ชาห์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สมเด็จพระเจ้าชาห์แห่งอิหร่าน หรือที่มักเรียกว่าพระเจ้าชาห์ เป็นตำแหน่งที่ปกครองราชวงศ์ซาฟาวิดจนถึงราชวงศ์ปาห์ลาวี โดยระบอบจักรวรรดินับตั้งแต่ ค.ศ. 1501 - ค.ศ. 1979 พระมหากษัตริย์พระองค์สุดท้ายคือ พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี โดยนับตั้งแต่การปฏิวัติอิสลามอิหร่านมีพระจักรพรรดิเป็นเชื้อพระวงศ์ในราชวงศ์กอญัร และ ราชวงศ์ปาห์ลาวี ที่สืบราชสกุล และ อ้างสิทธิในราชบัลลังก์

ราชวงศ์ซาฟาวิยะห์[แก้]

ราชวงศ์อาฟชาริยะห์[แก้]

ราชวงศ์แซนด์[แก้]

การปฏิวัติรัฐธรรมนูญอิหร่าน[แก้]

ราชวงศ์กอญัร[แก้]

ดูบทความหลักที่: ราชวงศ์กอญัร
พระปรมาภิไธย พระบรมรูป พระอิสริยยศ ช่วงพระชนม์ชีพ เริ่มการครองราชย์ สิ้นสุดการครองราชย์
1 พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด ข่าน กอญัร Agha Mohammad Khan Qajar, painting, ca. 1840.jpg ชาฮันชาห์ 1742–1797 1789 17 มิถุนายน 1797
2 พระเจ้าชาห์ ฟาตห์ แอลี ชาห์ กอญัร ชาฮันชาห์ 1772–1834 17 มิถุนายน 1797 23 ตุลาคม 1834
3 พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด ชาห์ กอญัร Mohammadshah (01).jpg ชาห์ 1808–1848 23 ตุลาคม 1834 5 กันยายน 1848
4 พระเจ้าชาห์ นัสเซอร์ อัลดิน ชาห์ กอญัร Nāser al-Dīn Schah.jpg ชาฮันชาห์ 1831–1896 5 กันยายน 1848 1 พฤษภาคม 1896
5 พระเจ้าชาห์ โมซัฟฟาร์ อัลดิน ชาห์ กอญัร Mozaffar-ed-Din Shah Qajar - 1.jpg ชาฮันชาห์ และ สุลต่าน 1853–1907 1 พฤษภาคม 1896 3 มกราคม 1907
6 พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด แอลี ชาห์ กอญัร Mohammad Ali Shah.jpg ชาฮันชาห์ 1872–1925 3 มกราคม 1907 16 กรกฎาคม 1909
7 พระเจ้าชาห์ อะห์หมัด ชาห์ กอญัร AhmadShahQajar2.jpg สุลต่าน 1898–1930 16 กรกฎาคม 1909 15 ธันวาคม 1925

ราชวงศ์ปาห์ลาวี[แก้]

ดูบทความหลักที่: ราชวงศ์ปาห์ลาวี
พระปรมาภิไธย พระฉายาลักษณ์ ความสัมพันธ์ ดำรงพระชนม์ชีพ เสด็จขึ้นครองราชย์ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง หมายเหตุ
สมเด็จพระจักรพรรดิ
1 พระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี Reza Pahlavi I พระราชโอรสของอับบาส อาลี ค.ศ. 1878–1944 15 ธันวาคม ค.ศ. 1925 16 กันยายน ค.ศ. 1941 ผู้ก่อตั้งราชวงศ์ปาห์ลาวี
2 พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี Mohammad Reza Pahlavi พระราชโอรสของพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ค.ศ. 1919–1980 16 กันยายน ค.ศ. 1941 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979 สิ้นสุดการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในประเทศอิหร่าน
สมัยเปลี่ยนผ่าน
1 พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี Mohammad Reza Pahlavi พระราชโอรสของพระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี ค.ศ. 1919–1980 11 กุมภาพันธ์ 1979 27 กรกฎาคม ค.ศ.1980
2 จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี Farah Pahlavi พระอัครมเหสี ค.ศ. 1938– 27 กรกฎาคม 1980 27 กรกฎาคม 1981
3 เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน Reza Pahlavi II พระราชโอรสของพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี 1960– 27 กรกฎาคม 1981 ปัจจุบัน

พระบรมราชินี[แก้]

พระปรมาภิไธย เสด็จขึ้นครองราชย์ สิ้นสุดการดำรงตำแหน่ง พระราชสวามี
Tadj ol-Molouk.jpg สมเด็จพระราชินีตาจ อัล-โมลูก
ค.ศ. 1925
ค.ศ. 1941
พระราชสวามีสละราชสมบัติ
พระเจ้าชาห์ เรซา ปาห์ลาวี
Princess Fawzia bint Fuad of Egypt.jpg เจ้าหญิงเฟาซียะห์
16 กันยายน ค.ศ. 1941
17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1948
ทรงหย่า
พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี
Soraya Esfandiary Bakhtiari blkwht.jpg เจ้าหญิงโซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี
12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1951
6 เมษายน ค.ศ. 1956
ทรงหย่า
พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี
Shahbanu of Iran.jpg จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี
21 ธันวาคม ค.ศ. 1959
11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979
พระราชสวามีสละราชสมบัติ
พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์[แก้]

ราชวงศ์กอญัร[แก้]

ราชวงศ์ปาห์ลาวี[แก้]

พระปรมาภิไธย เริ่มการอ้างสิทธิ สิ้นสุดการอ้างสิทธิ หมายเหตุ
Mohammad Reza Pahlavi.png พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี
11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979
27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980
ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ชาห์แห่งอิหร่าน
Shahbanu of Iran.jpg จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี
27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980
27 กรกฎาคม ค.ศ. 1982
ผู้อ้างสิทธิตำแหน่งจักรพรรดินีนาถผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์
Reza Pahlavi Crown Prince of Iran 1973.jpg มกุฎราชกุมารเรซา ปาห์ลาวี
27 กรกฎาคม ค.ศ. 1982
ปัจจุบัน
ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์อิหร่านองค์ปัจจุบัน

ผู้อ้างสิทธิในตำแหน่งจักรพรรดินี[แก้]

พระปรมาภิไธย เริ่มการอ้างสิทธิ สิ้นสุดการอ้างสิทธิ์ คู่สมรส
Shahbanu of Iran.jpg จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี
11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1979
27 กรกฎาคม ค.ศ. 1980
พระราชสวามีสวรรคต
พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี
Yasmine Pahlavi.jpg เจ้าหญิงยัสมิน ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารี
12 มิถุนายน ค.ศ. 1986
ปัจจุบัน เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมาร

ฐานันดรศักดิ์[แก้]

พระราชวงศ์ปาห์ลาวี ใน ค.ศ. 1967

ฐานันดรศักดิ์หรือคำนำหน้าพระนามของพระราชวงศ์ปาห์ลาวี ได้แก่

อย่างไรก็ตามหากเจ้าหญิงในพระราชวงศ์ได้เสกสมรสกับชาวต่างชาติ ในกรณีของเจ้าหญิงฟาติเมห์ ปาห์ลาวี พระขนิษฐาต่างพระมารดาในพระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี ได้เสกสมรสกับนักธุรกิจชาวอเมริกันเป็นสวามี พระโอรส-ธิดาที่ประสูติออกมา จะไม่มีคำนำหน้าพระนาม โดยใช้ราชสกุลปาห์ลาวีและตามด้วยนามสกุลของบิดา เป็น Pahlavi Hillyer

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]