แทนิส

พิกัด: 30°58′37″N 31°52′48″E / 30.97694°N 31.88000°E / 30.97694; 31.88000
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แทนิส

ศอนุลฮะญัร
ซากแทนิสในปัจจุบัน
ซากแทนิสในปัจจุบัน
แทนิสตั้งอยู่ในประเทศอียิปต์
แทนิส
แทนิส
พิกัด: 30°58′37″N 31°52′48″E / 30.97694°N 31.88000°E / 30.97694; 31.88000
ประเทศ อียิปต์
เขตผู้ว่าการอัชชัรกียะฮ์
แผนที่อียิปต์ล่างแสดงที่ตั้งแทนิส

แทนิส (กรีกโบราณ: Τάνις หรือ Τανέως, /ˈtnɪs/ tay-niss[1][2][3]) หรือ ศอนุลฮะญัร (อาหรับ: صان الحجر, อักษรโรมัน: Ṣān al-Ḥaǧar; อียิปต์โบราณ: ḏꜥn.t, [ˈcʼuʕnat];[4] แอกแคด: URUṣa-aʾ-nu;[5] คอปติก: ϫⲁⲛⲓ หรือ ϫⲁⲁⲛⲉ หรือ ϫⲁⲛⲏ[6][7]) เป็นเมืองโบราณในทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของลุ่มแม่น้ำไนล์ของอียิปต์ มันตั้งอยู่บนดอนปากแม่น้ำของแม่น้ำไนล์

ประวัติ[แก้]

I10
D36
N35
X1 O49
หรือ
I10
D36
N35
X1 Z1
mw
N36
N21
X1
ดจาเนต (ḏꜥn(t))[6][8]
ไฮเออโรกลีฟอียิปต์

แทนิสเป็นเมืองในอียิปต์โบราณและทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางทางศาสนาแบบขนานกับธีบส์ ในช่วงระยะเวลาขั้นกลางที่สาม เป็นสมัยก่อนสมัยราชวงศ์ที่สิบเก้า แทนิสเป็นเมืองหลวงของอียิปต์ล่าง[9] แต่ในช่วงปลายราชอาณาจักรใหม่ เมืองแทนิสได้เสื่อมอำนาจลงและเมืองเพีย-ราเมส (Pi-Ramesses) ขึ้นมาเจริญแทนที่ ทำให้บริเวณดอนปากแม่น้ำไนล์ถูกทิ้งจนรกร้าง เนื่องจากท่าเรือมีปัญหาในการเทียบท่าเรือได้ลำบาก[9]

ในช่วงระยะเวลาขั้นกลางที่สาม เมืองแทนิสได้เป็นเมืองหลวงของฟาโรห์จากราชวงศ์ที่ยี่สิบเอ็ด และราชวงศ์ที่ยี่สิบสอง[9] ฟาโรห์เหล่านี้เห็นตัวเองว่าเป็นผู้สืบทอดสิทธิตามกฎหมายบนบัลลังก์ของสังคมของอียิปต์บนและล่าง พวกเขาใช้ชื่อดั้งเดิมและแสดงเจตจำนงในงานก่อสร้างแม้ว่าจะไม่มีสำคัญเมื่อเทียบกับสมัยราชอาณาจักรใหม่[10]

ในเวลาต่อมา เมืองแทนิสได้สูญหายสถานะของเมืองหลวงของอียิปต์โบราณ แต่มันยังคงเป็นประชากรอยู่อาศัยจนกว่าจะถูกทอดทิ้งร้างในสมัยโรมัน[9]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Tanis". The American Heritage Dictionary of the English Language (5th ed.). HarperCollins. สืบค้นเมื่อ 21 September 2019.
  2. "Tanis". Collins English Dictionary. HarperCollins. สืบค้นเมื่อ 21 September 2019.
  3. "Tanis". Merriam-Webster Dictionary.
  4. Loprieno, Antonio (1995). Ancient Egyptian: A linguistic introduction. pp. 39, 245.
  5. "Oracc RINAP Ashurbanipal 011".
  6. 6.0 6.1 Gauthier, Henri (1929). Dictionnaire des noms géographiques contenus dans les textes hiéroglyphiques Vol. 6. p. 111.
  7. Vycichl, W. (1983). Dictionnaire Étymologique de la Langue Copte, p. 328.
  8. Wallis Budge, E. A. (1920). An Egyptian hieroglyphic dictionary: with an index of English words, king list and geological list with indexes, list of hieroglyphic characters, Coptic and Semitic alphabets, etc. Vol II. John Murray. p. 1064.
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 Snape, Steven (2014). The Complete Cities of Ancent Egypt. Thames & Hudson. p. 335. ISBN 978-0-500-77240-9.
  10. De Mieroop, Marc Van (2007). A History of Ancient Egypt. Malden, MA: Blackwell Publishing. p. 400. ISBN 9781405160711.

บรรณานุกรม[แก้]

  • Association française d’Action artistique. 1987. Tanis: L’Or des pharaons. (Paris): Ministère des Affaires Étrangères and Association française d’Action artistique.
  • Brissaud, Phillipe. 1996. "Tanis: The Golden Cemetery". In Royal Cities of the Biblical World, edited by Joan Goodnick Westenholz. Jerusalem: Bible Lands Museum. 110–149.
  • Kitchen, Kenneth Anderson. [1996]. The Third Intermediate Period in Egypt (1100–650 BC). 3rd ed. Warminster: Aris & Phillips Limited.
  • Loth, Marc, 2014. "Tanis – 'Thebes of the North’“. In "Egyptian Antiquities from the Eastern Nile Delta", Museums in the Nile Delta, Vol. 2, ser. ed. by Mohamed I. Bakr, Helmut Brandl, and Faye Kalloniatis. Cairo/Berlin: Opaion. ISBN 9783000453182
  • Montet, Jean Pierre Marie. 1947. La nécropole royale de Tanis. Volume 1: Les constructions et le tombeau d’Osorkon II à Tanis. Fouilles de Tanis, ser. ed. Jean Pierre Marie Montet. Paris: .
  • ———. 1951. La nécropole royale de Tanis. Volume 2: Les constructions et le tombeau de Psousennès à Tanis. Fouilles de Tanis, ser. ed. Jean Pierre Marie Montet. Paris: .
  • ———. 1960. La nécropole royale de Tanis. Volume 3: Les constructions et le tombeau de Chechanq III à Tanis. Fouilles de Tanis, ser. ed. Jean Pierre Marie Montet. Paris.
  • Stierlin, Henri, and Christiane Ziegler. 1987. Tanis: Trésors des Pharaons. (Fribourg): Seuil.
  • Yoyotte, Jean. 1999. "The Treasures of Tanis". In The Treasures of the Egyptian Museum, edited by Francesco Tiradritti. Cairo: The American University in Cairo Press. 302–333.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]