ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิเชษฐ์ เกษมทองศรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poompong1986 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suttinai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
| predecessor =
| predecessor =
| successor =
| successor =
| order2 = [[บ้านเลขที่ 111|ผู้ถูกเพิกถอนสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี]]
| term_start2 = [[30 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2550]]
| term_end2 = [[29 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2555]]
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2505|7|7}}
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2505|7|7}}
| birth_place = [[จังหวัดราชบุรี]] [[ประเทศไทย]]
| birth_place = [[จังหวัดราชบุรี]] [[ประเทศไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:07, 1 ธันวาคม 2555

นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี
ไฟล์:วิเชษฐ์ เกษมทองศรี.jpg
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
ดำรงตำแหน่ง
8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 – 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
นายกรัฐมนตรีพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร
ผู้ถูกเพิกถอนสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี
ดำรงตำแหน่ง
30 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 – 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด7 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 (61 ปี)
จังหวัดราชบุรี ประเทศไทย
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองเพื่อไทย
คู่สมรสนางวานิพรรณ เกษมทองศรี

นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร[1] และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี สังกัดพรรคไทยรักไทย

ประวัติ

นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 ที่อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี เป็นบุตรของนายชัยวัฒน์ กับนางสุภาพร เกษมทองศรี สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนยีบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จากวิทยาเขตบพิตรพิมุข ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จากวิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ ต่อมาจึงได้เข้ารับการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ จากวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา (วิทยาเขตบพิตรพิมุข จักวรรดิ) เมื่อปี พ.ศ. 2529 และปริญญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปี พ.ศ. 2541

การทำงาน

นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี เคยดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ในระหว่างปี พ.ศ. 2539 - พ.ศ. 2540 ต่อมาในปี พ.ศ. 2542 เป็นเลขานุการคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ และเป็นรองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในปี พ.ศ. 2544[2] ต่อมาในปี พ.ศ. 2546 จึงได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ในรัฐบาลของพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร

ในปี พ.ศ. 2550 ได้ถูกตัดสิทธิทางการเมืองเป็นเวลา 5 ปี เนื่องจากเป็นกรรมการบริหารพรรคไทยรักไทยซึ่งถูกยุบในคดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549[3] ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ได้สมัครเข้าเป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย[4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น