รายพระนามฟาโรห์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟาโรห์อียิปต์
Double crown.svg
Pharaoh.svg
การพรรณนาตามแบบฉบับของฟาโรห์
รายละเอียด
พระราชอิสริยยศยศห้าชื่อ
กษัตริย์องค์แรกนาร์เมอร์
กษัตริย์องค์สุดท้าย
[2]
สถาปนาเมื่อประมาณ 3100 ปีก่อนคริสตกาล
การล้มล้าง
  • 343 ปีก่อนคริสตกาล
    (สุดท้ายอย่างเป็นทางการ)[1]
  • 30 ปีก่อนคริสตกาล
    (ฟาโรห์กรีกองค์สุดท้าย)
  • ค.ศ. 313
    (จักรพรรดิโรมันองค์สุดท้ายที่ได้รับฉายาว่าฟาโรห์)[2]
ที่ประทับแตกต่างกันไปตามยุค
ผู้แต่งตั้งราชาศักดิ์สิทธิ์

บทความนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับราชวงศ์และฟาโรห์แห่งอียิปต์โบราณ ตั้งแต่สมัยก่อนราชวงศ์ต้น เมื่อ 3100 ปีก่อนคริสตกาลจนถึงสิ้นสมัยราชวงศ์ทอเลมีเมื่ออียิปต์กลายเป็นมณฑลแห่งโรมัน อยู่ภายใต้อำนาจจักรพรรดิออกุสตุสใน 30 ปีก่อนคริสตกาล

บันทึกพระนามแห่งอียิปต์โบราณ[แก้]

รายพระนามฟาโรห์ในบทความนี้อยู่บนพื้นฐานของบันทึกทางประวัติศาสตร์ บันทึกพระนามแห่งอียิปต์โบราณและนอกจากนั้นเช่น บันทึกเกี่ยวกับอียิปต์โบราณของแมนีโท เช่นเดียวกับหลักฐานทางโบราณคดีและแหล่งโบราณคดี นักไอยคุปต์วิทยาและนักประวัติศาสตร์เรียกร้องให้ระมัดระวังเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือความถูกต้องและความครบถ้วนสมบูรณ์ของแหล่งข้อมูลเหล่านี้หลายแห่งซึ่งเขียนขึ้นเป็นเวลานานหลังจากรัชกาลที่เหล่าฟาโรห์[3] ปัญหาเพิ่มเติมคือบันทึกพระนามของฟาโรห์ มักได้รับความเสียหายโดยการขีดพระนามและผุผังกาลเวลา ทำให้พระนามนั้นสูญหายไปอย่างสิ้นเชิง

บันทึกพระนามแห่งอียิปต์โบราณต่อไปนี้ที่เป็นที่รู้จักกัน (พร้อมด้วยราชวงศ์ที่สร้างขึ้น) :[4]

ยุคก่อนราชวงศ์ (ราว 3100 ปีก่อนคริสตกาล)[แก้]

ดูบทความหลักที่อียิปต์โบราณก่อนยุคราชวงศ์
ในช่วงยุคก่อนราชวงศ์ มีการแยกการปกครองออกเป็น 2 อาณาจักร คือ อียิปต์ตอนบน และอียิปต์ตอนล่าง

อียิปต์ตอนบน[แก้]

ดูบทความหลักที่อียิปต์ตอนบน
อียิปต์ตอนบน หรือเป็นที่รู้จักกันใน "ดินแดนสีแดง" ประกอบด้วยอาณาเขตทางตอนล่างของแม่น้ำไนล์ รวมไปถึงทะเลทรายรอบข้าง โดยมีผู้ปกครองดังนี้

พระนาม พระบรมรูป รัชกาล หมายเหตุ
A (?) สมัยนาคาดา 3 รู้จักจากลอยขูดที่ค้นพบในทะเลทรายตะวันตกในปี ค.ศ. 2004 และยังไม่ได้ถูกวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับฟาโรห์พระองค์นี้
ฟิงเกอร์ สเนล สมัยนาคาดา 3
ฟิช[5] สมัยนาคาดา 3
เอลเลเฟนต์[6] Pen-abu.png สมัยนาคาดา 3 ประมาณ 3240 – 3220 ปีก่อนคริสตกาล

อาจจะไม่มีตัวตนอยู่จริง

สตอร์ก[7][8] สมัยนาคาดา 3 อาจจะไม่มีตัวตนอยู่จริง[9]
บูล สมัยนาคาดา 3 อาจจะไม่มีตัวตนอยู่จริง[9]
สกอร์เปียนที่ 1 สมัยนาคาดา 3 ผู้ปกครองคนแรกของอียิปต์ตอนบน ประมาณ 3250 – 3200 ปีก่อนคริสตกาล
ดับเบิลฟอลคอน Serech Double-Falcon.png สมัยนาปาดา 3 อาจเป็นฟาโรห์แห่งอียิปต์ตอนล่าง

อียิปต์ตอนล่าง[แก้]

ดูบทความหลักที่อียิปต์ตอนล่าง
อียิปต์ตอนล่าง หรือเป็นที่รู้จักกันในนาม "ดินแดนสีดำ" ประกอบด้วยอาณาเขตทางตอนเหนือของแม่น้ำไนล์ รวมไปถึงพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ มีผู้ปกครองดังนี้

พระนาม พระบรมรูป รัชกาล หมายเหตุ
ฮเซคิอู (เซคา) Palermo stone predynastic series.jpg
(หมายเลข 2)
? หลักฐานปรากฏเฉพาะหินปาแลร์โม
คายู Palermo stone predynastic series.jpg
(หมายเลข 3)
? หลักฐานปรากฏเฉพาะหินปาแลร์โม
ตีอู (ตียิว) Palermo stone predynastic series.jpg
(หมายเลข 4)
? หลักฐานปรากฏเฉพาะหินปาแลร์โม
เธช (ทเจช) Palermo stone predynastic series.jpg
(หมายเลข 5)
? หลักฐานปรากฏเฉพาะหินปาแลร์โม
เนเฮบ Palermo stone predynastic series.jpg
(หมายเลข 6)
? หลักฐานปรากฏเฉพาะหินปาแลร์โม
วาสเนอร์ Palermo stone predynastic series.jpg
(หมายเลข 7)
ประมาณ 3100 ปีก่อนคริสต์ศักราช หลักฐานปรากฏเฉพาะหินปาแลร์โม
เมค Palermo stone predynastic series.jpg
(หมายเลข 8)
? หลักฐานปรากฏเฉพาะหินปาแลร์โม
ไม่ปรากฏ (พระนามถูกทำลาย) Palermo stone predynastic series.jpg
(หมายเลข 9)
? หลักฐานปรากฏเฉพาะหินปาแลร์โม

ราชวงศ์ที่ศูนย์[แก้]

รายพระนามต่อไปนี้ของผู้ปกครองในยุคก่อนราชวงศ์ ซึ่งอาจจะไม่สมบูรณ์ เนื่องจากผู้ปกครองเหล่านี้มีก่อนสมัยราชวงศ์ที่หนึ่งได้รับการจัดกลุ่มอย่างไม่เป็นทางการเป็น "ราชวงศ์ที่ศูนย์"

พระนาม พระบรมรูป รัชกาล หมายเหตุ
ไอรี-ฮอร์ Iry Hor name.jpg 3150 ก่อนคริสต์ศักราช ลำดับฟาโรห์ไม่แน่นอน
ค็อกโคได Tarkhan crocodile.gif 3150 ก่อนคริสต์ศักราช สถานะและการมีอยู่ถูกโต้แย้ง
คา Ka vessel.JPG 3150 ก่อนคริสต์ศักราช พระนามอาจจะอ่านเซเคนมากกว่าคา ลำดับฟาโรห์ไม่แน่นอน
สกอร์เปียนที่ 2 Kingscorpion.jpg 3150 ก่อนคริสต์ศักราช พระนามอาจจะอ่านเซอร์เคต อาจเป็นพระองค์เดียวกับ นาเมอร์

ช่วงราชวงศ์เริ่มแรก (ราว 3100-2686 ปีก่อนคริสตกาล)[แก้]

ดูบทความหลักที่ ยุคราชวงศ์เริ่มแรกแห่งอียิปต์ ราว 3150 - 2686 ก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์ที่หนึ่ง[แก้]

ดูบทความหลักที่ :ราชวงศ์ที่หนึ่งแห่งอียิปต์

ราชวงศ์ที่หนึ่งเป็นราชวงศ์ที่ปกครองอียิปต์ระหว่าง 3150-2890 ปีก่อนคริสต์ศักราช

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
NarmerPalette-CloseUpOfNarmer-ROM.png นาร์เมอร์
(เมเนส) ?
ราว 3100 ก่อนคริสต์ศักราช เชื่อกันว่าพระองค์ทรงอาจจะเป็นพระองค์เดียวกันกับฟาโรห์เมเนส และเป็นฟาโรห์ที่รวบรวมอียิปต์อียิปต์ตอนบน และอียิปต์ตอนล่าง
GlazedFiaenceVesselFragmentNameOfAha-BritishMuseum-August21-08.jpg อฮา
(เตติ)
ราว 3050 ก่อนคริสต์ศักราช พระนามกรีก:อโทติส
Djer stela retouched.jpg ดเจอร์
(อิเตตี)
54 ปี พระนามกรีก:อูเอเนเพส ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่าสุสานของพระองค์คือสุสานของโอซิริส
Egypte louvre 290.jpg ดเจต
(อิตา)
10 ปี ชื่อกรีก:ยูซาปาอิส
Merneith stele.jpg เมอร์นีท 2970 ก่อนคริสต์ศักราช ฟาโรห์หญิงพระองค์แรกของอียิปต์
IvoryLabelOfDen-BritishMuseum-August19-08.jpg คาสติ
เดน
42 ปี ฟาโรห์องค์แรกที่สวมมงกุฎคู่
Anedjib Closeup.jpg เมอร์เบียบ
อัดจิบ
(อเนดจิบ)
10 ปี ชื่อกรีก:มายดิออส
PotterySherdWithNameOfSemerkhet-PetrieMuseum-August21-08.jpg อิรี
เซเมอร์เคต
8 ปีครึ่ง ฟาโรห์องค์แรกที่มีพระนามสองสตรี
CroppedStelaOfQaa.JPG เซน
คาอา
34 ปี พระองค์ครองราชได้ยาวนาน
Sneferka.png สเนเฟอร์คา 2900 ก่อนคริสต์ศักราช รัชการของพระองค์สั้นมาก ลำดับนามไม่แน่นอน
BirdFraegment.png บา
(ฮอรัส เบิร์ด)
2900 ก่อนคริสต์ศักราช รัชการของพระองค์สั้นมาก ลำดับนามไม่แน่นอน

ราชวงศ์ที่สอง[แก้]

เมืองหลวงอยู่ที่ เมมฟิส ดูบทความหลักที่ ราชวงศ์ที่สองแห่งอียิปต์

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
Hotepsekhemwy.jpg โฮเทปเซเคมวี
(เนบตีโฮเทป)
15 ปี มาเนโธอ้างว่าพระองค์อยู่ในสมัยที่เกิดแผ่นดินไหวทำให้ผู้คนล้มตายกันเป็นจำนวนมาก
Nebra Hotepsekhemwy vase.png เนบรา 14 ปี ชื่อกรีก:บินอทริส
Statue nynetjer RMO.jpg นิเนทเจอร์
(บาเนทเจอร์)
43–45 ปี อาจมีการแบ่งแยกอียิปต์ระหว่างที่พระองค์ขึ้นครองราช
Weneg.png เวเนก-เนบตี้ ประมาณ 2740 ปีก่อนคริสตกาล ชื่อกรีก:อูกอสลาส/ทลาส
Abydos KL 02-05 n13.jpg เซเนดจ์ 47 ปี (สันนิษฐาน) อาจเป็นพระองค์เดียวกับฟาโรห์เพริบเซน
Peribsen.jpg เพอร์อิบเซน 2890-2686 ปีก่อนคริสตกาล นักวิชาการเชื่อพระองค์ครองราชช่วงแบ่งแยกอียิปต์
CalciteVesselFragmentNameOfSekhemibPerenmmat-BritishMuseum-August21-08 retouched.jpg เซเคมอิบ
เซเคมอิบ-เพอร์เอนมาอัต
2720 ก่อนคริสต์ศักราช อาจเป็นบุคคลเดียวกับฟาโรห์เพริบเซน
Abydos KL 03-05 n19.jpg เนเฟอร์คาเรที่ 1 มีนามจารึกเฉพาะที่ รามมีเซียมคิงลิช เท่านั้น
Neferkasokar-inscription.png เนเฟอร์คาเซเคอร์ 8 ปี มีนามจารึกเฉพาะที่ รามมีเซียมคิงลิช เท่านั้น และในตำนานกล่าวว่าได้ช่วยอียิปต์ให้พ้นภัยแล้งอันยาวนาน
Hudjefasaqqara.png (ไม่ทราบพระนาม)
("ฮู'ดเจฟา")
2 ปี มีนามจารึกเฉพาะที่ รามมีเซียมคิงลิช เท่านั้น
Khasekhem oxford2.jpg คาเซเคม (-วี)
(เบเบตี)
18 ปี ชื่อกรีก:เชเนเรส

ช่วงราชอาณาจักรเก่า (ราว 2686–2181 ปีก่อนคริสตกาล)[แก้]

ช่วงราชอาณาจักรเก่าแห่งอียิปต์อยู่ระหว่างช่วงราชวงศ์เริ่มแรกแห่งอียิปต์และช่วงระหว่างกลางครั้งที่ 1 ช่วงราชอาณาจักรเก่าปกครองอยู๋ระหว่าง 2686 ถึง 2181 ปีก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์ที่สาม[แก้]

เมืองหลวงอยู่ที่ เมมฟิส ดูบทความหลักที่ ราชวงศ์ที่สามแห่งอียิปต์ ระหว่าง 2686 ถึง 2613 ปีก่อนคริสตกาล

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
Djoser statue.jpg เนตเจริเคตเนบู
เนบูฮอร์
(ดโจเซอร์)
19 หรือ 28 ปี 2670 ก่อนคริสต์ศักราช ฟาโรห์องค์แรกที่สร้างพีระมิด พีระมิดออกแบบโดยฮิมโฮเทป
Sekhemkhet.png เซเคมเคต
(ดโจเซอร์-) เตติ
2649–2643 ปีก่อนคริสตกาล พบโครงกระดูกของพระองค์ในสเตบพีระมิดที่ยังสร้างไม่เสร็จและพบมัมมี่เด็กอายุ 2 ขวบ
ReliefFragmentOfPharaohSanakht-BritishMuseum-August21-08.jpg ซานัคท์ 2650 ปีก่อนคริสตกาล ชื่อกรีก:เนเชรอบเฮส
KhabaCloseUp.jpg คาบา 2643–2637 ปีก่อนคริสตกาล อาจจะสร้างสเตบพีระมิดที่ยังไม่เสร็จ
Head of a King, ca. 2650-2600 B.C.E..jpg ฮูนิ 2637–2613 ปีก่อนคริสตกาล อาจเป็นบุคคลเดียวกับฟาโรห์กาเฮดเจตหรือฟาโรห์คาบา

ราชวงศ์ที่สี่[แก้]

เมืองหลวงอยู่ที่ เมมฟิส ดูบทความหลักที่ ราชวงศ์ที่สี่แห่งอียิปต์ ระหว่าง 2613 ถึง 2498 ปีก่อนคริสตกาล

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
Snofru Eg Mus Kairo 2002.png เนบมาอัต
สเนเฟอร์อู
2613–2589 ก่อนคริสต์ศักราช พระองค์ทรงครองราชได้ 48 ปีทำให้พระองค์มีเวลาที่จะสร้างพีระมิดไมดุม พีระมิดโค้งและพีระมิดแดง นักวิชาการบางคนเชื่อว่าพระองค์ถูกฝังที่ พีระมิดแดง บ้างก็คิดว่า พีระมิดไมดุม
Kairo Museum Statuette Cheops 03 (cropped).jpg เมด'ดเจดอู
(คนุม-) คูฟู
2589–2566 ก่อนคริสต์ศักราช พระองค์สร้างมหาพีระมิด ที่ กิซา ฟาโรห์คูฟู ถูกมองว่าเป็นเผด็จการที่โหดร้ายโดยนักเขียนชาวกรีกโบราณ แต่หลักฐานบ่งบอกว่าพระองค์ไม่ได้เป็นเผด็จการที่โหดร้าย
Djedefre-head.jpg เคเปอร์
ดเจดเอฟเร
2566–2558 ก่อนคริสต์ศักราช นักวิชาการบางคนเชื่อว่าเขาสร้างมหาสฟิงซ์ของกิซ่าเป็นอนุสาวรีย์สำหรับฟาโรห์คูฟู พระราชบิดา ที่สิ้นพระชนม์ไป นอกจากนี้เขายังสร้างปิรามิดที่ อาบู ราวอส อย่างไรก็ตามปิรามิดแห่งนี้ไม่หลงเหลือตัวพีระมิดเนื่องจากเชื่อว่าชาวโรมันขโมยวัสดุไป
Khafre statue.jpg ยูเซอร์อิบ
คาฟเร
(คาเฟร)
2558–2532 ก่อนคริสต์ศักราช พีระมิดของพระองค์ใหญ่เป็นอันดับสองของกีซ่านักวิชาการบางคนเชื่อว่าพระองค์สร้างมหาสฟิงซ์ นักเขียนชาวกรีกบางคนเชื่อว่าพระองค์เป็นเผด็จการที่โหดร้าย
Baka3.png บาคา ca. 2570 ก่อนคริสต์ศักราช พีระมิดซาวเยทที่ยังไม่เสร็จอาจจะเป็นของพระองค์
MenkauraAndQueen-CloseUpOfKingsFace MuseumOfFineArtsBoston.png คาเคต
เมนคาอูเร
2532–2503 ก่อนคริสต์ศักราช พีระมิดเมนเคอเรเป็นพีระมิดที่เล็กที่สุดในมหาพีระมิดแห่งกีซ่า ตำนานกล่าวว่าเมื่อพระองค์สวรรคต พระบรมศพได้ถูกบรรจุไว้ในพระหีบศพทองคำ
Abydos KL 04-06 n25.jpg เชปเซเคต
เชปเซซคาอาฟ
2503–2498 ก่อนคริสต์ศักราช มาสตาบาสที่ เอล-ฟาลา'อัน เป็นของพระองค์
(ทัมฟิส)
(ดเจดเอฟพทาห์) ?
ราว 2500 ก่อนค.ศ. มาเนดโธกล่าวว่าพระองค์เป็นฟาโรห์องค์สุดท้ายในราชวงศ์ที่ 4 |

ราชวงศ์ที่ห้า[แก้]

เมืองหลวงอยู่ที่ เมมฟิส ดูบทความหลักที่ ราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์ ระหว่าง 2498 ถึง 2345 ปีก่อนคริสตกาล

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
By ovedc - Egyptian Museum (Cairo) - 046 (cropped).jpg ยูเซอร์คาฟ 2498–2491 ก่อนคริสต์ศักราช สุสานของพระองค์อยู่ที่พีระมิดยูเซอร์คาฟ ที่เมืองซัคคารา และสร้างวิหารดวงอาทิตย์แห่งแรกที่ อบูซิร์
SahureAndNomeGod-CloseUpOfSahure MetropolitanMuseum.png ซาฮ์อูเร 2490–2477 ก่อนคริสต์ศักราช
Neferirkare Kakai 2.png เนเฟอร์อิร์คาเร
คาคาอิ
2477–2467 ก่อนคริสต์ศักราช พระราชโอรสในฟาโรห์ซาอูเร พระนามตอนประสูติ คือ ราเนเฟอร์
Raneferef.jpg เนเฟอร์เอฟรา
อิซิ
2460–2458 ก่อนคริสต์ศักราช พระราชโอรสของฟาโรห์เนเฟออิร์คาเร
Shepseskare Cylinder Seal.png เชปเซสคาเร
เนดเจอร์อูเซอร์
ไม่กี่เดือน อาจจะขึ้นครองราชหลังจากฟาโรห์เนเฟเรเฟร พระราชโอรถของฟาโรห์ซาฮูเร
Niuserre BrooklynMuseum.png นิอูเซอร์เร
อินนิ
2445–2422 ก่อนคริสต์ศักราช
Menkauhor CG 40.jpg เมนเคาฮอร์
อิเคาฮอร์
(คาอิว)
2422–2414 ก่อนคริสต์ศักราช ฟาโรห์องค์สุดท้ายที่สร้างวิหารดวงอาทิตย์
DjedkareIsesi-GoldCylanderSeal MuseumOfFineArtsBoston.png ดเจดคาเร
อิเซซิ
2414–2375 ก่อนคริสต์ศักราช มีโอกาสที่จะครองบัลลังก์ยาวนานมากกว่า 35 ปี
Unas Elephantine.png อูนัส 2375–2345 ก่อนคริสต์ศักราช

ราชวงศ์ที่หก[แก้]

เมืองหลวงอยู่ที่ เมมฟิส ดูบทความหลักที่ ราชวงศ์ที่หกแห่งอียิปต์ ระหว่าง 2345 ถึง 2181 ปีก่อนคริสตกาล

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
Statue of Teti Quibell Saqqara 1.jpg เตติ 2345–2333 ปีก่อนคริสตกาล ตามที่มาเนโธกล่าวว่า พระองค์ถูกปลงพระชนม์
Abydos KL 06-02 n35.jpg ยูเซอร์คาเร 2333–2332 ปีก่อนคริสตกาล ขึ้นครองราชย์ตั้งแต่ 1 ถึง 5 ปี พระองค์อาจจะแย่งชิงราชบัลลังก์จากฟาโรห์เตติ
Kneeling statue of Pepy I.jpg เนเฟอร์ซาฮอร์ / เมรีเร
เปปิที่ 1
2332–2283 ปีก่อนคริสตกาล
Hidden treasures 09.jpg เมอร์เอนเร
เนมตีเอมซาฟที่ 1
2283–2278 ปีก่อนคริสตกาล
AnkhnesmeryreII-and-Son-PepiII-SideView BrooklynMuseum.png เนเฟอร์คาเร
เปปิที่ 2
2278–2184 ปีก่อนคริสตกาล อาจจะเป็นฟาโรห์ที่ครองราชย์ยาวที่สุดในประวัติศาสตร์ของมนุษย์โดยเป็นเวลา 94 ปีบนราชบัลลังก์ อีกทางเลือกหนึ่งอาจจะเป็น "เพียง" 64 ปีเท่านั้น
เนเฟอร์คา 2200–2199 ปีก่อนคริสตกาล อาจจะเป็นพระโอรสหรือผู้ปกครองร่วมของฟาโรห์เปปิที่ 2 เนเฟอร์กาเร
Abydos KL 06-06 n39.jpg เมอร์เอนเร
เนมตีเอมซาฟที่ 2[10]
1 ปี กับ 1 เดือน ประมาณ 2184 ปีก่แนคริสตกาล พระองค์ปกครองในเวลาอันสั้น อาจจะเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์เปปิที่สอง
Abydos KL 07-01 n40.jpg เนทเจอร์คาเร / นีทอิเคอร์ตี
ซิ'พทาห์ที่ 1
(นิโตคริส)
ระยะเวลาสั้น ๆ ประมาณ 2184–2181 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์เดียวกันกับพระนามเนทเจอร์คาเร พระองค์ทำให้เกิดตำนานฟาโรห์หญิงนิโตคริส ของเฮอรอโดทัส และ มาเนทโธ บางครั้งพระองค์ถูกจัดเป็นปฐมกษัตริย์ของราชวงศ์ที่ 7/8

ช่วงรอยต่อครั้งที่ 1 (ราว 2181-2060 ปีก่อนคริสตกาล)[แก้]

ช่วงระหว่างกลางครั้งที่ 1 (ตั้งแต่ 2181-2060 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นช่วงเวลาของความระส่ำระสายและความสับสนวุ่นวายระหว่างจุดจบของช่วงอาณาจักรเก่ากับการมาถึงของช่วงราชอาณาจักรกลาง

ช่วงราชอาณาจักรเก่าเสื่อมอำนาจลงอย่างรวดเร็วหลังจากการสิ้นพระชนม์ของฟาโรห์เปปิที่ 2 หลังจากพระองค์ทรงครอบครองมานานกว่า 64 ปี และอาจจะเป็นไปได้มากถึงถึง 94 ปี ทำให้เป็นกษัตริย์ที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ ในช่วงปลายรัชสมัยของพระองค์เสื่อมอำนาจลงเสียมาก เนื่องจากพระองค์มีพระชนม์ที่มากขึ้น ทำให้เกิดการแตกสลายของอาณาจักรและผู้นำระดับภูมิภาคต้องรับมือกับความอดอยากที่เกิดขึ้น

ฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่เจ็ดและแปด ซึ่งเป็นตัวแทนของผู้สืบทอดราชวงศ์ที่หก พยายามยึดอำนาจบางส่วนไว้ในเมมฟิส แต่ได้รับความไว้วางใจจากผู้มีอำนาจหลายคน หลังจาก 20 ถึง 45 ปีพวกเขาถูกล้มล้างโดยกลุ่มฟาโรห์แห่งใหม่ในเฮราคลีโอโพลิส บางช่วงเวลาหลังจากเหตุการณ์เหล่านี้สายคู่แข่งที่ยึดครองเมืองธีบส์ ได้ก่อการจลาจลต่อต้านฟาโรห์ของอียิปต์บน และประมาณ 2055 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์เมนทูโฮเทปที่ 2 ซึ่งเป็นพระราชโอรสและเป็นผู้สืบทอดอำนาจของฟาโรห์อินโยเทฟที่ 3 ทรงเอาชนะฟาโรห์ของอียิปต์ล่างที่ครองเมืองเฮราคลีโอโพลิส และได้รวมอียิปต์บนและล่างเข้าด้วยกัน ซึ่งต่อมาก็เกิดเป็นยุคราชอาณาจักรกลาง

ราชวงศ์ที่เจ็ดและแปดปกครองโดยรอบประมาณ 20-45 ปี พวกเขาประกอบด้วยพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์ชั่วคราวจำนวนมากที่เมมฟิสในอียิปต์บน อาจแบ่งแยกออกจากกันและในกรณีใด ๆ ถือเฉพาะอำนาจ เนื่องจากระบบศักดินาอย่างมีประสิทธิภาพในการบริหารงานซึ่งได้พัฒนา

เมืองหลวงอยู่ที่ เมมฟิส ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่เจ็ดและแปดแห่งอียิปต์ ประมาณระหว่าง 2181 ถึง 2160 ปีก่อนคริสตกาล

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เมนคาเร Abydos KL 07-02 n41.jpg อาจจะมีความสัมพันธ์กับพระราชินีนีท[11][12][13]
เนเฟอร์คาเรที่ 2 Abydos KL 07-03 n42.jpg
เนเฟอร์คาเรที่ 3 เนบี้ Abydos KL 07-04 n43.jpg ได้รับการรับรองโดยจารึกในหลุมฝังศพของพระมารดาของพระองค์ อังค์เซนเปปิ เริ่มก่อสร้างปิรามิดในเมืองซัคคารา
ดเจตคาเร เซมาไอ Abydos KL 07-05 n44.jpg
เนเฟอร์คาเรที่ 4 เคนดู Abydos KL 07-06 n45.jpg
เมอร์เอนฮอร์ Abydos KL 07-07 n46.jpg
เนเฟอร์คามิน Abydos KL 07-08 n47.jpg
ไนคาเร Abydos KL 07-09 n48.jpg
เนเฟอร์คาเรที่ 5 เทเรอู Abydos KL 07-10 n49.jpg
เนเฟอร์คาฮอร์ Abydos KL 07-11 n50.jpg
เนเฟอร์เคเรที่ 6 เปปิเซนเนบ Abydos KL 07-12 n51.jpg
เนเฟอร์คามิน อนู Abydos KL 07-13 n52.jpg
กาคาเร ไอบิ Abydos KL 07-14 n53.jpg สร้างพิรามิดคากาเรที่ซัคคาราที่จารึกไว้ในบทสรรเสริญฟาโรห์ 2169–2167 ปีก่อนคริสตกาล
เนเฟอร์คาอูเร Abydos KL 07-15 n54.jpg ทรงสร้างวิหารเทพมินที่เมืองคอปตอส 2167–2163 ปีก่อนคริสตกาล
เนเฟอร์คาอูเร คูวิฮาไป Abydos KL 07-16 n55.jpg ทรงสร้างวิหารเทพมินและคำจารึกในหลุมฝังศพของฟาโรห์เซไม 2163–2161 ปีก่อนคริสตกาล
เนเฟอร์อิร์คาเร Abydos KL 07-17 n56.jpg ทรงสร้างวิหารเทพมิน 2161–2160 ปีก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์ที่เก้า[แก้]

ราชวงศ์ที่เก้าแห่งอียิปต์[14] ปกครองระหว่าง 2160 ถึง 2130 ปีก่อนคริสต์ศักราช บันทึกพระนามแห่งตูริน มีฟาโรห์รวมทั้งราชวงศ์ที่เก้าและสิบปกครองอยู่ 18 พระองค์ พระนามสูญหาย 12 พระนาม และพระนามเหลือเพียงบางส่วนอีก 4 พระองค์[15]

เมืองหลวงอยู่ที่ เฮราคลีโอโพลิส ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่เก้าแห่งอียิปต์

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เมรี้อิบเร เคตี้ที่ 1

(อัคโตเอสที่ 1)

Egypte louvre 246 panier.jpg เป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์ที่เก้า 2160-?
- ?
เนเฟอร์คาเรที่ 7 - ?
เนบคาอูเร เคตี้ที่ 2

(อัคโตเอสที่ 2)

Nebkaure Khety Petrie.png - ?
เซเนนห์— หรือ เซทุต - ?
- ?
เมรี่-— - ?
เชด-— - ?
ฮ-— - ?

ราชวงศ์ที่สิบ[แก้]

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบแห่งอียิปต์

ราชวงศ์ที่สิบแห่งอียิปต์ เป็นราชวงศ์ที่ปกครองท้องถิ่นในอียิปต์ตอนล่าง ปกครองตั้งแต่ 2130 ถึง 2040 ปีก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งราชวงศ์ที่ 11 สืบเชื้อสายมาจากราชวงศ์ของเจ้าผู้ปกครองนครธีบส์ ที่เคยรับราชการให้กับราชวงศ์ที่ 8, 9 และ 10

พระรูป พระนาม ความคิดเห็น รัชกาล
Graffito Meryhathor Djehutynakht Hatnub.jpg เมรี่ฮาเธอร์ 2130-?
เนเฟอร์คาเรที่ 8 ?
Coffin Nefri Wahkare Lacau.jpg วาฮ์คาเร เคตี้ที่ 3

(อัคโตเอสที่ 3)

?
Stele Anpuemhat Quibell.png เมรี่คาเร ?-2040

ราชวงศ์ที่สิบเอ็ด[แก้]

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบเอ็ดแห่งอียิปต์

ราชวงศ์ที่สิบเอ็ด เป็นผู้ปกครองท้องถิ่นที่มีรากฐานมาจากอียิปต์ตอนบน ซึ่งราชวงศ์นี้ปกครองตั้งแต่ 2134 ถึง 1991 ปีก่อนคริสตกาล ศูนย์กลางอำนาจของราชวงศ์ที่สิบเอ็ดอยู่ในเมืองธีบส์ ซึ่งปกครองช่วงเวลาเดียวกันกับราชวงศ์ที่แปด เก้า สิบ ซึ่งปกครองอียิปต์ตอนล่าง

พระรูป พระนาม ความคิดเห็น รัชกาล
Prince Intef Petrie.png อินโยเทฟ ผู้อาวุโส ไอรี-พัท ผู้ยิ่งใหญ่ เป็นเจ้าเมืองที่ไม่มีตำแหน่งเป็นฟาโรห์ อาจจะเป็นผู้ก่อตั้งของราชวงศ์ที่สิบเอ็ด

ตำแหน่งผู้สืบทอดจากอินโยเทฟ ผู้อาวุโส เริ่มต้นด้วยฟาโรห์เมนทูโฮเทปที่ 1 และในที่สุดก็สามารถเอาชนะอียิปต์ล่างในรัชสมัยของฟาโรห์เมนทูโฮเทปที่ 2

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เมนทูโฮเตปที่หนึ่ง Statue Mentuhotep-aa by Khruner.jpg เป็นฟาโรห์พระองค์แรกของราชวงศ์ที่สิบเอ็ด ?-2134 ปีก่อนคริสตกาล
อินโยเตฟที่หนึ่ง Intef I.jpg ฟาโรห์พระองค์แรกของราชวงศ์ที่ใช้พระนามฮอรัส 2134-2117 ปีก่อนคริสตกาล
อินโยเตฟที่สอง Funerary stele of Intef II.jpg 2117-2069 ปีก่อนคริสตกาล
อินโยเตฟที่สาม Silsileh close up.jpg 2069-2060 ปีก่อนคริสตกาล

ช่วงราชอาณาจักรกลาง (ราว 2060-1802 ปีก่อนคริสตกาล)[แก้]

ราชอาณาจักรกลาง (ตั้งแต่ 2060-1802 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นระยะเวลานับตั้งแต่สิ้นสุดช่วงระหว่างกลางครั้งที่หนึ่งจนถึงช่วงระหว่างกลางครั้งที่สอง นอกจากราชวงศ์ที่สิบสองแล้วนักวิชาการบางคนยังรวมถึงราชวงศ์ที่สิบเอ็ดและสิบสี่รวมอยู่ในช่วงราชอาณาจักรกลาง ยุคของราชอาณาจักรกลางสามารถสังเกตเห็นการขยายการค้าภายนอกราชอาณาจักรที่เกิดขึ้นในช่วงเวลานี้ การเปิดการค้านี้นำไปสู่การล่มสลายของราชอาณาจักรโดยสิ้นเชิง อันเนื่องมาจากการรุกรานจากชาวฮิกซอส

ราชวงศ์ที่สิบเอ็ด (ต่อจากช่วงต่อที่หนึ่ง)[แก้]

ส่วนที่สองของราชวงศ์ที่สิบเอ็ดถือเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรกลางของอียิปต์ เมืองหลวงอยู่ที่ เมมฟิส

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เมนทูโฮเตปที่สอง (เนปเฮเพตเร)[16] Mentuhotep Closeup.jpg มีการรวมอียิปต์บนและล่าง ใน 2015 ปีก่อนคริสตกาล ทำให้เกิดยุคราชอาณาจักรกลาง 2060-2010 ปีก่อนคริสตกาล
ซังค์คาเร เมนทูโฮเตปที่สาม[17] Mentuhotep-OsirideStatue-CloseUp MuseumOfFineArtsBoston.png การเดินทางครั้งแรกสู่อาณาจักรปุนซ์ในสมัยราชอาณาจักรกลาง 2010-1998 ปีก่อนคริสตกาล
เนบทาวีเร เมนทูโฮเตปที่สี่[18] Relief Mentuhotep IV Lepsius.jpg 1997-1991 ปีก่อนคริสตกาล

รายนามกษัตริย์ที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ และปกครองที่นิวเบียล่าง[แก้]

พระนาม รูปภาพ ข้อคิดเห็น รัชกาล
เซเกอเซนิ[19] Inscription Segerseni Gauthier.png เป็นฟาโรห์ที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ ไม่ทราบที่อยู่ของหลุมฝังพระศพ ปกครองเพียงแค่ดินแดนนิวเบียล่างเท่านั้น ซึ่งอาจจะปกครองเพียงแค่ปลายราชวงศ์ที่สิบเอ็ดหรือต้นราชวงศ์ที่สิบสอง
กาคาเร ไอนิ[19] Inscription Qakare Ini.png เป็นฟาโรห์ที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ ไม่ทราบที่อยู่ของหลุมฝังพระศพ ปกครองเพียงแค่ดินแดนนิวเบียล่างเท่านั้น ซึ่งอาจจะปกครองเพียงแค่ปลายราชวงศ์ที่สิบเอ็ดหรือต้นราชวงศ์ที่สิบสอง
ไอย์อิบเคนเร[19] Inscription Iyibkhentre Gauthier 02.jpg เป็นฟาโรห์ที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ ไม่ทราบที่อยู่ของหลุมฝังพระศพ ปกครองเพียงแค่ดินแดนนิวเบียล่างเท่านั้น ซึ่งอาจจะปกครองเพียงแค่ปลายราชวงศ์ที่สิบเอ็ดหรือต้นราชวงศ์ที่สิบสอง

ราชวงศ์ที่สิบสอง[แก้]

ราชวงศ์ที่สิบสองปกครองตั้งแต่ปี 1991 ถึง 1802 ปีก่อนคริสตกาล

เมืองหลวงอยู่ที่ อิทจ์-ทาวี ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบสองแห่งอียิปต์

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เซเฮเทปิบเร อเมเนมเฮตที่หนึ่ง[20][21] Amenhet.jpg พระองค์ทำการยึดอำนาจและปลงพระชนม์เมนทูโฮเตปที่สี่ 1991-1962 ปีก่อนคริสตกาล
เคปเปอร์คาเร เซนุสเรตที่หนึ่ง[22] (Sesostris I) SesostrisI-AltesMuseum-Berlin.png สร้างวิหารสีขาว 1971-1926 ปีก่อนคริสตกาล
นูบคาอูเร อเมเนมเฮตที่สอง[23] Amenemhat II.jpg 1929-1895 ปีก่อนคริสตกาล
คาเคปเปอร์เร เซนุสเรตที่สอง[24] (Sesostris II) El Lahun Pyramid 01.JPG 1897-1878 ปีก่อนคริสตกาล
คาคาอูเร เซนุสเรตที่สาม[25] (Sesostris III) ThreeStatuesOfSesotrisIII-RightProfiles-BritishMuseum-August19-08.jpg มีอำนาจมากที่สุดของฟาโรห์ในราชอาณาจักรกลาง 1878-1860 ปีก่อนคริสตกาล
นิมาอัตเร อเมเนมเฮตที่สาม[26] Egypte louvre 231 visage.jpg 1860-1815 ปีก่อนคริสตกาล
มาอาเครูเร อเมเนมเฮตที่สี่[27] ไฟล์:AmmenemesIV (Front) -BritishMuseum-August19-08.jpg 1815-1807 ปีก่อนคริสตกาล
โซเบคคาเร (ราชินี) โซเบคเนฟรู[28] Statue, E 27135 (0320O7 01).jpg ฟาโรห์ผู้เป็นสตรี 1807-1802 ปีก่อนคริสตกาล
เซอังค์คิบรา Seankhibra Amenemhat VI Cartouche.jpg กษัตริย์ลึกลับแห่งราชวงศ์ที่สิบสอง เขาเป็นคนทรราชหรือเหมือนกันกับหนึ่งในสามคนแรกของราชวงศ์

ช่วงระหว่างครั้งที่สอง (ราว 1802–1550 ปีก่อนคริสตกาล)[แก้]

ช่วงระหว่างกลางครั้งที่สอง (ตั้งแต่ 1802–1550 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นช่วงเวลาที่เกิดความระส่ำระส่ายขึ้นระหว่างการสิ้นสุดของช่วงราชอาณาจักรกลางและจุดเริ่มต้นของช่วงราชอาณาจักรใหม่ เป็นผลกระทบเนื่องจากการบุกรุกเข้ามาของชาวฮิกซอส ซึ่งชาวฮิกซอสได้เข้ามายึดอำนาจของฟาโรห์แล้วขึ้นครองราชย์แทน และสถาปนาขึ้นเป็นราชวงศ์ที่สิบห้า

ราชวงศ์ที่สิบสามอ่อนแอกว่าสมัยราชวงศ์ที่สิบสองและไม่สามารถยึดคืนดินแดนอียิปต์ไว้ได้ ในช่วงเริ่มต้นของราชวงศ์ที่สิบสามใน 1805 ปีก่อนคริสตกาลหรือช่วงกลางของราชวงศ์ที่สิบสามใน 1710 ปีก่อนคริสตกาล ได้มีการสถาปนาราชวงศ์ที่สิบสี่ขึ้นด้วยชาวฮิกซอสในอียิปต์ล่าง

การบุกรุกของชาวฮิกซอสได้เริ่มขึ้นในช่วงรัชกาลของฟาโรห์เซเบคโฮเทปที่ 4 ใน 1720 ปีก่อนคริสตกาล และได้เข้าควบคุมเมืองอวาริส (ปัจจุบันคือ เทล เอล-ดับ'อา / คาตา'นา) และได้ก่อตั้งราชวงศ์ที่สิบสี่ จากนั้นประมาณ 1650 ปีก่อนคริสตกาล ชาวฮิกซอสนำโดยซาลิทิส ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ที่สิบห้าพิชิตเมมฟิส แล้วจึงล้มล้างราชวงศ์ที่สิบสาม ทำให้อียิปต์บนเสื่อมอำนาจลงซึ่งเป็นผลมาจากการล่มสลายของราชวงศ์ที่สิบสาม ต่อมาราชวงศ์ที่สิบหกได้ปกครองอียิปต์บน แต่ก็ถูกล้มล้างราชวงศ์โดยราชวงศ์ที่สิบห้าหลังจากนั้นไม่นาน

ต่อจากนั้นเมื่อชาวฮิกซอสได้ถอยออกจากอียิปต์บน ทำให้ชาวอียิปต์บนได้สถาปนาราชวงศ์ที่สิบเจ็ดขึ้นมา และในที่สุดราชวงศ์ที่สิบเจ็ดก็สามารถขับไล่ชาวฮิกซอสออกไปจากอียิปต์ นำโดยฟาโรห์ทาโอที่สอง ฟาโรห์คาโมส และฟาโรห์อาโมส ซึ่งเป็นฟาโรห์พระองค์แรกของราชวงศ์ที่สิบแปด

ราชวงศ์ที่สิบสาม[แก้]

ราชวงศ์ที่สิบสาม (ตามบันทึกรายพระนามแห่งตูริน) ปกครองจาก 1802 ไปถึงประมาณ 1649 ปีก่อนคริสตกาล และรวมทั้งหมดเป็นเวลา 153 หรือ 154 ปี

เมืองหลวงอยู่ที่ เมมฟิส ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบสามแห่งอียิปต์

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เซเคมเร คูทาวี เซเบคโฮเตปที่ 1 Sekhemrekhutawy Sobekhotep Amenemhat.jpg เป็นฟาโรห์ที่ก่อตั้งราชวงศ์ที่สิบสาม 1802–1800 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เซเคมคาเร โซนเบฟ AmenemhatSenebefCylinderPetrie.png สันนิษฐานว่าอาจจะเป็นพระอนุชาของฟาโรห์เซเบคโฮเตปที่ 1 และเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์อเมเนมเฮตที่ 5[29] 1800–1796 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เนไรคาเร Stele of Nerikare.png 1796 ปีก่อนคริสตกาล
เซกเคมคาเร อเมเนมเฮตที่ 5 Amenemhat V.jpg ระยะเวลาการครองราชย์ประมาณ 3 - 4 ปี[29] 1796–1793 ปีก่อนคริสตกาล[29]
อเมนีกีเมา Plaque Qemaw by Khruner.jpg ที่ฝังพระศพอยู่ในพีระมิดอเมนีกีเมาในทางใต้ของดาห์ชูร์ 1795–1792 ปีก่อนคริสตกาล
โฮเทปอิบเร กีมานู ซิฮาร์เนดจเฮริเทฟ Hetep-ib-Re-mace.png อาจจะเรียกว่า โฮเทปอิบเร 1792–1790 ปีก่อนคริสตกาล
รูฟอิน ค่อนข้างสั้น, ประมาณ 1790 – 1788 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เซอังค์คิบเร อเมเนมเฮตที่ 6 Table CG23040 Kamal.jpg 1788–1785 ปีก่อนคริสตกาล
เซเมนคาเร เนบนูนิ Stele Nebnuni by Khruner.jpg 1785–1783 ปีก่อนคริสตกาล[29] หรือ 1739 ปีก่อนคริสตกาล[30]
เซเฮเทปอิบเร เซเสเซกทาวี Cylinder Sehetepibre by Khruner.jpg 1783–1781 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เซวัดจ์คาเร
เนบเจมอิบเร 7 เดือน, 1780 ปีก่อนคริสตกาล[29] หรือ 1736 ปีก่อนคริสตกาล[30]
คาอังค์เร เซเบคโฮเตป Relief mural, LP 1676 (032007 40).jpg 3 ปี, 1780–1777 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เรนเซเนบ 4 เดือน 1777 ปีก่อนคริสตกาล[29]
อาวายเบร ฮอร์ Ka Statue of horawibra.jpg ที่มีชื่อเสียงสำหรับสมบัติหลุมฝังศพของพระองค์ ประมาณ 1 ปี กับ 6 เดือน, 1777–1775 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เซเคมเรคูทาวี คาบาว Khabaw2.png อาจจะเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์ฮอร์ 3 ปี, 1775–1772 ปีก่อนคริสตกาล[29]
ดเจดเคเปอร์เร OsirisBed.jpg อาจจะเป็นพระโอรสของฟาโรห์ฮอร์ และเป็นพระอนุชาของฟาโรห์คาบาว 2 ปี, 1772–1770 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เซบคาย Kay Amenemhat.jpg อาจจะเป็นปกครองร่วมกันสองฟาโรห์ โดยชื่อว่าฟาโรห์เซบ และพระราชโอรสของพระองค์นามว่าฟาโรห์คาย[29]
เซดเจฟาคาเร Cylinder Sedjefakare Petrie.jpg 5 ถึง 7 ปี หรือ 3 ปี, 1769–1766 ปีก่อนคริสตกาล[29]
คูทาวีเร เวกาฟ Wegaf Rubensohn.png 1767 ปีก่อนคริสตกาล
เคนด์เจอร์ Khendjer.jpg อาจจะเป็นฟาโรห์ชาวเซเมติกพระองค์แรก และสร้างพีระมิดเคนต์เจอร์ในซัคคารา อย่างน้อย 4 ปี กับ 3 เดือน ประมาณ 1765 ปีก่อนคริสตกาล
อิมย์เรเมสชาว Ägyptisches Museum Kairo 2019-11-09 Emramescha 01.jpg น้อยกว่า 10 ปี, ตั้งแต่ 1759 ปีก่อนคริสตกาล[29] หรือ 1711 ปีก่อนคริตกาล[31]
เซเฮเทปคาเร อินโยเทฟที่ 4 Hotepkare cylinder Petrie.png ?
เซท เมริบเร Stele JE 35256 Randall-MacIver.png ?
เซเคมเรเซเวดจ์ทาวี เซเบคโฮเตปที่ 3 SobekhotepIII-DualRelief BrooklynMuseum.png 4 ปี กับ 2 เดือน 1755–1751 ปีก่อนคริสตกาล
คาเซเคมเร เนเฟอร์โฮเตปที่ 1 Neferhotep I 2.jpg 11 ปี 1751–1740 ปีก่อนคริสตกาล
เมนวัดจ์เร ซิฮาเธอร์ Turiner2.png อาจจะเป็นพระอนุชาของฟาโรห์เนเฟอร์โฮเตปที่ 1 1739 ปีก่อนคริสตกาล[29]
คาเนเฟอร์เร เซเบคโฮเตปที่ 4 Statue of Sobekhotep IV.jpg 10 หรือ 11 ปี 1740–1730 ปีกอนคริสตกาล
เมอร์โฮเทปเร เซเบคโฮเตปที่ 5 Statue of Merhotepre Sobekhotep V.jpg 1730 ปีก่อนคริสตกาล
คาโฮเทปเร เซเบคโฮเตปที่ 6 KneelingStatueOfSobekhotepV-AltesMuseum-Berlin.png 4 ปี 8 เดือน กับ 29 วัน 1725 ปีก่อนคริสตกาล
วาฮิบเร ไอบิอายู Scarab of King Ia-ib LACMA M.86.313.10 (2 of 2).jpg 10 ปี กับ 8 เดือน 1725–1714 ปีก่อนคริสตกาล หรือ 1712–1701 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เมอร์เนเฟอร์เร อัยย์ Merneferre Ay.jpg ครองราชย์นานที่สุดในราชวงศ์ที่สิบสาม 23 ปี, 8 เดือน กับ 18 วัน, 1701–1677 ปีก่อนคริสตกาล[29] หรือ 1714–1691 ปีก่อนคริตสกาล
เมอร์โฮเทปเร ไออิน Merhotepre Ini.png อาจจะเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์อัยย์ 2 ปี 3 ปี 4 เดือน กับ 9 วัน, 1677–1675 ปีก่อนคริสตกาล[29] หรือ 1691–1689 ปีก่อนคริสตกาล
สอังค์เอนเร เซวัดจ์ตู 3 ปี กับ 2–4 เดือน, 1675–1672 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เมอร์เซกเคมเร ไอเนด Neferhotep II 2.jpg อาาจะเป็นคนเดียวกับฟาโรห์เนเฟอร์โฮเทปที่สอง 3 ปี, 1672–1669 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เวซัดจ์คาเร โฮริ 5 ปี ?
เมอร์เคาเร เซเบคโฮเตปที่ 7 Merkawre Sobekhotep.png 2 ปี กับ 6 เดือน[29] 1664–1663 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เซเวน คิง พระนามสูญหาย[29] 1663 ปีก่อนคริสตกาล –?[29]
เมอร์…เร ?
เมอร์เคปเปอร์เร Merkheperre Scarab.png 1663 ปีก่อนคริสตกาล หรือ 1649 ปีก่อนคริสตกาล[29]
เมอร์คาเร ระหว่าง 1663 ปีก่อนคริสตกาล และ 1649 ปีก่อนคริสตกาล[29]
พระนามสูญหาย ?
เซวัดจ์เร เมนทูโฮเทปที่ 5 Sewadjare Mentuhotep.png 1655 ปีก่อนคริสตกาล[29]
…โมสเร ?
ไอบิ ....แมตเร ?
ฮอร์.... ....เวเบนเร ?
เซ....คาเร ? ?
เซเฮเคนเร เซนค์พตาร์ไฮ Sankhptahi.jpg อาจจะเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์เซ....คาเร ?
...เร ? ?
เซ...เอนเร ? ?–1649 ปีก่อนคริสตกาล[29]

รายพระนามนี้คือความไม่แน่นอน

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เดดูโมสที่หนึ่ง Djedhotepre Dedumose stele.png อาจจะเป็นฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่สิบหก 1654 ปีก่อนคริสตกาล
เดดูโมสที่สอง Djedneferre Dedumose.png อาจจะเป็นฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่สิบหก ?
เซวาเฮนเร เซเนบมิอู Senebmiu.png ปลายราชวงศ์ที่สิบสาม หลัง 1660 ปีก่อนคริสตกาล.[29]
สนาอิบ Snaaib.jpg อาจจะเป็นฟาโรห์แห่งราชวงศ์อไบดอส ?
เมอร์เซปเซสเร ไออินที่ 2 Statue Mershepsesre by Khruner.jpg ปลายราชวงศ์ที่สิบสาม ?

ราชวงศ์ที่สิบสี่[แก้]

ราชวงศ์ที่สิบสี่เป็นมีศูนย์อำนาจอยู่ที่เมืองอวาริส ซึ่งปกครองระหว่าง 1805 หรือ 1710 จนถึง 1650 ปีก่อนคริสตกาล ราชวงศ์ประกอบด้วยผู้ปกครองหลายคนที่มีชื่อแบบเซมิติกตะวันตกและดังนั้นจึงเชื่อว่าจะได้รับแหล่งกำเนิดจากอารยธรรมคานาอัน ตามที่ริโฮลต์กล่าวไว้ อย่างไรก็ตามการฟื้นฟูราชวงศ์นี้กำลังถกเถียงกันอย่างหนักกับตำแหน่งของกษัตริย์ทั้งห้าก่อนลำดับของฟาโรห์เนเฮซีแน่นอน

ฟาโรห์เป็นชาวฮิกซอส เมืองหลวงอยู่ที่ อวาริส ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบสี่แห่งอียิปต์

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
ยากคิม เซเคมเร Scarab Sekhaenre EA30511 Hall.jpg 1805–1780 ปีก่อนคริสตกาล
ยา'อัมมู นูบวอเซอร์เร Scarab Nubwoserre UC16597.jpg 1780–1770 ปีก่อนคริสตกาล
กาเร คาวอเซอร์เร[32] QarehScarabPetrie.png 1770–1760 ปีก่อนคริสตกาล
อัมมู เอโฮเทปเร[32] AahotepreScarabPetrie.png 1760–1745 ปีก่อนคริสตกาล
เชชิ[33] Canaanite - Scarab with Cartouche of King Sheshi - Walters 4217 - Bottom (2).jpg ระยะเวลากับครองราย์ยังไม่แน่ชัด[32] 1745–1705 ปีก่อนคริสตกาล
เนเฮซี Aasehra obelisk Petrie.png ครองราชย์ค่อนข้างสั้น อาจจะเป็นพระราชโอรสของ[[ฟาโรห์เชชิ]][32] 1705 ปีก่อนคริสตกาล
คาเคเรวเร - ?
เนเบฟาว์เร - 1704 ปีก่อนคริสตกาล
เซเฮบเร -
เมอร์ดเจฟาเร Stele Merdjefare by Khruner.png 1699 ปีก่อนคริสตกาล
เซวัดจ์คาเรที่สาม - ?
เนบดเจฟาเร - 1694 ปีก่อนคริสตกาล
เวเบนเร - ?
- ?
ดเจฟาเร? - ?
เบเวนเร 1690 ปีก่อนคริสตกาล
เนบเซนเร[32] Jar Nebsenre by Khruner.jpg ประมาณ 5 เดือน ระหว่าง 1690 ปีก่อนคริสตกาล และ 1649 ปีก่อนคริสตกาล
เซเคเปอร์เอนเร[32] Scarab Sekheperenre by Khruner.jpg พระนามปรากฏบนเปลือกสคารับ 2 เดือน
อานาติ ดเจดคาเร[32]
เบบนุม[32]
เอเปปิ[32]

รายพระนามนี้คือความไม่แน่นอน

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
นูยา[29] Scarab Nuya by Khruner.jpg
วาซาส[29] Wazad.png 1700 ปีก่อนคริสตกาล ?
เชเนฮ์[29] Sheneh.png
เซนเซก[29] Scarab Shenshek by Khruner.png
คามูเร[29] Khamure.png
ยากาเรบ[29] Yakareb scarab.png
ยาคุบ-ฮาร์[33] YaqubHar scarab Petrie 75.png ศตวรรษที่ 17 – 16 ก่อนคริสตกาล

บันทึกพระนามแห่งตูรินยังแสดงพระนามเพิ่มเติม ซึ่งไม่มีชื่อใดเป็นส่วนสำคัญนอกเหนือรายนามในตารางนี้

ราชวงศ์ที่สิบห้า[แก้]

ราชวงศ์ที่สิบห้าได้ถูกสถาปนาจากคนฮิกซอส แต่เป็นการปกครองแบบสั้น ๆ ในภูมิภาคปากแม่น้ำไนล์และปกครองตั้งแต่ 1674 ถึง 1535 ปีก่อนคริสตกาล

ฟาโรห์เป็นชาวฮิกซอส เมืองหลวงอยู่ที่ อวาริส ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบห้าแห่งอียิปต์

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เซมเคน SemqenScarabPetrie.png ลำดับตำแหน่งไม่แน่นอน 1649 ปีก่อนคริสตกาล - ?
เอเปอร์-อนัท Aperanati scarab Petrie.png ลำดับตำแหน่งไม่แน่นอน
ซาคิร์-ฮาร์ - ?
คยาน Khyan.jpg อำนาจชาวฮิกซอสเอาชนะธีบส์ในช่วงท้ายของการครองราชย์ของพระองค์ 30–40 ปี
อเปปิ ScarabBearingNameOfApophis MuseumOfFineArtsBoston.png - 40 ปีหรือมากกว่า
คามูดิ Cylinder Khondy Petrie.jpg - 1555–1544 ปีก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์อไบดอส[แก้]

ระยะช่วงต่อที่สองอาจจะมีราชวงศ์อิสระปกครองเมืองอไบดอส ตั้งแต่ 1650 ถึง 1600 ปีก่อนคริสตกาล มีเพียงฟาโรห์สี่พระองค์ที่ได้รับการรับรองอาจจะถูกนำมาประกอบกับราชวงศ์อไบดอสชั่วคราวและจะได้รับที่นี่โดยไม่คำนึงถึงลำดับเหตุการณ์ (ไม่ทราบ)

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์อไบดอส

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เซคเอมเรเนเฟอร์คาอู

เวปวาเวทเอมซาฟ

Wepwawetemsaf.png อาจจะเป็นฟาโรห์ในสมัยปลายราชวงศ์ที่สิบหก[34]
เซคเอมเรคูทาวี พันท์เจนี่ Pantjeny stele BM Budge.png อาจจะเป็นฟาโรห์ในสมัยปลายราชวงศ์ที่สิบหก[34]
เมนคาอูเร สนาอิบ Snaaib.jpg อาจจะเป็นฟาโรห์ในสมัยปลายราชวงศ์ที่สิบสาม[35][36][37]
วอเซอร์อิบเร เซเนบคาอี Cartouche Senebkay by Khruner.jpg หลุมฝังศพถูกค้นพบในปี 2014 อาจจะสามารถระบุตัวตนได้ด้วย "เวเซอร์ [... ] เร" ของบันทึกแห่งตูริน

ราชวงศ์ที่สิบหก[แก้]

ราชวงศ์ที่สิบหกเป็นราชวงศ์ที่มีอำนาจอยู่ที่เมืองธีบส์ ซึ่งถูกสถาปนาขึ้นภายหลังจากการล่มสลายของราชวงศ์ที่สิบสามที่เมมฟิสใน 1650 ปีก่อนคริสตกาล และในที่สุดก็ถูกล้มล้างราชวงศ์โดยชาวฮิกซอสใน 1580 ปีก่อนคริสตกาล ราชวงศ์ที่สิบหกมีอำนาจเพียงอียิปต์บนเท่านั้น

เมืองหลวงอยู่ที่ ธีบส์ ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบหกแห่งอียิปต์

พระนาม พระรูป หมายเหตุ รัชกาล
ไม่ปรากฏพระนาม
เซคเอมเรเซเมนทาวี ดเจฮูติ Block Djehuti by Khruner.jpg - 3 ปี
เซคเอมเรเซอูเซอร์ทาวี

โซเบคโฮเทปที่ 8

Stele Sekhemre Seusertawy by Khruner.png - 16 ปี
เซคเอมเรเซอังค์ทาวี

เนเฟอร์โฮเทปที่ 3

Stele JE 59635 by Khruner.png - 1 ปี
เซอังค์เอนเร เมนทูโฮเทปอิ Sphinx Seankhenre by Khruner.jpg อาจจะเป็นฟาโรห์จากราชวงศ์ที่สิบเจ็ด[36] 1 ปี
เซวัดจ์เอนเร

เนบอิร์ริราวที่ 1

Dagger Sewadjenre Petrie.png - 26 ปี
เนเฟอร์คาเร (?)

เนบอิร์ริราวที่ 2

Statuette Harpocrates Mariette.jpg -
เซเมนเร Axehead Semenenre by Khruner.jpg -
เซอูเซอร์เอนเร เบบิอังค์ Dagger Bebiankh by Khruner.jpg - 12 ปี
ดเจดโฮเทปเร เดดูโมสที่ 1 Djedhotepre Dedumose stele.png อาจจะเป็นฟาโรห์จากราชวงศ์ที่สิบสาม[36]
ดเจดเนเฟอร์เร เดดูโมสที่ 2 Djedneferre Dedumose.png -
ดเจดอังค์เร มอนตูเอมซาฟ DjedankhraScarabPetrie.png -
เมอร์อังค์เร เมนทูโฮเทปที่ 6 Mentuhotep VI.jpg -
เซเนเฟอร์อิบเร เซนุตเรสที่ 4 Senusret IV.png -
เซคเอมเร-เชด-วาเซท -

ราชวงศ์ที่สิบหก อาจประกอบด้วยรัชกาลของฟาโรห์เซเนเฟอร์อังค์เร เปปิที่ 3 และฟาโรห์เนบมาอัตเร ซึ่งไม่ทราบถึงลำดับตำแหน่งการครองราชย์

ราชวงศ์ที่สิบเจ็ด[แก้]

ราชวงศ์ที่สิบเจ็ดปกครองอยู่ในอียิปต์บนและปกครองตั้งแต่ 1650 ถึง 1550 ปีก่อนคริสตกาล

เมืองหลวงอยู่ที่ ธีบส์ ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบเจ็ดแห่งอียิปต์

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
Rahotep stele BM Budge.png เซเคมเร-วาห์คาอูราโฮเทป 1580–1576 ปีก่อนคริสตกาล
ไฟล์:RedGraniteStatueOfSobkemsafI (Detail) -BritishMuseum-August19-08.jpg เซเบคเอมซาฟเซเคมเรวาดจ์คาอู (เซเบคเอมซาฟที่ 1) ประมาณ 7 ปี -
Statuette Sobekemsaf Petrie b.png เซเคมเร-เชดทาวีเซเบคเอมซาฟที่ 2 ประมาณ 1570s ปีก่อนคริสตกาล -
Sekhemre-Wepmaat Intef, Louvre.jpg เซเคมเร-เวบมาอัตอินเตฟที่ 5 (อินโยเตฟที่ 5) ประมาณ 1573?–1571 ปีก่อนคริสตกาล -
WoodenCoffinOfIntef-BritishMuseum-August21-08.jpg เนบูเคเปอร์เรอินเตฟที่ 6 (อินโยเตฟที่ 6) ประมาณ 1571–ช่วงกลาง1560s

ปีก่อนคริสตกาล

-
Sekhemre-Heruhirmaat Intef, Louvre.jpg เซเคมเร-เฮรูเฮอร์มาอัตอินเตฟที่ 7 (อินโยเตฟที่ 7) ? -
Relief Senakhtenre by Khruner.jpg เซนัคท์เอนเรอาโมส ประมาณ 1558 ปีก่อนคริสตกาล
Sequenre tao.JPG เซเคนเอนเรทาโอ 1558–1554 ก่อนคริสต์ศักราช สวรรคตในการต่อสู้กับชาวฮิกซอส
Sarcophage-Kamose.jpg วาดจ์เคเปอร์เรคาโมส 1554–1549 ปีก่อนคริสตกาล

ช่วงราชอาณาจักรใหม่ (ราว 1550-1077 ปีก่อนคริสตกาล)[แก้]

ช่วงราชอาณาจักรใหม่ (ตั้งแต่ 1550-1077 ปีก่อนคริสตกาล) คือช่วงที่ครอบคลุมราชวงศ์ที่สิบแปด, สิบเก้าและยี่สิบแห่งอียิปต์ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 11 ระหว่างช่วงระหว่างกลางครั้งที่สองและช่วงระหว่างกลางครั้งที่สาม

เมื่อผ่านการครอบงำทางทหารในต่างชาติ ราชอาณาจักรใหม่มีอาณาเขตที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของอียิปต์ มันขยายตัวไกลเข้าไปในนิวเบียและในภาคใต้และจัดพื้นที่กว้างในตะวันออกใกล้ กองทัพอียิปต์ต่อสู้กับกองทัพฮิตไทต์เพื่อควบคุมซีเรีย

สามฟาโรห์ที่รู้จักกันดีที่สุดของราชอาณาจักรใหม่คือ อาเคนาเทนหรือที่รู้จักกันในชื่อว่า อเมนโฮเทปที่ 4 ซึ่งทรงนับถือเทพอาเตน ทุตอังค์อามุน ผู้ที่มีอุโมงค์ฝังศพเกือบสมบูรณ์และเต็มไปด้วยและ แรเมซีสที่ 2 พยายามที่จะกู้ดินแดนในปัจจุบันอิสราเอล/ปาเลสไตน์ เลบานอนและซีเรียที่ได้รับการจัดขึ้นในสมัยราชวงศ์สิบแปด และทรงรบชนะพวกฮิตไทต์

ราชวงศ์ที่สิบแปด[แก้]

ราชวงศ์ที่สิบแปดปกครองระหว่าง 1550 ถึง 1292 ปีก่อนคริสตกาล

เมืองหลวงอยู่ที่ ธีบส์ ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบแปดแห่งอียิปต์

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
Head of Ahmose I MET DP140854.jpg เนบเพฮ์ติเร
อาโมสที่ 1
1550–1525 ปีก่อนคริสตกาล[38] พระอนุชาและเป็นผู้ราชสมบัติจากฟาโรห์คาโมส, สามารถเอาชนะและชับไล่ชาวฮิกซอสออกจากอียิปต์
Head of a statue depicting new kingdom pharaoh Amenhotep I.jpg ดเจเซอร์คาเร
แอเมนโฮเทปที่ 1
1541–1520 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์อาโมสที่ 1
Bust of new kingdom pharaoh Thutmose I.jpg อาร์เคปเปอร์คาเร
ดเจฮูตีเมส คามีเร
(ทุตโมสที่ 1)
1520–1492 ปีก่อนคริสตกาล ไม่ทราบว่าใครเป็นพระบิดา, อาจจะเป็นฟาโรห์อเมนโฮเทปที่หนึ่ง. พระราชมารดาของพระองค์นามว่า เซนเซเนบ มีการขยายอาณาเขตของอียิปต์ในช่วงรัชสมัยของพระองค์
Stone block with relief at Karnak Temple Thutmosis II.jpg อาร์เคปเปอร์เอนเร
ดเจฮูตีเมส เนเฟอร์คาอู / ดเจฮูตีเมส เนดจ์ตีเร
(ทุตโมสที่ 2)
1492–1479 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์ทุตโมสที่หนึ่ง. พระราชนัดดาของฟาโรห์อเมนโฮเตปที่หนึ่ง พระราชมารดาพระนามว่า มุทโนเฟรต.
Seated Statue of Hatshepsut MET Hatshepsut2012.jpg มาอัตคาเร
เคเนเมต อามุน ฮัตเชปซุต
(กษัตรี)
1479–1458 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์หญิงองค์ที่สามแห่งอาณาจักรอียิปต์โบราณ
TuthmosisIII-2.JPG เมนเคปเปอร์เร
ดเจฮูตีเมส เนเฟอร์เคเปอร์อู
(ทุตโมสที่ 3 มหาราช)
1458–1425 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์ทุตโมสที่สอง กับพระนางไอซิส พระสนมของทุตโมซิสที่สอง
Amenophis II-E 10896-IMG 0085-gradient.jpg อาร์เคเปอร์อูเร
แอเมนโฮเทปอู เฮคาอูนู
(แอเมนโฮเทปที่ 2)
1425–1400 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์ทุตโมสที่สาม. อำนาจของอียิปต์ได้ถึงขีดสูงในรัชสมัยของพระองค์
Thumtmoses IV-E 13889-Louvre Museum (7465530452).jpg เมนเคเปอร์อูเร
ดเจฮูตีเมสที่ 4
(ทุตโมสที่ 4)
1400–1390 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์อเมนโฮเตปที่สอง. อำนาจของอียิปต์ได้ถึงขีดสูงในรัชสมัยของพระองค์
Head of statue depicting new kingdom pharaoh Amenhotep III.jpg เนบมาอัตเร
แอเมนโฮเทป เฮคาวาสเอต
(แอเมนโฮเทปที่ 3 มหาราช)
1390–1352 ปีก่อนคริสตกาล พระราชบิดาของฟาโรห์อเคนาเตน และเป็นพระอัยกาของฟาโรห์ตุตันคามุน
GD-EG-Caire-Musée061.JPG เนเฟอร์เคเปอร์อูเร วาเอนเร
แอเมนโฮเทป เนตเจอร์เฮคาวาสเอต / อัคเอนอาเตน
(แอเมนโฮเทปที่ 4,อเคนาเตน)
1352–1336 ฟาโรห์ที่ได้พยายามลบล้างเทพหลายองค์ให้นับถือเทพอาเต็นเท่านั้น และได้ย้ายเมืองหลวงไปที่อาร์มานา หรือ อเคตาเตน
Spaziergang im Garten Amarna Berlin.jpg อังค์เคเปอร์อูเร
สเมนค์คาเร ดเจเซอร์เคเปอร์อู
1335–1334 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์ปริศนาแห่งราชวงศ์ที่สิบแปด
UnfinishedStele-NefertitiPouringWineIntoAkhenatensCup.png
อังค์เคเปอร์อูเร เมริ อังค์เคเปอร์อูเร
เนเฟอร์เนเฟอร์อูอาเตน
(กษัตรี)
1334-1332 ปีก่อนคริสตกาล
CairoEgMuseumTaaMaskMostlyPhotographed.jpg เนบเคเปอร์อูเร
ทุตอังค์อาเตน / ทุตอังค์อามุน เฮคา อินูเชมาอู
(ตุตันคาเมน)
1332–1324 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์อเคนาเตน ย้ายเมืองหลวงกลับมาอยู่ที่ ธีบส์
Opening of the Mouth - Tutankhamun and Aja-2.jpg เคเปอร์เคเปอร์อูเร อิริมาอัต
อิติเนตเจอร์ ไอย์
(ไอย์ที่ 2)
1324–1320 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์เฒ่าผู้ครองราชย์สี่ปี
StatueOfHoremhebAndTheGodHorus-DetailOfHoremheb01 KunsthistorischesMuseum Nov13-10.jpg ดเจเซอร์เคเปอร์อูเร เซเทปเอนเร
ฮอร์เอมเฮบ เมริอามุน
(โฮเรมเฮบ)
1320–1292 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์เริ่มมีอำนาจตั้งแต่สมัยของตุตันคาเมน

ราชวงศ์ที่สิบเก้า[แก้]

ราชวงศ์ที่สิบเก้าปกครองมาตั้งแต่ 1292 ถึง 1186 ปีก่อนคริสตกาล รวมถึงมีฟาโรห์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุด คือ แรเมซีสที่ 2 มหาราช

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สิบเก้าแห่งอียิปต์

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
StatueHeadOfParamessu-TitledFrontalView-RamessesI MuseumOfFineArtsBoston.png เมนเพห์ตีเร
แรเมซีสที่ 1
1292–1290 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์ไม่ได้เป็นเชื้อพระวงศ์ ทำให้ครองราชย์จากฟาโรห์โฮเรมเฮบ เนื่องจากขาดทายาท
SetiI-KneelingStatueOfferingToOsiris-CloseUp MetropolitanMuseum.png เมนมาอัตเร
เซติ เมอร์เอน'พทาห์
(เซติที่ 1)
1290–1279 ปีก่อนคริสตกาล รวบรวมดินแดนที่สูญเสียใต้รัชสมัยของฟาโรห์อเคนาเทน
RamsesIIEgypt.jpg อูเซอร์มาอัตเร เซเทปเอนเร
แรเมซีส เมริอามุน
(แรมีซีสที่ 2 มหาราช)
1279–1213 ปีก่อนคริสตกาล ขยายอาณาเขตของอียิปต์ต่อไปจนกับจักรวรรดิฮิตไทต์ที่รบพุทเทย์ใน เมื่อ 1275 ปีก่อนคริสตกาลก่อนที่สนธิสัญญาสันติภาพอียิปต์ - ฮิตไทต์ ลงนามใน 1258 ปีก่อนคริสตกาล
Merenptah Louxor-HeadAndShoulders-BackgroundKnockedOut.png บาเอนเร เมริเนตเจอร์อู
เมอร์เน'พทาห์ โฮเทปเฮอร์มาอัต[39]
1213–1203 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสลำดับที่สิบสามของฟาโรห์แรเมซีสที่สอง
Seti-II-StatueHead MetropolitanMuseum.png เมนมิเร เซเทปเอนเร
อเมนเมสเซ เฮคาวาเซท
1203–1200 ปีก่อนคริสตกาล ส่วนใหญ่มีแนวโน้มที่จะแย่งชิงบัลลังก์ อาจจะเป็นผู้ปกครองในการต่อสู้กับเซติที่สอง โดยพระราชโอรสของฟาโรห์เมร์เนปทาห์
Turin statue of Seti II.jpg อูเซอร์เคเปอร์อูเร เซเทปเอนเร
เซติ เมริเอน'พทาห์
(เซติที่ 2) [40]
1203-1197 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์เมร์เนปทาห์ อาจจะต้องการบัลลังค์ของฟาโรห์อเมเนมเซ ก่อนที่พระองค์จะสามารถทำให้การอ้างสิทธิของพระองค์ขึ้นครองราชสมบัติได้
Siptah.jpg เซไคเอนเร เมริอามุน
/ อังค์เอนเร เซเทปเอนเร

แรเมซีส ซิ'พทาห์ / เมริพทาห์ ซิ'พทาห์
(ซิ'พทาห์ที่ 2)[41]
1197–1191 ปีก่อนคริสตกาล อาจเป็นพระโอรสของฟาโรห์เซติที่สอง หรือ ฟาโรห์อเมเนมเซ ครองราชย์เมื่ออายุยังน้อย
Twosret.jpg ซิทเร เมริอามุน
ทาอูเซอร์เอต เซเทปเอนมุต
(ทวอสเรต)
(กษัตรี)
1191–1190 ปีก่อนคริสตกาล อาจเป็นพระมเหสีของฟาโรห์เซติที่สอง ยังเป็นที่รู้จักกันในนามว่า ทวอสเรต

ราชวงศ์ที่ยี่สิบ[แก้]

ราชวงศ์ที่ยี่สิบปกครองระหว่าง 1190 ถึง 1077 ปีก่อนคริสตกาล

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่ยี่สิบแห่งอียิปต์

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
Sethnakht closeup Lepsius.png อูเซอร์คาอูเร เซเทปเอนเร
เซทนัคต์ เมริอามุนรา
1190–1186 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์องค์แรกแห่งราชวงศ์ที่ยี่สิบ
KhonsuTemple-Karnak-RamessesIII-2.jpg อูเซอร์มาอัตเร เมริอามุน
แรเมซีสซู เฮคาอิอูนู
(แรมีซีสที่ 3)
1186–1155 ปีก่อนคริสตกาล พระโอรสของเซทนัคห์เต พระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์จนสวรรคต
M-Ramses IV.jpg อูเซอร์มาอัตเร เซเทปเอนอามุน
/ เฮคามาอัตเร เซเทปเอนอามุน

แรเมซีสซู เฮคามาอัต เมริอามุน
(แรมีซีสที่ 4)
1155–1149 ปีกอนคริสตกาล พระราชโอรสของแรเมซีสที่สาม ในสมัยของพระองค์อำนาจของอียิปต์เริ่มลดลง
Ramses V mummy head.png อูเซอร์มาอัตเร เซเคเปอร์เอนเร
แรเมซีสซู อามุน เฮอร์เคปเอชเอฟ
(แรมีซีสที่ 5)
1149–1145 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์แรเมซีสที่สี่
Faraón Ramsés VI, sarcófago hacia el año 1136 a. C., procedente del Valle de los Reyes, Tebas, Egipto.jpg เนบมาอัตเร เมริอามุน
แรเมซีสซู อามุนเฮอร์เคปเอชเอฟ เนตเจอร์เฮคาอิอูนู
(แรมีซีสที่ 6)
1145–1137 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์แรเมซีสที่สาม และเป็นพระอนุชาของฟาโรห์แรเมซีสที่สี่ และเป็นพระปิตุลาของฟาโรห์แรเมซีสที่ห้า
Tomb KV1 Ramesses VII Lepsius.jpg อูเซอร์มาอัตเร เซเทปเอนเร เมริอามุน
แรเมซีสซู อิทอิอามุนเนตเจอร์เฮคาอิวนู
(แรมีซีสที่ 7)
1137–1130 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์แรเมซีสที่หก.
SFEC-MEDINETHABU-Sethiherkhepeshef II.jpg อูเซอร์มาอัตเร อัคเอนอามุน
แรเมซีส เซทเฮอร์เคปเอชเอฟ เมริอามุน
(แรมีซีสที่ 8)
1130–1129 ปีก่อนคริสตกาล
Ramesses9.jpg เนเฟอร์คาเร เซเทปเอนเร
แรเมซีส คาเอมวาเซท เมอร์เรออามุน
(แรมีซีสที่ 9)
1129–1111 ปีก่อนคริสตกาล อาจจะเป็นพระราชนัดดาของฟาโรห์แรเมซีสที่สาม
RamsesXCrop.jpg เคเปอร์มาอัตเร เซเทปเอนเร
แรเมซีส อามุนเฮอร์เคปเอชเอฟ เมริอามุน
(แรมีซีสที่ 10)[42]
1111–1107 ปีก่อนคริสตกาล ไม่ทราบเรื่องเวลาการครองราชย์ที่แท้จริง สันนิษฐานว่าประมาณ 3-10 ปี
Temple Khonsu Ramesses XI Lepsius.jpg เมนมาอัตเร เซเทปเอนพทาห์
แรเมซีส คาเอมวาเซท เมอร์เรออามุน เนตเจอร์เฮคาอิอูนู
(แรมีซีสที่ 11)[43]
1107–1077 ปีก่อนคริสตกาล อาจจะเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์แรเมซีสที่สิบ

ช่วงระหว่างกลางครั้งที่สาม (ราว 1077-664 ปีก่อนคริสตกาล)[แก้]

ระยะช่วงต่อที่สาม (ตั้งแต่ 1077-664 ปีก่อนคริสตกาล) เป็นจุดสิ้นสุดของราชอาณาจักรใหม่หลังการล่มสลายของราชอาณาจักรอียิปต์ จำนวนราชวงศ์ของแหล่งกำเนิดของลิเบียได้ปกครองให้ระยะเวลานี้เป็นช่วงเวลาการปกครองของชาวลิเบีย

ราชวงศ์ที่ยี่สิบเอ็ด[แก้]

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่ยี่สิบเอ็ดแห่งอียิปต์

ราชวงศ์ที่ 21 มีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่เมืองแทนิส และเป็นราชวงศ์ที่ค่อนข้างอ่อนแอ ในทางนิตินัยถือว่าเป็นผู้ปกครองของอียิปต์ทั้งหมด แต่ในทางพฤตินัยแล้ว อิทธิพลถูกจำกัดไว้ที่อียิปต์ล่างเท่านั้น ราชวงศ์นี้มระยะเวลาตั้งแต่ 1069-943 ปีก่อนคริสตกาล

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
Canopic Smendes Met.jpg เฮดจ์เคเปอร์เร เซเทปเอนเร
เนซูบาเนบ'ดเจดเอต เมริอามุน
(สเมนเดสที่ 1) [44]
1077–1051 ปีก่อนคริสตกาล ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงเทนต์อามุน ซึ่งอาจจะเป็นพระราชธิดาในฟาโรห์แรเมซีสที่ 11
Bowcap Amenemnesut Psusennes by Khruner.jpg เนเฟอร์คาเร เฮคาวาสเอต
อเมนเอมเนซุต
1051–1047 ปีก่อนคริสตกาล ทรงครองราชย์ประมาณสี่ปี
Golden Mask of Psusennes I.jpg เออาเคเปอร์เร เซเทปเอนอามุน
ปาเซบาคาเอนนิอุต เมริอามุน
(ซูเซนเนสที่ 1)
1047–1001 ปีก่อนคริสตกาล พระโอรสของพิเนดเจมที่ 1
Amenemope Mask Crop.jpg ยูเซอร์มาอัตเร เซเทปเอนอามุน
อเมนเอมอิเพต
(อเมนเอมโอเป)
1001–992 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสในฟาโรห์ซูเซนเนสที่ 1
Seal Aakheperre Osorkon Petrie.jpg เออาเคเปอร์เร เซเทปเอนเร / เออาเคเปอร์เร เซเทปอามุน
โอซอร์คอน เมริอามุน
(โอซอร์คอน ผู้อาวุโส)
992–986 ปีก่อนคริสตกาล ฟาโรห์พระองค์แรกที่เป็นชาวลิเบีย

พระโอรสของโชเชงค์ เอ

Relief Siamun Petrie.jpg เนดเจอร์เคเปอร์เร เซเทปเอนอามุน
/ เนดเจอร์เคเปอร์เร เมริอามุน

(เนซุต-) ซิอามุน
986–967 ปีก่อนคริสตกาล ต้นกำเนิดที่ไม่รู้จัก เป็นหนึ่งในผู้ปกครองที่มีอำนาจมากที่สุดของราชวงศ์
Statue CG42192 legrain.jpg ติตเคเปอร์อูเร เซเทปเอนเร
ฮอร์ ปาเซบาคาเอนนิอุต เมริอามุน
(ซูเซนเนสที่ 2)
967–943 ปีก่อนคริสตกาล พระโอรสของพิเนดเจมที่ 2

นักบวชสูงสุดแห่งเทพอามุนที่ธีบส์[แก้]

ดูบทความหลักใน นักบวชสูงสุดแห่งเทพอามุน

ช่วงปลายรัชกาลฟาโรห์แรมีซีสที่ 11 นักบวชสูงสุดแห่งเทพอามุนได้ขึ้นมามีอิทธิพลปกครองอียิปต์ตอนบน ที่มีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่เมืองทีบส์ แม้ว่าจะไม่ใช่ฟาโรห์อย่างเป็นทางทางการ แต่ในทางพฤตินัยถือว่าเป็นฟาโรห์ที่ปกครองของอียิปต์ตอนบน โดยมีการเขียนนามแบบฟาโรห์ในคาร์ทูธและมีการฝังพระศพในสุสานหลวง

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
KingHerihorAdoreOsiris.jpg
เฮมเนดเจอร์เทปเอนอามุน
เฮริฮอร์ ซิอามุน
1080–1074 ปีก่อนคริสตกาล ขึ้นมีอำนาจปกครองในอียิปต์ตอนบน มีศูนย์กลางอำนาจอยู่ที่เมืองทีบส์ ขณะที่ฟาโรห์แรมีซีสที่ 11 มีพระราชอำนาจปกครองอยู่ทางอียิปต์ตอนล่าง มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองปิ-แรมีซีส บางสันนิฐานกล่าวว่าท่านปกครองหลังจากพิอังค์
Payankh stele Mariette.jpg
พิอังค์ 1074–1070 ปีก่อนคริสตกาล บางสันนิฐานกล่าวว่าปกครองก่อนเฮริฮอร์
Statue Pinedjem CG42191 Legrain.png
เคเปอร์คาอูรา เซเทปเอนอามุน
พิเนดเจม เมริอามุน
(พิเนดเจมที่ 1)
1070–1032 ปีก่อนคริสตกาล พระโอรสของพิอังค์ พระราชบิดาของฟาโรห์ซูเซนเนสที่ 2
Mummy Masaherta Smith.JPG
มาซาเฮอร์ตา 1054–1045 ปีก่อนคริสตกาล พระโอรสของพิเนดเจมที่ 1
ดเจดคอนซูเอฟอังค์ 1046–1045 ปีก่อนคริสตกาล พระโอรสของพิเนดเจมที่ 1
Molded Faience Amuletic Tube with Throne Name of the High Priest of Amen Menkheperre LACMA M.80.198.107.jpg
เฮมเนดเจอร์เทปิเอนอามุน
เมนเคเปอร์เร
1045–992 ปีก่อนคริสตกาล พระโอรสของพิเนดเจมที่ 1
Nesbanebdjed II statuette Petrie.png
เนซูบาเนบ'ดเจดเอต
(สเมนเดสที่ 2)
992–990 ปีก่อนคริสตกาล พระโอรสของเมนเคเปอร์เร
Pinudjem-II.jpg
พิเนดเจมที่ 2 990–976 ปีก่อนคริสตกาล พระโอรสของเมนเคเปอร์เร และเป็นพระราชบิดาของฟาโรห์ซูเซนเนสที่ 2
ติตเคเปอร์อูเร
เฮมเนดเจอร์เทปิเอนอามุน ปาเซบาคาเอนนิอุต
(ซูเซนเนสที่ 3)
976–943 ปีก่อนคริสตกาล อาจจะเป็นพระองค์เดียวกับฟาโรห์ซูเซนเนสที่ 2

และ ท่านหรือพิเนดเจมที่ 2 ถือว่าเป็นนักบวชสูงสุดแห่งเทพอามุนคนสุดท้ายที่มีพระราชอำนาจเทียบเท่าฟาโรห์

ราชวงศ์ที่ยี่สิบสอง[แก้]

ฟาโรห์ของราชวงศ์ที่ยี่สิบสองเป็นชาวลิเบีย ปกครองระหว่าง 943 ถึง 728 ปีก่อนคริสตกาล

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่ยี่สิบสองแห่งอียิปต์

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เฮดจ์เคปเปอร์เร-เซเตเพนเร โชเชงค์ที่หนึ่ง Karnak Sheshonq I.jpg พระราชบุตรของนิมลอต A, พระอนุชาของฟาโรห์โอซอร์คอน ผู้อาวุโส 943–922 ปีก่อนคริสตกาล
เซเคมเคปเปอร์ โอซอร์คอนที่หนึ่ง Statue of Pharaoh Osorkon I-AO 9502-IMG 7653-gradient.jpg พระราชโอรสของฟาโรห์โชเชงค์ที่หนึ่ง 922–887 ปีก่อนคริสตกาล
เฮกาเคปเปอร์เร โชเชงค์ที่สอง Sheshonq II mask2004.jpg 887–885 ปีก่อนคริสตกาล
ทุตเคปเปอร์เร โชเชงค์ 880 ปีก่อนคริสตกาล
เฮดจ์เคปเปอร์เร ฮาร์เซียเซ Sarcophage Harsiesis.JPG . 880–860 ปีก่อนคริสตกาล
ทาเคลอตที่หนึ่ง Takelot I a.jpg พระราชโอรสของฟาโรห์โอซอร์คอนที่หนึ่ง 885–872 ปีก่อนคริสตกาล
ยูเซอร์มาอัตเร-เซเตเพนอามุน โอซอร์คอนที่ 2 Egypte louvre 066.jpg พระราชโอรสของฟาโรห์ทาเคลอตที่หนึ่ง 872–837 ปีก่อนคริสตกาล
ยูเซอร์มาอัตเร-เซเตเพนเร โชเชงค์ที่สาม Shoshenq III.jpg - 837–798 ปีก่อนคริสตกาล
โชเชงค์ที่สี่ - 798–785 ปีก่อนคริสตกาล
ยูเซอร์มาอัตเร-เซเตเพนเร ปามิ Stele of Year 2 of Pami, Louvre.jpg - 785–778 ปีก่อนคริสตกาล
อาเคปเปอร์เร โชเชงค์ที่ห้า Apis stele, Shoshenq V, Louvre.jpg - 778–740 ปีก่อนคริสตกาล
ยูเซอร์มาอัตเร โอซอร์คอนที่สี่ Louvre egide tete lionne.JPG - 740–720 ปีก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์ที่ยี่สิบสาม[แก้]

ราชวงศ์ที่ยี่สิบสามมีผู้ปกครองเป็นชาวลิเบีย ซึ่งศูนย์กลางอำนาจตั้งอยู่ที่เมืองเฮราคลีโอโพลิส เมืองธีบส์ และเมืองลีออนโทโพลิสซึ่งปกครองตั้งแต่ 837 ถึง 735 ปีก่อนคริสตกาล

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่ยี่สิบสามแห่งอียิปต์

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เฮดจ์เคปเปอร์-เซตเพนเร ทาเคลอตที่ 2 Karnak Ptah 08.jpg ก่อนหน้านี้คิดว่าจะเป็นฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ยี่สิบสอง ตอนนี้พระองค์เป็นที่รู้จักในฐานะผู้ก่อตั้งของราชวงศ์ที่ยี่สิบสาม 837–813 ปีก่อนคริสตกาล
ยูเซอร์มาอัตเร-เซเตเพนอามุน เปดิบาสเทต Torso of Pedubast I by Michael Martin.jpg 826–801 ปีก่อนคริสตกาล
ยูเซอร์มาอัตเร-เซเตเพนอามุน ลูพุดที่ 1 ปกครองร่วมกันกับฟาโรห์เปดิบาสเทตที่หนึ่ง 812–811 ปีก่อนคริสตกาล
ยูเซอร์มาอัตเร โชเชงค์ที่หก สืบทอดพระราชบัลลังค์ต่อจากฟาโรห์เปดิบาสเทตที่หนึ่ง 801–795 ปีก่อนคริสตกาล
ยูเซอร์มาอัตเร-เซเตเพนอามุน โอซอร์คอนที่สาม Osorkon III.jpg พระราชโอรสของฟาโรห์ทาเคลอตที่สอง 795–767 ปีก่อนคริสตกาล
ยูเซอร์มาอัตเร-เซตเพนอามุน ทาเคลอตที่สาม Karnak Takelot III.jpg ปกครองร่วมกันกับฟาโรห์โอซอร์คอนที่สาม 773–765 ปีก่อนคริสตกาล
ยูเซอร์มาอัตเร-เซตเพนอามุน รุดอามุน Egypte louvre 054.jpg พระราชโอรสของฟาโรห์ฟาโรห์โอซอร์คอนที่สาม และเป็นพระอนุชาของฟาโรห์ฟาโรห์ทาเคลอตที่สาม 765–762 ปีก่อนคริสตกาล

ฟาโรห์รุดอามุนได้สืบทอดอำนาจที่เมืองธีบส์และได้ย้ายเมืองหลวงไปที่ธีบส์ โดยผู้ปกครองท้องถิ่น:

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เมนเคปเปอร์เร ไออินที่ 3 Louvre C100 stele Petrie.png ย้ายเมืองหลวงมาที่ธีบส์ 762–? ปีก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์ที่ยี่สิบสี่[แก้]

ราชวงศ์ที่ยี่สิบสี่เป็นราชวงศ์อายุสั้น ที่ตั้งของเมืองหลวงอยู่ในเขตตะวันตกของปากแม่น้ำไนล์ (เมืองซาอิส) มีเพียงสองฟาโรห์ปกครองตั้งแต่ 732 ถึง 720 ปีก่อนคริสตกาล

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่ยี่สิบสี่แห่งอียิปต์

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เซปเซสเร เทฟนัคห์เตที่หนึ่ง Tefnakht Athens stela (T. Efthimiadis) det.jpg - 732–725 ปีก่อนคริสตกาล
วาห์คาเร บาเคนเรเนฟ Apis Bakenranef 6 Mariette.jpg - 725–720 ปีก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์ที่ยี่สิบห้า[แก้]

ชาวนิวเบียได้บุกรุกอียิปต์ล่างและได้ครองบัลลังก์ของอียิปต์ภายใต้รัชสมัยของฟาโรห์ปิเย แม้ว่าพระองค์จะควบคุมเมืองธีบส์และอียิปต์บนในช่วงปีแรก ๆ ของการครองราชสมบัติของฟาโรห์ปิเย การพิชิตอียิปต์ของปิเยของอียิปต์ล่างได้สร้างราชวงศ์ยี่สิบห้า ซึ่งปกครองจนถึง 656 ปีก่อนคริสตกาล

ฟาโรห์เป็นชาวนิวเบีย เมืองหลวงอยู่ที่ ธีบส์ ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่ยี่สิบห้าแห่งอียิปต์

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
Stele Piye submission Mariette.jpg ยูเซอร์มาอัตเร
ปิเย
744–714 ปีก่อนคริสตกาล[45] กษัตริย์จากนูเบีย
Shabatka portrait, Aswan Nubian museum.jpg ดเจดคาเร
ชาบาทาคา
(เชบิตคู)
714–705 ปีก่อนคริสตกาล[45]
Shabaqa Sphinx Head 002.jpg เนเฟอร์คาเร
ชาบาคา
705–690 ปีก่อนคริสตกาล[45]
ราชวงศ์ที่ 25 เสื่อมอำนาจลงเกิดการก่อตั้งราชวงศ์ที่ 26 ในอียิปต์ตอนล่าง
El-Kurru King Taharqa XXV Dynasty.jpg เนเฟอร์เทมคูเร
ทาฮาร์คา
690–664 ปีก่อนคริสตกาล
Tanotamun portrait in Kerma Museum.jpg บาคาเร
ทานัตอามุน
(ทันทามานิ)
664–653 ปีก่อนคริสตกาล สูญเสียการควบคุมการปกครองในอียิปต์บน

ช่วงปลาย (ราว 664-332 ปีก่อนคริสตกาล)[แก้]

ช่วงปลาย ระยะเวลาประมาณ 664 ถึง 332 ปีก่อนคริสต์ศักราช และรวมถึงระยะเวลาของการปกครองโดยชาวอียิปต์พื้นเมืองและชาวเปอร์เซีย

ในที่สุดชาวนิวเบียก็ถูกขับกลับไปสู่ดินแดนนิวเบีย ซึ่งเป็นที่ตั้งของอาณาจักรที่นาปาตา ( ระหว่าง 656 - 590 ปีก่อนคริสตกาล) และต่อมาที่เมโรเอ (590 ปีก่อนคริสตกาล - ศตวรรษที่ 4)

ราชวงศ์ที่ยี่สิบหก[แก้]

ราชวงศ์ที่ยี่สิบหกปกครองระหว่าง 664 ถึง 525 ปีก่อนคริสต์ศักราช

เมืองหลวงอยู่ที่ ซาอิส ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่ยี่สิบหกแห่งอียิปต์

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
MenibraScarabKS2670.png เมนอิบเร? อิริอิบเร?
เทฟนัคต์ที่ 2
685–678 ปีก่อนคริสตกาล พระบิดาของฟาโรห์เนโชที่หนึ่ง
เนคาอูบา 678–672 ปีก่อนคริสตกาล การดำรงอยู่ของพระองค์ได้รับการสอบสวนแล้ว
Necho I Horus.png เมนเคปเปอร์เร
เนคาอูที่ 1
(เนโชที่ 1)
672–664 ปีก่อนคริสตกาล พระบิดาของฟาโรห์พซัมเตกที่หนึ่ง
ฟาโรห์พซัมเตกที่หนึ่ง รวบรวมอียิปต์และขับไล่ชาวนูเบียออกไปได้สำเร็จ
Bust from Statue of a King MET EGX.358.jpeg วาฮ์อิบเร
พซัมติกที่ 1
664–610 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์นาโคที่ 1 และเป็นพระบิดาของฟาโรห์นาโคที่ 2
Necho-KnellingStatue BrooklynMuseum.png เวเฮมอิบเร
เนคาอูที่ 2
(เนโชที่ 2)
610–595 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์พซัมเตกที่หนึ่ง และเป็นพระบิดาของฟาโรห์พซัมเตกที่สอง
Statue Psamtik II Louvre.jpg เนเฟอร์อิบเร
พซัมติกที่ 2
595–589 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์เนโคที่สอง และเป็นพระบิดาของฟาโรห์อพริส
Apries.jpg ฮาอาอิบเร
วาฮ์อิบเร
(อพริส)
589–570 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์พซัมเตกที่สอง
Farao Amasis.JPG คเนมอิบเร
อาโมส เนทซา
(อาโมสที่ 2)
570–526 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์เป็นฟาโรห์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคนสุดท้ายของอียิปต์ก่อนการพิชิตของเปอร์เซีย พระองค์เป็นพระบิดาของฟาโรห์พซัมเตกที่สาม
Head of Osiris-E 10706 (Louvre Museum).jpg อังค์คาเอนเร
พซัมติกที่ 3
526–525 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของฟาโรห์อาโมสที่สอง

ราชวงศ์ที่ยี่สิบเจ็ด[แก้]

อียิปต์ถูกยึดอำนาจโดยจักรวรรดิเปอร์เซียใน 525 ปีก่อนคริสตกาล และปกครองจนถึง 404 ปีก่อนคริสต์ศักราช ได้รับการยอมรับว่าเป็นฟาโรห์ในยุคนี้สร้างราชวงศ์ที่ยี่สิบเจ็ด

ฟาโรห์เป็นชาวเปอร์เซีย ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่ยี่สิบเจ็ดแห่งอียิปต์

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
Stela Cambyses Apis closeup.jpg โมสอุตเร
แคมไบดเจต
(แคมไบซีสที่ 2)
525–521 ปีก่อนคริสตกาล หลังจากการพ่ายแพ้ของฟาโรห์พซัมเตกที่สาม ทำให้อาณาจักรเปอร์เซียเข้ามายึดครองอียิปต์
Gaumata portrait on the Behistun inscription.jpg บาร์ดิยา
(สเมอร์ดิส)
522–521 ปีก่อนคริสตกาล พระราชโอรสของพระเจ้าไซรัสมหาราช
Ignota prov., pannello decorativo del re sehibra, xxiii dinastia, 823-716 ac..JPG เซเฮรูอิบเร
ปาดิบาสเตตที่ 3[46]
522 หรือ 521–520 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์ได้ก่อกบฎกับฝ่ายเปอร์เซียได้สำเร็จ และได้ขึ้นครองราชย์เป็นฟาโรห์ แต่ปกครองในระยะเวลาอันสั้นประมาณ 2 ปี
Darius the great. jpg.jpg เซเตตอูเร
ดาไรอัสที่ 1 มหาราช
521–486 ปีก่อนคริสตกาล -
อาโมส? เนบคาเอนเร?
พซัมติกที่ 4[46]
อาจจะศตวรรษที่ 480 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์เป็นผู้นำกลุ่มกบฎ และยังไม่ทราบระยะเวลาครองย์ที่แน่นอน
Xerxes Image.png เคชายาลุชา
(เซอร์ซีสที่ 1 มหาราช)
486–465 ปีก่อนคริสตกาล พระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์
อตาบาร์นุส
(ผู้สำเร็จราชการแทน)
465–464 ปีก่อนคริสตกาล
Artaxerxes I at Naqsh-e Rostam.jpg อรุทัคชาชาส
(อาตาเซอร์ซีสที่ 1)
464–424 ปีก่อนคริสตกาล -
เซอร์ซีสที่ 2 424–423 ปีก่อนคริสตกาล ผู้อ้างครองบัลลังค์
โซดีเอนุท 424–423 ปีก่อนคริสตกาล ผู้อ้างครองบัลลังค์
Darius II (reduced shadow).jpg ดาไรอัสที่ 2 424–404 ปีก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์ที่ยี่สิบแปด[แก้]

ราชวงศ์ที่ยี่สิบแปดปกครองเพียง 6 ปี ตั้งแต่ 404 ถึง 398 ปีก่อนคริสตกาลโดยมีฟาโรห์พระองค์เดียว เมืองหลวงอยู่ที่ซาอิส

ชาวเปอร์เซียถูกขับออกไป ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่ยี่สิบแปดแห่งอียิปต์

พระบรมรูป พระนาม รัชกาล หมายเหตุ
Amyrtaios aramaic papyrus Sachau.png เซเนนเซเทปอูนิ'พทาห์
อเมนอิร์ดิซู
(อไมร์เตอุส)
404–398 ปีก่อนคริสตกาล พระญาติของฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ยี่สิบหก ได้ทรงขับไล่ชาวเปอร์เชียออกไปจากอียิปต์

ราชวงศ์ที่ยี่สิบเก้า[แก้]

ราชวงศ์ยี่สิบเก้าปกครองระหว่าง 398 ถึง 380 ปีก่อนคริสต์ศักราช เมืองหลวงอยู่ที่ เมนเดส
ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่ยี่สิบเก้าแห่งอียิปต์

พระรูป พระนาม ความคิดเห็น รัชกาล
Louvre 032007 15.jpg บาเอนเร-เมอรี่เนเจรู เนฟอารุด/เนเฟอริเตสที่หนึ่ง พระองค์ทรงชิงราชบัลลังค์จากฟาโรห์อไมร์เตอุส โดยมีพระนามเดิมว่า บาเอนเร เนฟาอารุดที่ 1 399–393 ปีก่อนคริสตกาล
Statue Achoris Petrie 01.jpg คเนมมาอัตเร ฮาคอร์ (ครองราชย์ครั้งที่ 1) พระราชโอรสในฟาโรห์เนเฟอริเตสที่หนึ่ง 392–391 ปีก่อนคริสตกาล
Statue of 29th Dynasty King Psamuthis LACMA M.71.73.57.jpg ยูเซอร์เร-เซเตเพนพทาห์ พาทเฮอริเอนมุต/พซัมมูธิส ครองราชได้เพียงปีเดียวและอาจก่อรัฐหารจากฟาโรห์ฮาคอร์ 391 ปีก่อนคริสตกาล
Statue Achoris Petrie 01.jpg คเนมมาอัตเร ฮาคอร์ (ครองราชย์ครั้งที่ 2) ทรงยึดราชบัลลังก์คืนฟาโรห์พซัมมูธิส 390–379 ปีก่อนคริสตกาล
เนเฟอริเตสที่สอง พระองค์อาจจะถูกขับออกจากราชบัลลังก์และถูกปลงพระชนม์โดยฟาโรห์เนคทาเนโบที่หนึ่ง หลังจากการปกครองอียิปต์เพียง 4 เดือนเท่านั้น พระองค์เป็นพระราชโอรสในฟาโรห์ฮาคอร์ 379 ปีก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์ที่สามสิบ[แก้]

ราชวงศ์ที่สามสิบ ปกครองตั้งแต่ 380 ปีก่อนคริสตกาล จนกระทั่งอียิปต์อีกครั้งมาภายใต้การปกครองเปอร์เซียใน 343 ปีก่อนคริสตกาล

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สามสิบแห่งอียิปต์

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เคปเปอร์คาเร เนคห์เนเบฟ (เนคทาเนโบที่หนึ่ง) NectaneboI.jpg พระองค์เป็นผู้เนรเทศและน่าจะปลงพระชนม์ฟาโรห์เนเฟอริเตสที่สอง และเป็นผู้ก่อตั้งราชวงศ์อียิปต์ที่ปกครองโดยชาวอียิปต์เป็นราชวงศ์สุดท้าย พระองค์เป็นพระบิดาของฟาโรห์เจดฮอร์ 379–361 ปีก่อนคริสตกาล
ไอริมาอัตเอนเร เจดฮอร์ (ธีโอ) Fragment of a faience saucer inscribed with the name of King Teos (Djedhor). 30th Dynasty. From the Palace of Apries at Memphis, Egypt. The Petrie Museum of Egyptian Archaeology, London.jpg พระองค์ถูกปลงพระชนม์โดยฟาโรห์ฟาโรห์เนคทาเนโบที่สอง 361–359 ปีก่อนคริสตกาล
เซเนดเจมอิบเร นัคห์ฮอร์เฮบิต (เนคทาเนโบที่สอง) Head of Nectanebo II-MBA Lyon H1701-IMG 0204.jpg ฟาโรห์ชาวอียิปต์พระองค์สุดท้ายที่ปกครองอียิปต์[47] 359–342 ปีก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์ที่สามสิบเอ็ด[แก้]

อียิปต์ได้ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของเปอร์เซียอีกครั้ง ผู้ปกครองชาวเปอร์เซียปกครองระหว่าง 343 ถึง 332 ปีก่อนคริสตกาล ได้รับการแต่งตั้งเป็นครั้งคราวเป็นราชวงศ์สามสิบเอ็ด:

ฟาโรห์เป็นชาวเปอร์เซีย ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ที่สามสิบเอ็ดแห่งอียิปต์

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
อาตาเซอร์ซีสที่สาม Artaxerxes III of Persia.jpg อียิปต์ตกอยู่ในการปกครองของชาวเปอร์เซียอีกครั้ง 343-338 ปีก่อนคริสตกาล
อาตาเซอร์ซีสที่สี่ ปกครองเฉพาะในอียิปต์ล่าง 338-336 ปีก่อนคริสตกาล
คาบาบาช Stela Nastasen Kambasuten Lepsius.jpg 338-335 ปีก่อนคริสตกาล
ดาริอุสที่สาม Darius III of Persia.jpg อียิปต์ตอนบนกลับไปในการควบคุมของเปอร์เซียใน 335 ปีก่อนคริสต์ศักราช 336-332 ปีก่อนคริสตกาล

ช่วงเฮลเลนิสติก (ราว 332 - 30 ปีก่อนคริสตกาล)[แก้]

ราชวงศ์อาร์กีด ราว 332-309 ปีก่อนคริสตกาล[แก้]

ชาวมาซิโดเนียภายใต้การนำของอเล็กซานเดอร์มหาราชเข้าสู่ยุคแห่งเฮลเลนิสติกด้วยการพิชิตเปอร์เซียและอียิปต์ ราชวงศ์อาร์กีดปกครองจาก 332 ถึง 309 ปีก่อนคริสตกาล

ดูบทความหลักใน ราชวงศ์อาร์กีด

รูปภาพ พระนาม ความคิดเห็น รัชกาล
Alexander III of Macedon.jpg เซเตเพนเร-เมริอามุน อเล็กซานเดอร์ที่ 3 ใน 331 ปีคริสตกาล พระเจ้าอเล็กชานเดอร์มหาราชได้ตราทัพไปพิชิตเปอร์เชีย 332-323 ปีก่อนคริสตกาล
Théodule Devéria (French) - (Close-up of a Sculpture (Profile of a Head), Karnak) - Google Art Project.jpg ฟิลิปที่ 3 แห่งมาซิโดเนีย พระอนุชาของพระเจ้าอเล็กชานเดอร์มหาราช 323-317 ปีก่อนคริสตกาล
Alexandros IV Aigos Budge.png ฮาอาอิบเร อเล็กซานเดอร์ที่ 4 พระราชโอรสของพระเจ้าอเล็กชานเดอร์มหาราชกับพระนางโรซานา 317-309 ปีก่อนคริสตกาล

ราชวงศ์ทอเลมี ราว 305-30 ปีก่อนคริสตกาล[แก้]

ราชวงศ์เฮลเลนิสติกที่สองคือราชวงศ์ทอเลมี ปกครองอียิปต์ตั้งแต่ 305 ปีก่อนคริสต์ศักราช จนกระทั่งอียิปต์กลายเป็นมณฑลแห่งกรุงโรมใน 30 ปีก่อนคริสต์ศักราช (เมื่อใดก็ตามที่มีการทับซ้อนกันสองวันนั่นหมายความว่ามีผู้ร่วมการเลือกตั้ง) สมาชิกที่มีชื่อเสียงที่สุดของราชวงศ์นี้คือคลีโอพัตราที่ 7 ซึ่งปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันในชื่อคลีโอพัตราซึ่งเป็นกลุ่มของจูเลียส ซีซาร์ และหลังจากการเสียชีวิตของซีซาร์ คลีโอพัตราก็สมรสกับมาร์ค แอนโทนี และมีลูกด้วยกันสองคน คลีโอพัตราพยายามสร้างราชวงศ์และสหภาพทางการเมืองระหว่างอียิปต์กับกรุงโรม แต่การลอบสังหารซีซาร์และความพ่ายแพ้ของมาร์ค แอนโทนี ทำให้แผนการของพระองค์ล้มเหลว ทำให้ทอเลมีที่ 15 เป็นกษัตริย์องค์สุดท้ายของราชวงศ์ทอเลมี ในอียิปต์พระองค์ทรงปกครองร่วมกับพระมารดาของพระองค์ ตั้งแต่วันที่ 2 กันยายน 47 พระองค์เป็นพระราชโอรสคนโตของคลีโอพัตราที่ 7 และอาจเป็นบุตรชายคนเดียวของจูเลียส ซีซาร์หลังจากที่เขาได้รับการตั้งชื่อ และพระนางคลีโอพัตราได้ทรงทำอัตวิบากกรรม (ฆ่าตัวตาย) เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 30 ปีก่อนคริสตกาล เพราะพระนางไม่ต้องการถูกจับตามคำสั่งของอ็อกตาเวียน ผู้ซึ่งจะเป็นจักรพรรดิแห่งจักรพรรดิออกัสตัส แต่ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์

เมืองหลวงอยู่ที่ อเล็กซานเดรีย ดูบทความหลักใน ราชวงศ์ทอเลมี

พระนาม รูปภาพ ความคิดเห็น รัชกาล
เซเตเปนเร-เมอรี่อามุน

ทอเลมีที่ 1 โซเตอร์

Ptolemy I Soter Louvre Ma849.jpg สละราชบัลลังก์ใน 285 ปีก่อนคริสตกาล และสิ้นพระชนม์ใน 283 ปีก่อนคริสตกาล 305–285 ปีก่อนคริสตกาล
เบเรนิซที่ 1 Berenice I.jpg พระมเหสีของทอเลมีที่ 1 ?–285 ปีก่อนคริสตกาล
ยูเซอร์คาเร-เมอรี่อามุน

ทอเลมีที่ 2 ฟิลาเดลฟ์ มหาราช

Egyptian - Head of Ptolemy II - Walters 22109.jpg - 288–246 ปีก่อนคริสตกาล
อาร์ซิโนเอที่ 1 Arsinoe II Dekadrachme.jpg พระมเหสีของฟาโรห์ทอเลมีที่ 2 284 หรือ 281–274 ปีก่อนคริสตกาล
อาร์ซิโนเอที่ 2 Oktadrachmon Ptolemaios II Arsinoe II.jpg พระมเหสีของฟาโรห์ทอเลมีที่ 2 277–270 ปีก่อนคริสตกาล
ไอวาเอนเซนวิเนตจ์เออร์วี-เซเตเปนเร-เซเคมอังค์เอนอามุน

ทอเลมี อังค์ดเจต เมอรี่พทาห์/ทอเลมีที่ 3 ยูเออร์เกดตีส

Ptolemy III Euergetes.jpg - 246–222 ปีก่อนคริสตกาล
เบเรนิซที่ 2 BerenikeIIOnACoinOfPtolemyIII.jpg พระมเหสีของฟาโรห์ทอเลมีที่ 3 และถูกลอบปลงพระชนม์ 244 หรือ 243–222 ปีก่อนคริสตกาล
ไอวาเอนเนตเจอร์วีเมเมควี-เซเตเปนพทาห์-ยูเซอร์คาเร-เซเคมอังค์อามุน

ทอเลมีอังค์ดเจต เมอรี่อเซท/ ทอเลมีที่ 4 ฟิโลพาเตอร์

Octadrachm Ptolemy IV BM CMBMC33.jpg - 222–204 ปีก่อนคริสตกาล
อาร์ซิโนเอที่ 3 Oktadrachmon Berenike II.jpg พระมเหสีของฟาโรห์ทอเลมีที่ 4 และถูกลอบปลงพระชนม์ 220–204 ปีก่อนคริสตกาล
ฮูโกรนาเฟอร์ 205–199 ปีก่อนคริสตกาล
อังค์มาคิส 199–185 ปีก่อนคริสตกาล
ไอวาเอนเนตเจอร์วีเมอร์ (วี) อิท-เซเตเปนพทาห์-ยูเซอร์คาเร-เซเคมอังค์อามุน

ทอเลมี อังค์ดเจต เมอรี่พทาห์/ทอเลมีที่ 5 เอพิฟาเนส

Tetradrachm Ptolemy V.jpg เกิดการประท้วงในบริเวณอียิปต์เหนือใน 207–186 ปีก่อนคริสตกาล 204–180 ปีก่อนคริสตกาล
คลีโอพัตราที่ 1 ไซรา Cleopatra I El Kab.jpg พระมเหสีของฟาโรห์ทอเลมีที่ 5 และได้สำเร็จราขการร่วมกันกับฟาโรห์ทอเลมีที่ 6 ซึ่งเป็นพระราชโอรสของพระองค์ 193–176 ปีก่อนคริสตกาล
ไอวาเอนเนตเจอร์วีเปรู-เซเตพทาห์เคเปริ

ทอเลมี อังค์ดเจตเมอรี่พทาห์/ ทอเลมีที่ 6 ฟิโลเมเตอร์

Ring with engraved portrait of Ptolemy VI Philometor (3rd–2nd century BCE) - 2009.jpg สิ้นพระชนม์เมื่อ 145 ปีก่อนคริสตกาล 180–164 ปีก่อนคริสตกาล
คลีโอพัตราที่ 2 พระมเหสีของฟาโรห์ทอเลมีที่ 6 175–164 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 8 เออร์เกเทสที่ 2 Ptolemy VIII - silver didrachma - líc.jpg ปกครองอียิปต์ร่วมกันกับฟาโรห์ทอเลมีที่ 6 และพระนางคลีโอพัตราที่ 2 ระหว่าง 169-164 ปีก่อนคริสตกาล และสิ้นพระชนม์เมื่อ 116 ปีก่อนคริสตกาล 171–163 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 6 ฟิโลเมเตอร์ Ring with engraved portrait of Ptolemy VI Philometor (3rd–2nd century BCE) - 2009.jpg พระองค์ได้ปกครองอียิปต์ต่อจากฟาโรห์ทอเลมีที่ 8 เมื่อ 163 ปีก่อนคริสตกาล 163–145 ปีก่อนคริสตกาล
คลีโอพัตราที่ 2 Lagid queen Isis Ma3546.jpg ทรงอภิเษกสมรสกับฟาโรห์ทอเลมีที่ 6 และได้ขับให้ฟาโรห์ทอเลมีที่ 6 ออกจากราชบัลลังก์ แล้วก็ขึ้นครองราชย์แต่เพียงผู้เดียว 163–127 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 7 เนโอ ฟิโลพาเตอร์ แต่ก่อนปกครองร่วมกับพระบิดาของพระองค์ ภายหลังพระนางคลีโอพัตราที่สองก็ขึ้นมามีอำนาจ 145–144 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 8 เออร์เกเทสที่ 2 Ptolemy VIII - silver didrachma - líc.jpg ครองราชย์อีกครั้ง 145–131 ปีก่อนคริสตกาล
คลีโอพัตราที่ 3 Cleopatra II and III Kom Ombo Temple.jpg พระมเหสีพระองค์ที่สองของฟาโรห์ทอเลมีที่ 8 และถูกลอบปลงพระชนม์โดยพระราชโอรสของพระองค์คือ ฟาโรห์ทอเลมีที่ 10 142–131 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมี เมมฟิสทิส เป็นฟาโรห์หุ่นเชิดโดยพระนางคลีโอพัตราที่ 2 ต่อมาได้ถูกสังหารโดยฟาโรห์ทอเลมีที่ 8 131 ปีก่อนคริสตกาล
ฮาร์ซิเอซิ 131–130 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 8 เออร์เกเทสที่ 2 Ptolemy VIII - silver didrachma - líc.jpg ขึ้นครองราชย์อีกครั้ง 127–116 ปีก่อนคริสตกาล
คลีโอพัตราที่ 3 Cleopatra II and III Kom Ombo Temple.jpg ปกครองร่วมกันกับฟาโรห์ทอเลมีที่ 8 ภายหลังได้สำเร็จราชการร่วมกันกับฟาโรห์ทอเลมีที่ 9 และ 10 127–107 ปีก่อนคริสตกาล
คลีโอพัตราที่ 2 Lagid queen Isis Ma3546.jpg ปกครองร่วมกันกับฟาโรห์ทอเลมีที่ 8 124–116 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 9 โซเตอร์ที่ 2 Edfu29.JPG สิ้นพระชนม์เมื่อ 80 ปีก่อนคริสตกาล 116–110 ปีก่อนคริสตกาล
คลีโอพัตราที่ 4 ถูกลอบปลงพระชนม์ ทรงอภิเษกสมรสกับฟาโรห์ทอเลมีที่ 9 แต่ถูกปลดจากตำปหน่งโดยพระนางคลีโอพัตราที่ 3 116–115 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 10 อเล็กซานเดอร์ที่ 1 Ptolemy X Alexander I Louvre Ma970.jpg สิ้นพระชนม์เมื่อ 88 ปีก่อนคริสตกาล 110–109 ปีก่อนคริสตกาล
เบเรนิซที่ 3 ถูกบังคับให้อภิเษกสมรสกับฟาโรห์ทอเลมีที่ 11 และถูกลอบปลงพระชนม์ใน 19 วันต่อมา 81–80 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 11 อเล็กซานเดอร์ที่ 2 พระราชโอรสของฟาโรห์ทอเลมีที่ 10 ปกครองอียิปต์แค่ 80 วัน 80 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 12 เนโอ ดีโอนีซอส PtolSmash 212.jpg พระราชโอรสของฟาโรหืทอเลมีที่ 9 สิ้นพระชนม์เมื่อ 51 ปีก่อนคริสตกาล 80–58 ปีก่อนคริสตกาล
คลีโอพัตราที่ 5 ไทรฟาเอนา พระมเหสีของฟาโรห์ทอเลมีที่ 12 และเป็นพระมารดาของพระนางเบเรนิซที่ 4 79–68 ปีก่อนคริสตกาล
คลีโอพัตราที่ 6 พระราชธิดาของฟาโรห์ทอเลมีที่ 12 58–57 ปีก่อนคริสตกาล
เบเรนิซที่ 4 พระราชธิดาของฟาโรห์ทอเลมีที่ 12 และปกครองร่วมกันกับพระนางคลีโอพัตราที่ 6 58–55 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 12 เนโอ ดีโอนีซอส PtolSmash 212.jpg ครองราชย์อีกครั้งร่วมกับพระนางคลีโอพัตราที่ 7 55–51 ปีก่อนคริสตกาล
คลีโอพัตราที่ 7 Kleopatra-VII.-Altes-Museum-Berlin1.jpg พระองค์ปกครองร่วมกับทอเลมีที่ 12, ทอเลมีที่ 13, ทอเลมีที่ 14, และทอเลมีที่ 15 51–30 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 13 น้องชายของพระนางคลีโอพัตราที่ 7 51–47 ปีก่อนคริสตกาล
อาร์ซิโนเอที่ 4 48–47 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 14 Ptolemy XIV.jpg น้องชายของพระนางคลีโอพัตราที่ 7 และทอเลมีที่ 13 47–44 ปีก่อนคริสตกาล
ทอเลมีที่ 15 ซีซาเรียน Denderah3 Cleopatra Cesarion.jpg พระราชโอรสของพระนางคลีโอพัตราที่ 7 เป็นฟาโรห์พระองค์สุดท้ายของอียิปต์ก่อนที่จะถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของโรมัน 44–30 ปีก่อนคริสตกาล

ยุคโรมัน[แก้]

คลีโอพัตราที่ 7 กับเผด็จการแห่งโรมันจูเลียส ซีซาร์และนายพลโรมันมาร์ค แอนโทนีได้ร่วมมือในการปกครองอียิปต์ แต่หลังจากนั้นไม่นานจนกระทั่งการฆ่าตัวตาย (หลังจากที่มาร์ค แอนโทนีแพ้อ็อกตาเวียน ซึ่งต่อมาคือจักรพรรดิออกัสตัส) อียิปต์กลายเป็นมณฑลแห่งกรุงโรมในปี 30 ปีก่อนคริสตกาล ต่อมาจักรพรรดิได้รับชื่อของฟาโรห์แม้ว่าเฉพาะในขณะที่ในอียิปต์ รายชื่อกษัตริย์อียิปต์พระองค์หนึ่งระบุว่าจักรพรรดิโรมันเป็นฟาโรห์ขึ้นและรวมถึงจักรพรรดิเดซิอุส ดูรายพระนามจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Clayton 1995, p. 217. "Although paying lip-service to the old ideas and religion, in varying degrees, pharaonic Egypt had in effect died with the last native pharaoh, Nectanebo II in 343 BC"
  2. 2.0 2.1 von Beckerath, Jürgen (1999). Handbuch der ägyptischen Königsnamen. Verlag Philipp von Zabern. pp. 266–267. ISBN 978-3422008328.
  3. Toby A. H. Wilkinson: Royal Annals Of Ancient Egypt. Routledge, London 2012, ISBN 1-136-60247-X, p. 50.
  4. Toby A. H. Wilkinson: Royal Annals Of Ancient Egypt. Routledge, London 2012, ISBN 1-136-60247-X, p. 61.
  5. zur Altägyptischen Kultur, Band 37
  6. Ludwig David Morenz: Bild-Buchstaben und symbolische Zeichen. Die Herausbildung der Schrift der hohen Kultur Altägyptens (= Orbis Biblicus et Orientalis 205). Fribourg 2004, ISBN 3-7278-1486-1, p. 91.
  7. "Aufstand gegen den Tod". Der Spiegel. 24 December 1995.
  8. http://www.nefershapiland.de/pharaonenliste%201.htm[URL เปล่า]
  9. 9.0 9.1 Barry Kemp (a1), Andrew Boyce and James Harrell, The Colossi from the Early Shrine at Coptos in Egypt, in: Cambridge Archaeological Journal Volume 10, Issue 2April 2000, 233
  10. Dodson & Hilton (2004) p.73
  11. Gustave Jéquier, Maṣlaḥat al-Āthār (1993) : Les pyramides des reines Neit et Apouit (in French), Cairo: Institut français d'archéologie orientale, OCLC 195690029, see plate 5.
  12. Percy Newberry (1943) : Queen Nitocris of the Sixth Dynasty, in: The Journal of Egyptian Archeology, vol. 29, pp=51-54
  13. Gae Callender: Queen Neit-ikrety/Nitokris, in: Miroslav Barta, Filip Coppens, Jaromic Krecji (editors) : Abusir and Saqqara in the year 2010/1, Prague: Czech Institute of Egyptology, Faculty of Arts, Charles University, 2011, ISBN 978-80-7308-384-7, see pp. 249-250
  14. Turin Kinglist, Columns IV,18 to V,10, Ancient Egypt dot org. Accessed 10 February 2010.
  15. Turin Kinglist, Columns IV,18 to V,10, Ancient Egypt dot org. Accessed 10 February 2010.
  16. Labib Habachi: King Nebhepetre Menthuhotep: his monuments, place in history, deification and unusual representations in form of gods, in: Annales du Service des Antiquités de l'Égypte 19 (1963), pp. 16–52
  17. Wolfram Grajetzki (2006) pp. 23–25
  18. Wolfram Grajetzki (2006) pp. 25–26
  19. 19.0 19.1 19.2 Wolfram Grajetzki (2006) pp. 27–28
  20. [1] Amenemhat I
  21. Wolfram Grajetzki (2006) pp. 28–35
  22. Murnane (1977) p.2
  23. Murnane (1977) p.7
  24. Murnane (1977) p.9
  25. Josef Wegner, The Nature and Chronology of the Senwosret III-Amenemhat III Regnal Succession: Some Considerations based on new evidence from the Mortuary Temple of Senwosret III at Abydos, JNES 55, Vol.4, (1996), pp.251
  26. Wolfram Grajetzki (2006) pp. 56–61
  27. "Amenemhat IV Maakherure (1807/06-1798/97 ก่อนคริสต์ศักราชE)". Digital Egypt for Universities.
  28. Grajetzki (2006) pp. 61–63
  29. 29.00 29.01 29.02 29.03 29.04 29.05 29.06 29.07 29.08 29.09 29.10 29.11 29.12 29.13 29.14 29.15 29.16 29.17 29.18 29.19 29.20 29.21 29.22 29.23 29.24 29.25 29.26 29.27 29.28 29.29 29.30 29.31 29.32 29.33 29.34 29.35 29.36 29.37 K.S.B. Ryholt, The Political Situation in Egypt during the Second Intermediate Period, c.1800–1550 ก่อนคริสต์ศักราช, Carsten Niebuhr Institute Publications, vol. 20. Copenhagen: Museum Tusculanum Press, 1997
  30. 30.0 30.1 Thomas Schneider: Lexikon der Pharaonen, Albatros, Düsseldorf 2002, ISBN 3-491-96053-3
  31. Thomas Schneider: Lexikon der Pharaonen, Albatros, 2002
  32. 32.0 32.1 32.2 32.3 32.4 32.5 32.6 32.7 32.8 K.S.B. Ryholt: The Political Situation in Egypt during the Second Intermediate Period, c.1800–1550 ก่อนคริสต์ศักราช, Carsten Niebuhr Institute Publications, vol. 20. Copenhagen: Museum Tusculanum Press, 1997
  33. 33.0 33.1 Kings of the 2nd Intermediate Period
  34. 34.0 34.1 Marcel Marée: A sculpture workshop at Abydos from the late Sixteenth or early Seventeenth Dynasty, in: Marcel Marée (editor) : The Second Intermediate period (Thirteenth-Seventeenth Dynasties), Current Research, Future Prospects, Leuven, Paris, Walpole, MA. 2010 ISBN 978-90-429-2228-0. p. 247, 268
  35. Jürgen von Beckerath: Untersuchungen zur politischen Geschichte der Zweiten Zwischenzeit in Ägypten, Glückstadt, 1964
  36. 36.0 36.1 36.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ beckerath1997
  37. Jürgen von Beckerath: Handbuch der ägyptischen Königsnamen, Münchner ägyptologische Studien 49, Mainz 1999.
  38. Christopher Bronk Ramsey et al., Radiocarbon-Based Chronology for Dynastic Egypt, Science 18 June 2010: Vol. 328. no. 5985, pp. 1554–1557.
  39. "King Merenptah". Digital Egypt. University College London. 2001. สืบค้นเมื่อ 2007-09-29.
  40. "Sety II". Digital Egypt. University College London. 2001. สืบค้นเมื่อ 2007-10-27.
  41. "Siptah Sekhaenre/Akhenre". Digital Egypt. University College London. 2001. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2007-10-27.
  42. Grimal (1992) p.291
  43. "Ramesses XI Menmaatre-setpenptah". สืบค้นเมื่อ 2007-10-28.
  44. Cerny p.645
  45. 45.0 45.1 45.2 F. Payraudeau, Retour sur la succession Shabaqo-Shabataqo, Nehet 1, 2014, p. 115-127
  46. 46.0 46.1 Placed in this dynasty only for chronological reasons, as he was not related to the Achaemenids.
  47. "Nakhthorhebyt". Digital Egypt for Universities. สืบค้นเมื่อ March 1, 2011.