เทศบาลเมืองปัตตานี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เทศบาลเมืองปัตตานี
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันThetsaban Mueang Pattani
ถนนปัตตานีภิรมย์
ถนนปัตตานีภิรมย์
ตราอย่างเป็นทางการของเทศบาลเมืองปัตตานี
ตรา
ทม.ปัตตานีตั้งอยู่ในจังหวัดปัตตานี
ทม.ปัตตานี
ทม.ปัตตานี
ที่ตั้งของเทศบาลเมืองปัตตานี
พิกัด: 6°51′59″N 101°15′3″E / 6.86639°N 101.25083°E / 6.86639; 101.25083พิกัดภูมิศาสตร์: 6°51′59″N 101°15′3″E / 6.86639°N 101.25083°E / 6.86639; 101.25083
ประเทศ ไทย
จังหวัดปัตตานี
อำเภอเมืองปัตตานี
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีนิอันนุวา สุไลมาน
พื้นที่
 • ทั้งหมด4.78 ตร.กม. (1.85 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2561)[1]
 • ทั้งหมด44,353 คน
 • ความหนาแน่น9,278.87 คน/ตร.กม. (24,032.2 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.04940102
ที่อยู่
สำนักงาน
ถนนเดชา ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี 94000
เว็บไซต์www.pattanicity.go.th
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ปัตตานี เป็นเทศบาลเมืองแห่งหนึ่งที่เป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดปัตตานี ตั้งอยู่ริมอ่าวไทยบริเวณปากแม่น้ำปัตตานี เมืองมีประชากรในปี พ.ศ. 2561 จำนวน 44,353 คน มีพื้นที่ครอบคลุมตำบลต่าง ๆ ในอำเภอเมืองปัตตานี ได้แก่ ตำบลสะบารัง ตำบลอาเนาะรู และตำบลจะบังติกอ เทศบาลเมืองปัตตานีจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2478[2] โดยยกฐานะเป็นเทศบาลเมือง ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองปัตตานี[3]

อาณาเขต[แก้]

เทศบาลเมืองปัตตานีห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 1,055 กิโลเมตร มีพื้นที่ทั้งหมด 4.78 ตารางกิโลเมตร[4]

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับเทศบาลตำบลรูสะมิแล
  • ทิศใต้ ติดต่อกับองค์การบริหารส่วนตำบลตะลุโบะ
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับองค์การบริหารส่วนตำบลบานา
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับเทศบาลตำบลรูสะมิแล

สภาพอากาศ[แก้]

ข้อมูลภูมิอากาศของปัตตานี (พ.ศ. 2524–2553)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 34.3
(93.7)
35.9
(96.6)
37.0
(98.6)
37.9
(100.2)
38.0
(100.4)
36.6
(97.9)
36.3
(97.3)
35.8
(96.4)
36.0
(96.8)
35.0
(95)
34.0
(93.2)
33.9
(93)
38.0
(100.4)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 30.7
(87.3)
32.0
(89.6)
33.2
(91.8)
34.1
(93.4)
33.8
(92.8)
33.3
(91.9)
33.0
(91.4)
32.9
(91.2)
32.4
(90.3)
31.6
(88.9)
30.2
(86.4)
29.6
(85.3)
32.2
(90)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 26.0
(78.8)
26.5
(79.7)
27.3
(81.1)
28.2
(82.8)
28.2
(82.8)
27.9
(82.2)
27.6
(81.7)
27.5
(81.5)
27.2
(81)
26.9
(80.4)
26.3
(79.3)
25.9
(78.6)
27.1
(80.8)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 22.3
(72.1)
22.1
(71.8)
22.7
(72.9)
23.6
(74.5)
24.2
(75.6)
24.0
(75.2)
23.7
(74.7)
23.7
(74.7)
23.6
(74.5)
23.6
(74.5)
23.5
(74.3)
23.0
(73.4)
23.3
(73.9)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 18.6
(65.5)
16.7
(62.1)
18.5
(65.3)
17.4
(63.3)
21.6
(70.9)
20.6
(69.1)
20.4
(68.7)
21.0
(69.8)
20.8
(69.4)
21.3
(70.3)
21.0
(69.8)
19.7
(67.5)
16.7
(62.1)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 50.9
(2.004)
32.0
(1.26)
49.4
(1.945)
74.6
(2.937)
137.5
(5.413)
109.4
(4.307)
129.1
(5.083)
134.0
(5.276)
147.1
(5.791)
216.2
(8.512)
406.6
(16.008)
378.3
(14.894)
1,865.1
(73.429)
ความชื้นร้อยละ 81 79 79 78 80 80 80 80 81 84 86 85 81
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 7.5 3.1 5.7 7.3 13.2 11.0 12.8 13.2 15.5 18.3 20.4 17.3 145.3
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 145.7 166.7 148.8 144.0 114.7 111.0 114.7 114.7 108.0 111.6 105.0 108.5 1,493.4
แหล่งที่มา 1: กรมอุตุนิยมวิทยา[5]
แหล่งที่มา 2: Office of Water Management and Hydrology, Royal Irrigation Department (sun and humidity)[6]

อ้างอิง[แก้]

  1. "รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้าน ประจำปี พ.ศ. 2561 ท้องถิ่นเทศบาลเมืองปัตตานี". ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง. สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. "ประวัติการจัดตั้งเทศบาล". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-09-09. สืบค้นเมื่อ 2015-04-28.
  3. "พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี พุทธศักราช ๒๔๗๘" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 52: 2104–2108. 25 มีนาคม 2478.
  4. "สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานสำคัญ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2015-04-28.
  5. "Climatological Data for the Period 1981–2010". Thai Meteorological Department. p. 26. สืบค้นเมื่อ 8 August 2016.
  6. "ปริมาณการใช้น้ำของพืชอ้างอิงโดยวิธีของ Penman Monteith (Reference Crop Evapotranspiration by Penman Monteith)" (PDF). Office of Water Management and Hydrology, Royal Irrigation Department. p. 126. สืบค้นเมื่อ 8 August 2016.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]