ลูกิอุส มุสซิอุส ไอมิลิอานุส
หน้าตา
ลูกิอุส มุสซิอุส ไอมิลิอานุส | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ผู้แย่งชิงตำแหน่งจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมัน | |||||||||
ไอมิลิอานุสจาก "Promptuarii Iconum Insigniorum " | |||||||||
ครองราชย์ | ค.ศ. 260 หรือ ค.ศ. 260 - ค.ศ. 261 | ||||||||
ก่อนหน้า | กัลลิเอนุส | ||||||||
ถัดไป | กัลลิเอนุส | ||||||||
สวรรคต | ค.ศ. 261 หรือ ค.ศ. 262 | ||||||||
| |||||||||
พระราชบิดา | ชาวอิตาลี |
ลูกิอุส มุสซิอุส ไอมิลิอานุส (เสียชีวิตในปี ค.ศ. 261 หรือ ค.ศ. 262) ซึ่งดำรงตำแหน่งทางทหารและพลเรือนหลายตำแหน่งในช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่สาม และเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในฐานะผู้แย่งชิงตำแหน่งจักรพรรดิแห่งโรมันในรัชสมัยของจักรพรรดิกัลลิเอนุส
การแย่งชิงตำแหน่งจักรพรรดิ
[แก้]มุสซิอุส ไอมิลิอานุสได้สนับสนุนการกบฏของกลุ่มมากริอานิต่อจักรพรรดิกัลลิเอนุส (ค.ศ. 260 - ค.ศ. 261) และเมื่อกลุ่มมากริอานิพ่ายแพ้ มุสซิอุส ไอมิลิอานุสก็ประกาศตนเป็นจักรพรรดิ[1]
จักรพรรดิกัลลิเอนุสได้ส่งนายพลออเรลิอุส ธีโอโดตุสไปยังอียิปต์เพื่อจัดการกับไอมิลิอานุส หลังจากการต่อสู้ไม่นานไอมิลิอานุสก็พ่ายแพ้ (ก่อนวันที่ 30 มีนาคม ค.ศ. 262) โดยถูกจับและถูกรัดคอในคุกในเวลาต่อมา ต่อมาเมมอร์ ซึ่งเป็นไปได้ที่จะเป็นผู้สนับสนุนแช่งชิงก็ถูกประหารชีวิต
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Clifford Ando (2012). Imperial Rome AD 193 to 284: The Critical Century. Edinburgh University Press. pp. 169ff. ISBN 978-0-7486-2050-0.