ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515
หน้าตา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 | |
---|---|
![]() หน้าแรกของธรรมนูญ | |
ภาพรวม | |
ท้องที่ใช้ | ![]() |
สร้างขึ้น | 15 ธันวาคม พ.ศ. 2515[1] |
เสนอ | 15 ธันวาคม พ.ศ. 2515[1] |
วันประกาศ | 15 ธันวาคม พ.ศ. 2515[1] |
มีผลใช้บังคับ | 15 ธันวาคม พ.ศ. 2515[1] |
ระบบ | รัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยพฤตินัย เผด็จการทหาร |
โครงสร้างรัฐบาล | |
ฝ่าย | 3 |
ประมุขแห่งรัฐ | พระมหากษัตริย์ |
ฝ่ายนิติบัญญัติ | สภาเดียว (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) |
ฝ่ายบริหาร | คณะรัฐมนตรี, นำโดย นายกรัฐมนตรี คณะปฏิวัติ, นำโดย หัวหน้าคณะปฏิวัติ |
ฝ่ายตุลาการ | ศาลไทย |
ระบอบ | รัฐเดี่ยว |
คณะผู้เลือกตั้ง | ไม่มี |
นิติบัญญัติชุดแรก | 16 ธันวาคม พ.ศ. 2515 |
บริหารชุดแรก | 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515 |
ตุลาการชุดแรก | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2516 |
ยกเลิก | 7 ตุลาคม พ.ศ. 2517 |
ผู้ยกร่าง | คณะปฏิวัติ |
ผู้ลงนาม | ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. |
ฉบับก่อนหน้า | รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511 |
เอกสารฉบับเต็ม | |
![]() |
ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2515 เป็น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 9 ซึ่งได้ประกาศใช้ใน ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ภายหลังจาก การปฏิวัติยึดอำนาจตัวเองของ จอมพลถนอม กิตติขจร เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 เป็นผลสำเร็จโดยจอมพลถนอมเป็นผู้รับสนอง พระบรมราชโองการ
ซึ่งในธรรมนูญฉบับนี้มีจำนวนทั้งสิ้น 23 มาตราและธรรมนูญฉบับนี้ได้นำมาตรา 17 สมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งให้อำนาจบริหาร,นิติบัญญัติและตุลาการกลับมาใช้
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 ราชกิจจานุเบกษา, ธรรมนูญหารปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช ๒๕๑๕, เล่ม ๘๙ ตอนที่ ๑๙๒ ก ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๑๕ ธันวาคม ๒๕๑๕