ.ต.ภูมิพลฯลฯและพระนางเจ้าพระมงกฎเพรชปกเกล้าปกกระหม่อมพระราชินีสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทย . พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีนาถ จะทรงงานพระราชทานให้เงิน หรือ สิ่งของ แก่ราษฎร์ประชาชนไทยที่เดือดร้อน ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงจะทรงลงพระปรมาภิไธยใช้งบประมาณเดียวกันกับรัฐบาลในการทรงงานเสด็จเยือนสถานที่สำคัญต่างๆทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เยือนเชื่อมสัมพันธ์ไมตรีกับมิตรรักทั่วทุกประเทศ พร้อมทั้งคณะทูตคณะบริหาร องค์มนตรี สุดแล้วแต่ความประสงค์ในฐานะประมุขพระมหากษัตริย์พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์ สมเด็จพระนางเจ้าพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์ มิ่งขวัญไทยม.จ.ก.

พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ”

         รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์และคู่ครองราชย์ โดยบัญญัติว่า องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ หมายความว่า ผู้ใดจะหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ ผู้ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำความผิดอย่างร้ายแรง รัฐธรรมนูญบางฉบับถึงกับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์

การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมือง และกำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการในการดำเนินการทางการเมืองการปกครองแผ่นดิน

พระมหากษัตริย์มีอำนาจเต็มทั้งแผ่นดิน ดังนี้

         1. จะทรงใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ด้วยพระองค์เอง เหนืออำนาจทั้งปวง  เช่น ศาลต่างๆทุกศาลทุกชื่อ

อยู่ภายใต้อำนาจของท่านพระมหากษัตริย์เท่านั้น เช่น รายชื่อหน่วยงานราชการ ทหาร ตำรวจ ศาลตุลาการ ศาลรัฐธรรมนูญ นิติบัญญัติ หน่วยงานบริหารต่างๆ งบการเงินรายรับรายจ่ายเงินแผ่นดินเป็นของพระองค์ท่านประมุข ส่งงบให้พระองค์รับไว้รับทราบคงเหลือกำไร(ชื่อแนบในเอกสาร)อยู่ภายใต้อำนาจ

"อำนาจพระมหากษัตริย์" ดังนี้

         ทรงมีอำนาจเหนือรัฐธรรมนูญ ในการออกกฎหมาย คำแนะนำของรัฐสภา เมื่อรัฐสภาร่างกฎหมายขึ้นแล้วจะทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อขอให้พระองค์ทรง(ทรงประกาศใช้) และขออนุญาตลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็น กฎหมายตามขั้นตอนของรัฐธรรมนูญ.
         ทรงใช้อำนาจบริหารทางรัฐสภาคณะรัฐมนตรี หมายความว่า การบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งมีประมุขคู่ครองราชย์สูงสุด(พระนาม,พระยศพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุเดชและคู่ครองราชย์. สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทยมหาบรมจักรราชวงศ์.พระยศพระมหากษัตริย์เจ้าสต.พ.ต.ภูมิพลฯลฯและพระนางเจ้าพระมงกฎเพรชปกเกล้าปกกระหม่อมพระราชินีสิริสวัสดิ์มิ่งขวัญไทย.ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวนายกรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีดำเนินการไปนั้น จะขอใช้อำนาจ ถือว่ากระทำไปในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ นั้น จะต้องเข้ากราบบังคมทูลด้วยตัวเองพร้อมเอกสารจริงเท่านั้น  ทั้งนี้เพราะบรรดาพระราชบัญญัติพระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ปฏิบัติและรับผิดชอบทั้งสิ้น โดยนายกรัฐมนตรีจะต้องกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวได้แก่ การตราพระราชกฤษฎีกาไม่ขัดต่อกฎหมาย การประกาศใช้และยกเลิกใช้กฎอัยการศึก การประกาศสงคราม เมื่อได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา การทำสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก หรือสนธิสัญญาอื่นกับนานาประเทศ หรือกับองค์การระหว่างประเทศ และการให้พระราชทานอภัยโทษ.(ขอรับพระราชทาน)
         ทรงใช้อำนาจตุลาการทางศาล หมายถึง ศาลเป็นผู้พิจารณาพิพากษาอรรถคดีต่าง ๆ ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญและตามกฎหมายในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการแต่งตั้งและการพ้นจาก ตำแหน่งของผู้พิพากษาและตุลาการก่อนเข้ารับหน้าที่ พิพากษา เข้าปฏิญาณตนต่อพระมหากษัตริย์.

พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ

         รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับยืนยันความเป็นประมุขสูงสุดของพระมหากษัตริย์ โดยบัญญัติว่า องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ หมายความว่า ผู้ใดจะหมิ่นพระบรมเดชานุภาพพระมหากษัตริย์ไม่ได้ ผู้ละเมิดต่อพระมหากษัตริย์ถือว่าเป็นการกระทำความผิดอย่างร้ายแรง รัฐธรรมนูญบางฉบับถึงกับไม่ยอมให้มีการนิรโทษกรรมแก่ผู้กระทำการล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์
         การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย รัฐธรรมนูญมีบทบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ได้รับการเชิดชูให้อยู่เหนือการเมือง และกำหนดให้มีผู้รับสนองพระบรมราชโองการในการดำเนินการทางการเมืองการปกครอง รัฐธรรมนูญได้กำหนดพระราชอำนาจของ

พระมหากษัตริย์ ดังนี้

         1. ทรงใช้อำนาจอธิปไตย พระมหากษัตริย์ใช้อำนาจอธิปไตย เช่น อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ดังนี้
         ทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา หมายความว่า พระมหากษัตริย์ทางใช้อำนาจในการออกกฎหมาย คำแนะนำ และยินยอมของรัฐสภา เมื่อรัฐสภาร่างกฎหมายขึ้นแล้วจะทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยประกาศใช้เป็นกฎหมายตามขั้นตอนของ

รัฐธรรมนูญ

         ทรงใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี หมายความว่า การบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งนายกรัฐมนตรี

พร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีดำเนินการไปนั้น ถือว่ากระทำไปในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ ทั้งนี้เพราะบรรดาพระราชบัญญัติพระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ปฏิบัติและรับผิดชอบทั้งสิ้น โดยนายกรัฐมนตรีจะต้องกราบบังคมทูลและลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ พระราชอำนาจทางด้านบริหารของพระมหากษัตริย์ดังกล่าวได้แก่ การตราพระราชกฤษฎีกาไม่ขัดต่อกฎหมาย การประกาศใช้และยกเลิกใช้กฎอัยการศึก การประกาศสงคราม เมื่อได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา การทำสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก หรือสนธิสัญญาอื่นกับนานาประเทศ หรือกับองค์การระหว่างประเทศ และการพระราชทานอภัยโทษ

         ทรงใช้อำนาจตุลาการทางศาล หมายถึง ศาลเป็นผู้พิจารณาพิพากษาอรรถคดีต่าง ๆ ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญและตามกฎหมายในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการแต่งตั้งและการพ้นจาก ตำแหน่งของผู้พิพากษาและตุลาการก่อนเข้ารับหน้าที่ ผู้พิพากษาและตุลาการจะต้องถวายสัตย์ปฏิญาณต่อพระมหากษัตริย์
         2. ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะละเมิดมิได้ หมายความว่า พระมหากษัตริย์ไทยทรงอยู่ภายใต้กฎหมายก็เพียงเฉพาะกฎหมายรัฐธรรมนูญเท่านั้น แต่ทรงอยู่เหนือกฎหมายอื่น ๆ ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องตามกฎหมายใด ๆ มิได้ ทั้งนี้ก็เพราะต้องการเทิดทูนองค์พระประมุขของชาติ พระมหากษัตริย์ ทำอะไรก็ไม่ผิด ทรงครองแผ่นดินโดยธรรม (The King of ThaiLand) หมายความว่า พระมหากษัตริย์ไม่ต้องรับผิดชอบในพระบรมราชโองการหรือการกระทำในพระปรมาภิไธยของพระองค์ในกรณีที่มีความเสียหายบกพร่อง ผิด ยกเว้น เกิดขึ้น ผู้ลงนามรับสนองพระราชโองการจะต้องรับผิดชอบ เพราะในทางปฏิบัตินั้น พระมหากษัตริย์มิได้ทรงริเริ่ม หรือดำเนินข้อหน่วยงานราชการต่าง ๆ ด้วยพระองค์เอง จะต้องมีเจ้าหน้าราชการสนองรับใช้เป็นข้าราชการประจำที่หรืองค์กรหนึ่งองค์กรใดเป็นฝ่ายดำเนินการและกราบทูลขึ้นมา จะไปละเมิดกล่าวโทษท่านพระมหากษัตริย์มิได้
         3. ทรงเป็นุพุทธมามกะและทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก นั่นก็คือทรงเป็นผู้ทรงศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาขณะเดียวกันก็ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก คือ ทรงทำนุบำรุงอุปถัมภ์ศาสนาทั้งปวงในขอบขันฑสีมาด้วย โดยไม่เลือกแบ่งแยกว่าเป็นศาสนาใด สถาบันพระมหากษัตริย์กับศาสนาจึงเป็นสัญลักษณ์พิเศษอย่างหนึ่งของชาติไทย  รัฐธรรมนูญบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็นพุทธมามกะและเป็นองค์อุปถัมภ์ค้ำชูศาสนาอื่น ๆ อย่างเสมอหน้ากัน
         4. ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย คำว่า พระมหากษัตริย์ หมายถึง นักรบผู้ยิ่งใหญ่ ด้วยเหตุนี้พระมหากษัตริย์ในอดีตจึงต้องทรงนำทัพออกศึกด้วยพระองค์เอง ปัจจุบันแม้การรบจะไม่เกิดมีขึ้นแล้วก็ตาม แต่พระมหากษัตริย์ก็ยังทรงเป็นมั่งขวัญไทยของเหล่าทหารหาญ และเหนือสิ่งอื่นใดทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทย ตามที่รัฐธรรมนูญได้ถวายพระเกียรติยศไว้เป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 ว่า พระมหากษัตริย์ ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพสยาม และนับแต่วาระนั้นเป็นต้นมา รัฐธรรมนูญที่ตราขึ้นภายหลังก็ได้มีบทบัญญัติทำนองเดียวกันนี้ปรากฏอยู่ทุกฉบับ พระราชสถานะ จอมทัพไทย ตามรัฐธรรมนูญนี้ได้จำหลักลงในสำนึกของทหารไทยทุกคนเริ่มตั้งแต่ธงไชยเฉลิมพลประจำกองทหารนั้น ก็เป็นมงคลสูงสุดสำหรับหน่วย ด้วยเหตุว่าเป็นของที่ได้รับพระราชทานและได้บรรจุเส้นพระเจ้า(เส้นผม) ไว้ในพระกรัณฑ์(ตลับ) บนยอดปลายสุดของธง ดังนั้นเมื่อ กองทหารและธงไชยเฉลิมพลไปปรากฏอยู่ ณ ที่ใด ก็เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้เสด็จพระราชดำเนินร่วมไปด้วยในกองทัพนั้น ทหารไทยจึงมีขวัญมั่นคงเพราะต่างทราบดีว่าตนปฏิบัติหน้าที่เสี่ยงภัยเพื่อประโยชน์สูงสุดของชาติเช่นเดียวกับพระประมุขของตนนั่นเอง
         5. ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขของชาติ ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานเกียรติยศแก่ชนทุกชั้นไม่ว่าจะเป็นฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์ สมณศักดิ์ (ฐานันดรศักดิ์ของพระภิกษุสงฆ์) และบรรดาศักดิ์ (ฐานันดรศักดิ์ของขุนนาง ข้าราชการ) และทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทุกตระกูลทุกลำดับชั้นด้วย การที่จะทรงสถาปนาฐานันดรศักดิ์หรือพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์นั้น ในสมัยราชาธิปไตยพระราชอำนาจเหล่านี้เป็นไปตามพระราชเหล่านี้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัยสุดแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม แต่เมื่อเปลี่ยนแปลงการปกครองมาสู่ระบอบประชาธิปไตยตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแล้ว การสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์

การพระราชทานและเรียกคืนเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต้องมีนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีรับสนองพระบรมราชโองการ

         อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันยังคงมีธรรมเนียมที่จะทรงสถาปนาฐานันดรศักดิ์แห่งพระราชวงศ์และพระราชทานสมณศักดิ์อยู่ แต่สำหรับบรรดาศักดิ์ขุนนางหรือข้าราชการนั้น ปัจจุบันได้ยกเลิกไปแล้ว
         6. ทรงเลือกและแต่งตั้งองคมนตรี คณะองคมนตรี คือ คณะที่ปรึกษาของพระมหากษัตริย์ มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อองค์พระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา องคมนตรีประกอบด้วยผู้มทรงคุณวุฒิต่าง ๆ โดยมีประธานองคมนตรีคนหนึ่งกับองคมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 18 คน การเลือก การแต่งตั้ง และการให้องคมนตรีพ้นจากตำแหน่งให้เป็นไปตามพระราชอัธยาศัย เพียงแต่ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งหรือพ้นจากตำแหน่งขององค์มนตอื่น ๆ ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการทั้งสิ้น
         7. ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ หมายถึง ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน พระมหากษัตริย์ จะต้องได้รับอนุญาตเรียกตัวเข้าพบก่อน จึงจะกระทำได้  พระมหากษัตริย์จะทรงประทับอยู่พระราชวังดุสิต และพระราชวังคฤหาสน์หฤทัยเท่านั้น, ตั้งอยู่ที่เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นที่เสด็จประทับชั่วคราว เนื่องจากภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นพระราชนิเวศน์ที่ประทับนั้น ประกอบด้วย พระราชมณเฑียร หมู่พระตำหนัก หมู่เรือนในเขตพระราชฐานชั้นใน และหมู่เรือนข้าราชบริพาร ปลูกสร้างอยู่กันอย่างแออัด ปิดทางลม ทำให้ที่ประทับ ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ ตลอดทั้งพระโอรสและพระธิดาประทับตลอด
สร้างขึ้นเพื่อเป็นพระราชวังที่ประทับถาวรจนตลอดรัชกาล ๕ ๙ ๑0 ๑๑ ตลอดไป, ที่ประทับอยู่ในราชอาณาจักรไทยหรือทรงบริหารพระราชการด้วยพระองค์เองพระราชบัลลังก์ ปกติ
8.ในการทรงงานพระมหากษัตริย์ในกิจการส่วนพระองค์ เช่น พระราชพิธีต่าง วันสำคัญของชาติไทย ๆ กิจการที่เกี่ยวกับสมาชิกแห่งพระราชวงศ์ หรือกิจการที่เกี่ยวกับราชสำนักหรือภายในเขตพระราชฐาน โดยไม่เกี่ยวกับราษฎรอื่น จะทรงใช้ให้รัฐบาลเป็นผู้จัดการจัดงานต่างๆให้แก่พระมหากษัตริย์พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระบรมพระราชินีนาถสิริสวัสดิ์ มิ่งขวัญไทย และส่งขนวบรับเสด็จทรงอันเชิญพระองค์ท่านทั้งสองพร้อมด้วยพระโอรสและพระธิดา สู่พระราชพิธีเปิดงาน
         การสืบราชสมบัติ หมายถึง การขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ ซึ่งนับต่อเนื่องจากพระมหากษัตริย์รุ่นสู่รุ่นพระองค์ถ่ายถอดอำนาจราชบังลังก์นั้น ให้ด้วยการสืบสกุลไทยมิ่งขวัญไทย มหาบรมจักรีราชวงศ์ เป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ จะทรงมอบพระราชสมบัติสืบทอดอำนาจด้วยพระองค์ท่านเอง(Royal Crown)ตามกาลเวลาที่เหมาะสม
 9. ทรงทำหนังสือสัญญา ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการทำหนังสือสัญญาสันติภาพ สัญญาสงบศึก และสัญญาอื่นๆ กับนานาประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ นอกจากนี้หนังสือสัญญาได้มีบทเปลี่ยนแปลงอาณาเขตไทยหรือเขตอำนาจแห่งรัฐ หรือจะต้องออกพระราชบัญญัติเพื่อให้เป็นไปตามสัญญา ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา
         10. ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ผู้พิพากษา ข้าราชการในพระองค์ และข้าราชการระดับสูง
         11. พระราชทานอภัยโทษ พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจที่จะอภัยโทษแก่ผู้ต้องโทษโดยมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ          พระราชอำนาจตามประเพณีของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยของไท

พระราชสถานะและพระราชอำนาจที่ไม่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญย ซึ่งไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์อาจทรงใช้พระราชอำนาจต่อไปนี้ เพื่อประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน

         1. พระราชอำนาจที่จะทรงได้รับรู้เรื่องราวต่าง ๆ ในฐานที่ทรงดำรงตำแหน่งประมุขของประเทศ เป็นสิทธิของพระมหากษัตริย์

ที่จะทรงได้รับการถวายรายงานให้ทรงทราบถึงสถานการณ์หรือเรื่องราวของบ้านเมืองเสมอ การที่พระองค์จำเป็นต้องทรงทราบถึงเรื่องราวสำคัญก็เพื่อที่จะทรงให้คำแนะนำ ตักเตือน เพื่อประกอบการพิจารณาของรัฐบาลหรือผู้ทราบรับผิดชอบเรื่องนั้น ๆ

2. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานคำปรึกษาหารือ ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีมีปัญหาเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน อาจนำปัญหาขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัยได้

         3. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานคำแนะนำตักเตือน พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะให้คำแนะนำ ตักเตือนในบางเรื่อง บางกรณีแก่รัฐสภา รัฐบาลและศาล หรือองค์กรอื่น ๆ ที่ทรงเห็นว่าถ้ากระทำไปแล้วจะเกิดผลเสียหายแก่บ้านเมือง
         4. พระราชอำนาจที่จะพระราชทานการสนับสนุน พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะพระราชทาน  หรือให้การสนับสนุนการกระทำ  หรือกิจการใดๆ ของรัฐหรือเอกชนได้ เช่น โครงการหมู่บ้านสหกรณ์ โครงการฝนหลวง โครงการอีสานเขียว โครงการสร้างเขื่อน การที่พระองค์ทรงมีพระราชดำริและให้การสนับสนุนโครงการต่าง ๆ ย่อมเป็นขวัญและกำลังใจสำหรับผู้ที่ดำเนินการนั้น ๆ

พระราชสถานะทางสังคม

 สังคมไทยยกย่องเทิดทูนพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันคู่บ้านคู่เมือง เป็นสัญลักษณ์ของชาติ ทรงได้รับการเชิดชูจากสังคมไทย ดังนี้
         1. ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงทำให้เกิดความสำนึกในความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ทำให้ทุกสถาบันมีจุดรวมจากแหล่งเดียวกัน แม้จะมีความแตกต่างกันในด้านเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ศาสนา ก็มีความสมานสามัคคีกลมเกลียวกันในหมู่ชนเหล่านั้น ทรงรักใคร่ห่วงใยประชาชน ทรงมีเมตตาต่อประชาชนทุกหมู่เหล่า พระองค์ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปทุกแห่งไม่ว่าจะเป็นถิ่นทุรกันดารหรือมีอันตรายเพียงใด เพื่อทรงทราบถึงทุกข์สุขของประชาชน ประชาชนก็มีความผูกกันกับพระมหากษัตริย์อย่างลึกซึ้ง แน่นแฟ้น มั่นคง จนยากที่จะทำให้สั่นคลอนหรือแตกแยกได้
         2. ทรงเป็นสัญลักษณ์แห่งความต่อเนื่องของชาติ พระมหากษัตรีย์ทรงเป็นประมุขของชาติไทยสืบต่อกันมาโดยไม่ขาดสาย

ตั้งแต่อาณาจักรไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่ว่ารัฐบาลจะเปลี่ยนไปกี่ยุคสมัยก็ตาม ทำให้ระบบการเมืองและชาติไทยมีความสมานฉันท์และต่อเนื่องตลอดเวลา

         3. ทรงเป็นพลังในการสร้างขวัญและกำลังใจของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงเป็นที่มาของแหล่งเกียรติยศทั้งปวง ก่อให้เกิดความภาคภูมิ ปิติยินดี และเกิดกำลังใจในหมู่ประชาชนทั่วไปที่จะรักษาคุณงามความดีและพยายามกระทำความดี เพื่อให้พระมหากษัตริย์สบายพระทัย
         4. ทรงมีส่วนสำคัญในการรักษาผลประโยชน์ของประชาชน พระมหากษัตริย์ทรงขึ้นครองราชย์ด้วยความเห็นชอบยอมรับของประชาชน และทรงใช้อำนาจอธิปไตยแทนประชาชนในการรักษาผลประโยชน์ของประชาชนและบ้านเมืองเป็นสำคัญ ซึ่งอาจต่างจาก

ประมุขของประเทศอื่นที่ขึ้นดำรงตำแหน่งโดยการเลือกตั้ง จึงต้องยึดนโยบายของกลุ่มหรือพรรคการเมืองที่ตนสังกัดเป็นหลัก

         5. ทรงแก้ไขวิกฤตการณ์ สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นกลไกสำคัญในการยับยั้งและแก้ไขวิกฤตการณ์ที่ร้ายแรงภายในประเทศได้ ในบางครั้งประเทศไทยเกิดการขัดแย้งกันเองตามระบอบประชาธิปไตย พระมหากษัตริย์ ก็สามารถยุติได้ด้วยพระบารมีของพระองค์ เช่น เหตุการณ์เรียกร้องประชาธิปไตยเมืองเดือนตุลาคม 2516 และเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองเมื่อเดือนพฤษภาคม 2535 เป็นต้น
         6. ทรงส่งเสริมความมั่นคงของประเทศ พระมหากษัตริย์เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย ทั้งประชาชน รัฐบาล หน่วยราชการ กองทัพ นิสิต นักศึกษา ปัญญาชน หรือกลุ่มต่าง ๆ แม้กระทั่งชนกลุ่มน้อยในประเทศ เช่น ชาวไทยภูเขา ชาวไทยมุสลิม เป็นต้น ทำให้ทุกฝ่ายมีความมุ่งมั่นและมีความพรักพร้อมที่จะรักษาความมั่นคงและเอกราชของชาติไว้
         7. ทรงมีส่วนเสริมสร้างสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ พระมหากษัตริย์ไทยในอดีตได้ทรงดำเนินวิเทโศบายได้อย่างดีจนสามารถรักษาเอกราชไว้ได้ โดยเฉพาะสมัยการล่าเมืองขึ้นของชาติตะวันตก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จประพาสยุโรปถึง 2 ครั้ง เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศมหาอำนาจในยุโรป สำหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ก็ทรงดำเนินการให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศต่าง ๆ กับประเทศไทย โดยเสด็จพระราชดำเนินเยี่ยมเยือนประเทศต่าง ๆ ไม่น้อยกว่า 31 ประเทศ ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับต่างประเทศดำเนินไปได้อย่างสะดวกและราบรื่น

8. ทรงเป็นผู้นำในการพัฒนาและปฏิรูปด้านต่าง ๆ การพัฒนาและการปฏิรูปที่สำคัญ ๆ ของชาติส่วนใหญ่ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้นำ ในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 9 พระองค์ทรงว่างพื้นฐานการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยจัดตั้งกระทรวงต่าง ๆ ทรงส่งเสริมการศึกษาและเลิกทาส กระทั่งถึงรัชกาลปัจจุบันได้ทรงเกื้อหนุนวิทยาการสาขาต่าง ๆ ทรงสนับสนุนการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม ทรงริเริ่มกิจการอันเป็นการแก้ปัญหาหลัก ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยเฉพาะแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ผ่านโครงการ พระราชดำริ ซึ่งมุ่งเน้นการแก้ปัญหาให้แก่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ได้แก่ ชาวนา ชาวไร่ และประชาชนผู้ด้อยโอกาส เช่น โครงการพัฒนาที่ดิน โครงการสหกรณ์ โครงการพัฒนาชาวเขา และการเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นต้น

         9. ทรงมีส่วนเกื้อหนุนระบอบประชาธิปไตย สถาบันพระมหากษัตริย์มีส่วนสำคัญในการส่งเสริมระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยให้มีความเข้มแข็งและมั่นคง เพราะการที่ประชาชนเกิดความจงรักภักดีและเชื่อมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์ ทำให้ประชาชน

เกิดความศรัทธาในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขด้วย เนื่องจากเห็นว่าเป็นระบอบการปกครองที่เชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์อันเป็นที่เคารพสักการะของประชนนั่นเอง 10. จึงประกาศมาให้ประชาชนรับทราบโดยทั่วไป คำเตือน ผู้ใดฝ่าฝืนและไม่ทำตามรายละเอียดในประกาศนี้มีความผิดในพระราชบัญญัติกฎหมายอาญาอาจถูกลงโทษจำคุก กรุณาอ่านและปฏิบัติตามคำสั่งอย่างเคร่งครัดโดยไม่ให้ขาดตกบกพร่อง

| ชื่อเต็ม = รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 | ภาพ = General Prayuth received 2014 interim constitution.jpg | ขนาดภาพ = 300px | บรรยายภาพ = พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ เข้าเฝ้าฯ รับพระราชทานรัฐธรรมนูญที่ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ณ วังไกลกังวล | ผู้ตรา = คณะรักษาความสงบแห่งชาติ |ผู้ลงนาม = พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช |ผู้ลงนามรับรอง = ประยุทธ์ จันทร์โอชา
(หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ) | ชื่อร่าง = | ผู้ยกร่าง = วิษณุ เครืองาม และคณะ |วันลงนาม = 22 กรกฎาคม 2557 |วันลงนามรับรอง = 22 กรกฎาคม 2557 |วันประกาศ= 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
(ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 131/ตอนที่ 55 ก/หน้า 1-17) |วันเริ่มใช้ = 22 กรกฎาคม 2557 |ท้องที่ใช้ =  ไทย | การแก้ไขเพิ่มเติม =

| กฎหมายที่เกี่ยวข้อง =

}} รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 จัดร่างโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คณะผู้ยึดอำนาจการปกครองหลังรัฐประหารเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานพระบรมราชานุญาตและลงพระปรมาภิไธยเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 โดยมีพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ในฐานะหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 131 ตอนที่ 55 ก และมีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายทันที แทนที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

รัฐธรรมนูญฉบับนี้เปิดทางให้สถาปนาสภานิติบัญญัติแห่งชาติเพื่อใช้อำนาจนิติบัญญัติ คณะรัฐมนตรีชั่วคราวเพื่อรับผิดชอบการบริหารราชการแผ่นดิน สภาปฏิรูปแห่งชาติ (และต่อมาสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ) เพื่อดำเนินการปฏิรูปประเทศอย่างกว้างขวางและอนุมัติร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และกรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญเพื่อร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ทว่า รัฐธรรมนูญไม่ได้ระบุกรอบเวลาที่แน่นอนสำหรับงานเหล่านี้[1]

ที่มา

วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ก่อรัฐประหารล้มคณะรัฐมนตรีรักษาการ คณะที่มีนายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล เป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี และในวันเดียวกัน คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้ประกาศให้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สิ้นสุดลง เว้นหมวด 2 พระมหากษัตริย์ [2][3]

ทั้งนี้ ในอารมภบทของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ระบุว่า การจัดให้มีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 อยู่ในแนวทางการแก้ปัญหาระยะที่ 2 จากที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้กำหนดไว้ทั้งสิ้น 3 แนวทาง ซึ่งแนวทางการแก้ปัญหาระยะที่ 2 จะจัดให้มีรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว จัดตั้งสภาขึ้นทำหน้าที่ในทางนิติบัญญัติ ให้มีคณะรัฐบาลบริหารราชการแผ่นดินแก้ไขสถานการณ์อันวิกฤติให้กลับคืนสู่สภาวะปกติ จัดตั้งสภาปฏิรูปแห่งชาติและองค์กรต่างๆ เพื่อให้มีการปฏิรูปในด้านการเมืองและด้านอื่นๆ และให้มีการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ก่อนจะส่งมอบภารกิจเหล่านี้แก่ผู้แทนปวงชนชาวไทยและคณะรัฐบาลที่จะเข้ามาบริหารราชการแผ่นดินในระยะต่อไป ซึ่งในการดำเนินการนี้จะให้ความสำคัญแก่หลักการพื้นฐานยิ่งกว่าวิธีการในระบอบประชาธิปไตย จึงจำเป็นต้องใช้เวลาสร้างบรรยากาศแห่งความสงบเรียบร้อยและปรองดอง เพื่อนำความสุขที่สูญหายไปนานกลับคืนสู่ประชาชน และปฏิรูปกฎเกณฑ์บางเรื่องที่เคยเป็นชนวนความขัดแย้ง จึงให้มีรัฐธรรมนูญฉบับนี้ จนกว่าจะได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่จะจัดทำขึ้นตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ต่อไป[2]

วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2557 มีประกาศว่าจะมีการร่างรัฐธรรมนูญชั่วคราวเพื่อให้มีผลใช้บังคับแทนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยศาสตราจารย์ ดร.วิษณุ เครืองาม เป็นหัวหน้าคณะร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ [4]

เนื้อหา

รัฐธรรมนูญนี้มี 48 มาตรา

บทบัญญัติทั่วไป

มาตรา 1 และ 2 บัญญัติไว้ว่า ประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยวและปกครองแบบ "ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข"[5] มาตรา 3 กำหนดว่า "อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย" มาตรา 4 รับรองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของชาวไทย

มาตรา 5 ว่า เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้กระทำการนั้นหรือวินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตราบที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้

มาตรา 44

"ในกรณีที่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเห็นเป็นการจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปในด้านต่าง ๆ การส่งเสริมความสามัคคีและความสมานฉันท์ของประชาชนในชาติ หรือเพื่อป้องกัน ระงับ หรือปราบปรามการกระทำอันเป็นการบ่อนทำลายความสงบเรียบร้อยหรือความมั่นคงของชาติ ราชบัลลังก์ เศรษฐกิจของประเทศ หรือราชการแผ่นดิน ไม่ว่าจะเกิดขึ้นภายในหรือภายนอกราชอาณาจักร ให้หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่งชาติมีอำนาจสั่งการระงับยับยั้ง หรือกระทำการใด ๆ ได้ ไม่ว่าการกระทำนั้นจะมีผลบังคับในทางนิติบัญญัติ ในทางบริหาร หรือในทางตุลาการ และให้ถือว่าคำสั่งหรือการกระทำ รวมทั้งการปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าว เป็นคำสั่งหรือการกระทำ หรือการปฏิบัติที่ชอบด้วยกฎหมายและรัฐธรรมนูญนี้และเป็นที่สุด ทั้งนี้ เมื่อได้ดำเนินการดังกล่าวแล้ว ให้รายงานประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติและนายกรัฐมนตรีทราบโดยเร็ว"

วันที่ 29 พฤษภาคม 2558 ศาลอาญาอ่านคำสั่งในคดีที่กลุ่มพลเมืองโต้กลับ โจทก์ ฟ้องหัวหน้า คสช. กับพวกรวม 5 คน ฐานเป็นกบฏ โดยศาลฯ พิเคราะห์ว่า รัฐธรรมนูญฯ ฉบับชั่วคราวบัญญัติการละเว้นความผิดและความรับผิดในมาตรา 48 ดังนั้น การกระทำของจำเลยจึงพ้นจากความผิด[6]

ข้อวิจารณ์

จดหมายจากกรมทหารรักษาพระองค์ถึงอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สั่งให้มหาวิทยาลัยยกเลิกที่ประชุมสาธารณะเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวซึ่งจะจัดขึ้นในวันที่ 8 สิงหาคม 2557

การปฏิรูปประเทศที่รัฐธรรมนูญบัญญัติสะท้อนข้อเรียกร้องของผู้ประท้วงต่อต้านรัฐบาลซึ่งต้องการสภาปฏิรูปที่มิได้มาจากการเลือกตั้งเพื่อดำเนินการปฏิรูปประเทศโดยมีมุมมองกำจัดอิทธิพลของยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตรในการเมืองไทย[7]

รัฐธรรมนูญฉบับนี้ถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าไม่เป็นประชาธิปไตยและยิ่งเสริมอำนาจของทหาร โดยมาตรา 48 ซึ่งนิรโทษกรรมความผิดของทหารทั้งในอดีตและอนาคต และให้สิทธิคณะรักษาความสงบแห่งชาติในการออกคำสั่งใดๆ เพื่อการปฏิรูปหรือความมั่นคง และคำสั่งเหล่านั้นถือว่าชอบด้วยกฎหมาย[8]

มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ที่ให้อำนาจแก่หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเหนืออำนาจของฝ่ายบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการซึ่งคล้ายคลึงกับธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502 มาตรา 17 ที่จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้ร่าง ทำให้ผู้เผด็จการสั่งการฆ่าคนนอกกระบวนการยุติธรรมได้ โดยจอมพลสฤษดิ์ สั่งประหารชีวิตบุคคลจำนวนมากที่ถูกกล่าวหาความผิดอาญาโดยไม่มีการไต่สวนในศาลอย่างเหมาะสม อาชญากรรมที่ถูกกล่าวหานั้นมีตั้งแต่วางเพลิง เป็นคอมมิวนิสต์ ประกาศตนเป็นนักบุญซึ่งจอมพลสฤษดิ์ เห็นว่าเป็นภัยคุกคามต่อราชบัลลังก์[9] นักการเมืองจากพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์แสดงความกังวลต่อมาตรานี้ และขอให้ คสช. ใช้อำนาจในมาตรานี้ตามความจำเป็น[10][11][12]

ปฏิกิริยา

วันที่ 31 กรกฎาคม เมื่อเวลา 18.20 น. มีผู้ประท้วงสวมหน้ากากกาย ฟอคส์ 7 คน ชุมนุมที่บีทีเอสสกายวอล์คช่องนนทรีเป็นเวลาห้านาที พร้อมถือป้ายแสดงข้อความต่อต้านนิรโทษกรรม ฯลฯ ผู้ประท้วงคนหนึ่งให้สัมภาษณ์ว่า ตนต้องการยืนยันว่า นิรโทษกรรมให้ตัวเองนั้นยอมรับไม่ได้ไม่ว่าใครจะเป็นผู้ทำ และ "ฉันคิดว่าผู้คัดค้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ เมื่อปีที่แล้วควรออกมาคัดค้านกฎหมายนิรโทษกรรมทุกฉบับร่วมกับเรา ไม่ใช่เฉพาะฉบับที่เสนอโดยคนที่ไม่ชอบ"[13]

อ้างอิง

  1. Taweporn (2014-07-24). "2014 Interim Charter to re-engineer Thai political landscape". Prachatai. สืบค้นเมื่อ 2014-07-27.
  2. 2.0 2.1 "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. สืบค้นเมื่อ 27 ตุลาคม 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help), เล่ม ๑๓๑, ตอน ๕๕ ก, ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๗, หน้า ๑-๑๗
  3. "คสช. ประกาศสิ้นสุด รธน. คงอำนาจ สว" (ภาษาThai). Post Today. 2014-05-22. สืบค้นเมื่อ 2014-05-22. {{cite web}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |trans_title= (help)CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ draft
  5. คือ ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตยระบบรัฐสภา
  6. ศาลไม่รับฟ้อง กลุ่มพลเมืองโต้กลับ ฟ้อง หัวหน้า คสช.
  7. Anuchit Nguyen and Suttinee Yuvejwattana (2014-07-23). "Thai junta retains sweeping power under interim constitution". Bloomberg News. สืบค้นเมื่อ 2014-07-27.
  8. Elizabeth Jackson (2014-07-27). "Thai military announces new constitution". ACB News. สืบค้นเมื่อ 2014-07-27.
  9. Noranit Setabutr (2007). รัฐธรรมนูญกับการเมืองไทย (pdf). Bangkok: Thammasat University Press. p. 173–176. ISBN 9789745719996. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |trans_title= (help)
  10. 'นิพิฏฐ์' ห่วง ม.44 รอดู คสช.ใช้อำนาจ, ไทยรัฐ, 24 กรกฎาคม 2557
  11. 'จาตุรนต์'แนะ คสช.ใช้อำนาจ ตามจำเป็น, ไทยรัฐ, 24 กรกฎาคม 2557
  12. 'มาร์ค' ขอคสช. ขยายความอำนาจพิเศษ ม.44 ให้ชัด, ไทยรัฐ, 24 กรกฎาคม 2557
  13. "Guy Fawkes protesters oppose amnesty for coup makers". Prachatai. 2014-07-31. สืบค้นเมื่อ 2014-08-03.

แหล่งข้อมูลอื่น