ฟาโรห์อเมนเอมโอเป

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ยูเซอร์มาอัตเร อเมนเอมโอเป เป็นฟาโรห์ชาวอียิปต์โบราณ แห่งราชวงศ์ที่ยี่สิบเอ็ดแห่งอียิปต์

สุสาน[แก้]

ภาพเต็มของสุสานหลวงแทนิส (NRT) เดิมทีอเมเนมโอเปถูกฝังใน NRT IV ภายหลังจึงย้ายไปฝังที่ NRT III ซึ่งอยู่ทางซ้ายของห้องแกรนิต ถัดจากซูเซนเนสที่ 1

เดิมทีอเมเนมโอเปถูกฝังอยู่ในห้องที่มีหลุมฝังศพขนาดเล็ก (NRT IV) ในสุสานหลวงเแทนิส หลังสวรรคตไม่กี่ปีต่อมา ในรัชสมัยฟาโรห์ซิอามุน มีการย้ายพระศพอเมเนมโอเปไปฝังที่ NRT III ใกล้ห้องฝังพระศพฟาโรห์ซูเซนเนสที่ 1[5][6] Pierre Montet และ Georges Goyon นักอียิปต์วิทยาชาวฝรั่งเศส ค้นพบสุสานที่ไม่ได้รับการรบกวนอีกครั้งในเดือนเมษายน ค.ศ. 1940 ไม่กี่เดือนก่อนการรุกรานฝรั่งเศสของนาซี Montet จำเป็นต้องหยุดการขุดค้นจนกระทั่งสงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง แล้วทำงานต่อใน ค.ศ. 1946 และต่อมาจึงตีพิมพ์รายงานการค้นพบใน ค.ศ. 1958

อ้างอิง[แก้]

  1. Jansen-Winkeln, p. 493
  2. Kitchen, Table 1
  3. von Beckerath, Jürgen (1999). Handbuch der ägyptischen Königsnamen. Münchner ägyptologische Studien, Heft 49, Mainz: Philip von Zabern. ISBN 978-3-8053-2591-2., pp. 180-181
  4. Clayton, Peter (1994). Chronicle of the Pharaohs. Thames & Hudson Ltd., p. 178
  5. Kitchen, § 229
  6. Goyon, pp. 87; 163

บรรณานุกรม[แก้]

  • Derry, D.E., Report on Skeleton of King Amenemopet, ASAE 41 (1942), 149.
  • Goyon, Georges (1987). La Découverte des trésors de Tanis. Perséa. p. 608. ISBN 2-906427-01-2.
  • Jansen-Winkeln, Karl (2006). Hornung, Erik; Krauss, Rolf; Warburton, David A. (บ.ก.). Ancient Egyptian Chronology. Brill, Leiden/Boston. ISBN 978-90-04-11385-5.
  • Kitchen, Kenneth A. (1996). The Third Intermediate Period in Egypt (1100–650 BC). Warminster: Aris & Phillips Limited. p. 608. ISBN 0-85668-298-5.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]