ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่น้ำเจ้าพระยา"

พิกัด: 13°32′25″N 100°35′23″E / 13.54028°N 100.58972°E / 13.54028; 100.58972
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kaokong2542 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Kaokong2542 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 97: บรรทัด 97:
# คลองลัดนนทบุรี [[พ.ศ. 2179]] รัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง]]
# คลองลัดนนทบุรี [[พ.ศ. 2179]] รัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง]]
ล่าสุดมีการขุดลอก[[คลองลัดโพธิ์]] บริเวณตำบลทรงคะนองและตำบลบางยอ [[อำเภอพระประแดง]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]] เพื่อช่วยในการระบายน้ำและผลิตกระแสไฟฟ้า
ล่าสุดมีการขุดลอก[[คลองลัดโพธิ์]] บริเวณตำบลทรงคะนองและตำบลบางยอ [[อำเภอพระประแดง]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]] เพื่อช่วยในการระบายน้ำและผลิตกระแสไฟฟ้า

== ลำน้ำสาขา ==
ด้วยความที่แม่น้ำเจ้าพระยามีความสำคัญเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ของภาคกลาง ทั้งในด้านการเดินทางและวิถีชีวิต นอกจากจะมีการสร้างสะพานและท่าน้ำจำนวนมากแล้ว ยังมีลำน้ำสาขา คลองธรรมชาติ และคลองขุด ซึ่งเชื่อมโยงแม่น้ำเจ้าพระยากับพื้นที่ภายใน ให้สามารถติดต่อถึงกันได้ โดยลำน้ำสาขาและคลองมีจำนวนมาก แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้


== รายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา==
== รายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา==
บรรทัด 833: บรรทัด 830:
}}
}}
{{ตารางรายชื่อจุดข้าม/ท้าย}}
{{ตารางรายชื่อจุดข้าม/ท้าย}}

== ลำน้ำสาขา ==
ด้วยความที่แม่น้ำเจ้าพระยามีความสำคัญเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ของภาคกลาง ทั้งในด้านการเดินทางและวิถีชีวิต นอกจากจะมีการสร้างสะพานและท่าน้ำจำนวนมากแล้ว ยังมีลำน้ำสาขา คลองธรรมชาติ และคลองขุด ซึ่งเชื่อมโยงแม่น้ำเจ้าพระยากับพื้นที่ภายใน ให้สามารถติดต่อถึงกันได้ โดยลำน้ำสาขาและคลองมีจำนวนมาก แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้


=== ต้นน้ำ ===
=== ต้นน้ำ ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:02, 5 สิงหาคม 2562

แม่น้ำเจ้าพระยา
แม่น้ำ
แม่น้ำเจ้าพระยา ช่วงกรุงเทพมหานคร
ประเทศ ประเทศไทย
จังหวัด นครสวรรค์, อุทัยธานี, ชัยนาท, สิงห์บุรี, อ่างทอง, พระนครศรีอยุธยา, ปทุมธานี, นนทบุรี, กรุงเทพมหานคร, สมุทรปราการ
แม่น้ำสาขา
 - ซ้าย แม่น้ำป่าสัก
 - ขวา แม่น้ำสะแกกรัง
ต้นกำเนิด ไหลรวมจากแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน
 - ตำแหน่ง ปากน้ำโพ, อำเภอเมืองนครสวรรค์, จังหวัดนครสวรรค์
ปากแม่น้ำ ปากน้ำ
 - ตำแหน่ง อ่าวไทย, อำเภอเมืองสมุทรปราการ, จังหวัดสมุทรปราการ
 - ระดับ
ความยาว 372 km (231 mi)
พื้นที่ลุ่มน้ำ 160,400 ตร.กม. (61,931 ตร.ไมล์)
การไหล for นครสวรรค์
 - เฉลี่ย 718 m3/s (25,356 cu ft/s)
 - สูงสุด 5,960 m3/s (210,475 cu ft/s)
แผนที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา
แผนที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา
แผนที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา

แม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำสายสำคัญของประเทศไทย เกิดจากการรวมตัวของแม่น้ำสายหลัก 2 สายจากภาคเหนือ คือแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน โดยมาบรรจบกันบริเวณหน้าเขื่อนในตัวเมือง ที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์ โดยจะเห็นความแตกต่างของสายน้ำทั้งสองได้อย่างชัดเจน กล่าวคือ แม่น้ำน่าน จะมีสีค่อนข้างแดงและแม่น้ำปิงจะเป็นสีค่อนข้างไปทางเขียว เมื่อมาบรรจบกันแล้วจึงค่อย ๆรวมตัวเข้าด้วยกันกลายเป็นแม่น้ำสายใหญ่[1] ซึ่งถือได้ว่าจังหวัดนครสวรรค์เป็นเมืองต้นแม่น้ำ[2] จากนั้นไหลลงไปทางทิศใต้ ผ่านจังหวัดอุทัยธานี ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี และกรุงเทพมหานคร ก่อนออกสู่อ่าวไทยที่ปากน้ำ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตตำบลท้ายบ้าน ตำบลบางปูใหม่ อำเภอเมืองสมุทรปราการ และตำบลแหลมฟ้าผ่า อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ

ข้อมูลทางภูมิศาสตร์

จุดเริ่มของแม่น้ำเจ้าพระยาอยู่ที่จังหวัดนครสวรรค์ โดยการรวมของแม่น้ำปิงและแม่น้ำน่าน ที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยามีพื้นที่ 20,125 ตารางกิโลเมตร (ไม่รวมลุ่มน้ำปิง วัง ยม น่าน สะแกกรัง ป่าสัก และท่าจีน)[3] และมีความยาวถึง 372 กิโลเมตร โดยแยกออกเป็นแม่น้ำท่าจีนที่จังหวัดชัยนาท

การขุดลัดแม่น้ำ

แผนที่การขุดลัดแม่น้ำเจ้าพระยาทั้งสามครั้งในสมัยอยุธยา เส้นสีน้ำเงินคือแนวแม่น้ำเจ้าพระยาเดิม เส้นสีเขียวคือแนวคลองลัด

การขุดลัดแม่น้ำเจ้าพระยาในบริเวณกรุงเทพมหานคร ทั้ง 3 ครั้งในสมัยอยุธยา ซึ่งประกอบด้วย

  1. คลองลัดบางกอก พ.ศ. 2065[4] รัชสมัยสมเด็จพระไชยราชาธิราช
  2. คลองลัดบางกรวย พ.ศ. 2081 รัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
  3. คลองลัดนนทบุรี พ.ศ. 2179 รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

ล่าสุดมีการขุดลอกคลองลัดโพธิ์ บริเวณตำบลทรงคะนองและตำบลบางยอ อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อช่วยในการระบายน้ำและผลิตกระแสไฟฟ้า

รายชื่อจุดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา

กม.ที่ ชื่อจุดข้าม
(หน่วยงานรับผิดชอบ)
รูปภาพ ปีที่เปิด
(พ.ศ.)
สิ่งที่ข้าม เชื่อมต่อ พิกัด หมายเหตุ
2.49 สะพานเดชาติวงศ์
(กรมทางหลวง)
พ.ศ. 2493, 2514, 2536 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ตำบลปากน้ำโพ
อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
15°41′17.8116″N 100°07′24.8988″E / 15.688281000°N 100.123583000°E / 15.688281000; 100.123583000
ตำบลนครสวรรค์ออก
อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
10.09 สะพานตะเคียนเลื่อน
(กรมทางหลวง)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 122 ตำบลตะเคียนเลื่อน
อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
15°38′01.9464″N 100°06′02.6820″E / 15.633874000°N 100.100745000°E / 15.633874000; 100.100745000
ตำบลกลางแดด
อำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
25.03 สะพานชุมชนตานิว-มณีวงศ์
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2547 ทางหลวงชนบท นว.1111 ตำบลยางขาว
อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์
15°33′00.5040″N 100°06′52.9956″E / 15.550140000°N 100.114721000°E / 15.550140000; 100.114721000
ตำบลย่านมัทรี
อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์
47.10 สะพานสมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)
(กรมทางหลวง)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 333 ตำบลน้ำทรง
อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์
15°25′35.5872″N 100°08′06.0756″E / 15.426552000°N 100.135021000°E / 15.426552000; 100.135021000
ตำบลท่าน้ำอ้อย
อำเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์
สะพานมโนรมย์
(ยังไม่เปิดใช้งาน)

(กรมทางหลวงชนบท)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3590
ตำบลท่าซุง
อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี
ตำบลคุ้งสำเภา
อำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท
82.31 สะพานธรรมจักร
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2551 ทางหลวงชนบท ชน.1021 ตำบลหาดท่าเสา
อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
15°15′02.0016″N 100°04′59.8044″E / 15.250556000°N 100.083279000°E / 15.250556000; 100.083279000
ตำบลธรรมามูล
อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
94.34 สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณถนนเลี่ยงเมืองชัยนาท
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2561 ถนนสาย ฉ และ ค ผังเมืองรวมเมืองชัยนาท
ตำบลท่าชัย
อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
15°10′12.6300″N 100°07′32.6784″E / 15.170175000°N 100.125744000°E / 15.170175000; 100.125744000
ตำบลบ้านกล้วย
อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
96.93 สะพานชัยนาท
(กรมทางหลวง)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ตำบลชัยนาท
อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
15°09′57.7980″N 100°08′41.3160″E / 15.166055000°N 100.144810000°E / 15.166055000; 100.144810000
ตำบลบ้านกล้วย
อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท
101.25 เขื่อนเจ้าพระยา
(กรมชลประทาน)
พ.ศ. 2500 ถนนเขื่อนเจ้าพระยา ตำบลบางหลวง
อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท
15°09′32.7276″N 100°10′46.9488″E / 15.159091000°N 100.179708000°E / 15.159091000; 100.179708000
ตำบลบางหลวง
อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท
117.23 สะพานสรรพยา
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2549 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 311,
ทางหลวงชนบท ชน.3018
ตำบลโพนางดำตก
อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท
15°06′32.6664″N 100°16′04.6236″E / 15.109074000°N 100.267951000°E / 15.109074000; 100.267951000
ตำบลโพนางดำออก
อำเภอสรรพยา จังหวัดชัยนาท
134.45 สะพานอินทร์บุรี
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2538 ทางหลวงชนบท สห.2006 ตำบลอินทร์บุรี
อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี
15°00′21.6972″N 100°19′51.6468″E / 15.006027000°N 100.331013000°E / 15.006027000; 100.331013000
ตำบลอินทร์บุรี
อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี
152.12 สะพานบางระจัน
(กรมทางหลวง)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 311 ตำบลบางมัญ
อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี
14°53′55.3344″N 100°24′06.9552″E / 14.898704000°N 100.401932000°E / 14.898704000; 100.401932000
ตำบลบางมัญ
อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี
155.15 สะพานอนุสรณ์ 100 ปี สิงห์บุรี (หลวงพ่อแพ 99)
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2541, 2546 ทางหลวงชนบท สห.3026 ตำบลต้นโพธิ์
อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี
14°52′13.3824″N 100°24′31.3308″E / 14.870384000°N 100.408703000°E / 14.870384000; 100.408703000
ตำบลต้นโพธิ์
อำเภอเมืองสิงห์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี
168.40 สะพานพรหมบุรี
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2547 ทางหลวงชนบท สห.005
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3033
ตำบลโรงช้าง
อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี
14°47′27.6072″N 100°27′06.3504″E / 14.791002000°N 100.451764000°E / 14.791002000; 100.451764000
ตำบลบางน้ำเชี่ยว
อำเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี
179.04 สะพานพระมหาพุทธพิมพ์ 1
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2537 ทางหลวงชนบท อท.4002 ตำบลไชโย
อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง
14°42′59.9508″N 100°26′23.2764″E / 14.716653000°N 100.439799000°E / 14.716653000; 100.439799000
ตำบลไชยภูมิ
อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง
196.17 สะพานอ่างทอง
(กรมทางหลวง)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 309 ตำบลตลาดหลวง
อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง
14°35′25.7964″N 100°27′11.6532″E / 14.590499000°N 100.453237000°E / 14.590499000; 100.453237000
ตำบลบางแก้ว
อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง
198.01 สะพานเลี่ยงเมืองอ่างทอง
(กรมทางหลวง)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 368 ตำบลตลาดหลวง
อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง
14°34′34.8960″N 100°26′54.9888″E / 14.576360000°N 100.448608000°E / 14.576360000; 100.448608000
ตำบลบางแก้ว
อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง
209.16 สะพานป่าโมก
(กรมทางหลวง)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 ตำบลป่าโมก
อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
14°29′53.4372″N 100°26′58.5852″E / 14.498177000°N 100.449607000°E / 14.498177000; 100.449607000
ตำบลบางปลากด
อำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
216.45 สะพานจุฬามณี
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2555 ทางหลวงชนบท อย.021,
ทางหลวงชนบท อย.5035
ตำบลบางชะนี
อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
14°26′29.1984″N 100°28′06.9708″E / 14.441444000°N 100.468603000°E / 14.441444000; 100.468603000
ตำบลบ้านกุ่ม
อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
228.74 สะพานอยุธยา-ภูเขาทอง
(กรมทางหลวง)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 ตำบลบ้านป้อม
อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
14°22′08.6268″N 100°31′43.4352″E / 14.369063000°N 100.528732000°E / 14.369063000; 100.528732000
ตำบลภูเขาทอง
อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
232.08 สะพานกษัตราธิราช
(กรมทางหลวง)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3263 ตำบลบ้านป้อม
อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
14°20′56.4540″N 100°32′40.8372″E / 14.349015000°N 100.544677000°E / 14.349015000; 100.544677000
ตำบลประตูชัย
อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
238.46 สะพานอโยธยา
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2560 ทางหลวงชนบท อย.2053 ตำบลสำเภาล่ม
อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
14°19′51.3228″N 100°34′32.7936″E / 14.330923000°N 100.575776000°E / 14.330923000; 100.575776000
ตำบลเกาะเรียน
อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
241.59 สะพานเกาะเรียน
(กรมทางหลวง)
พ.ศ. 2544 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 356 ตำบลบ้านรุน
อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
14°18′16.6824″N 100°33′59.1264″E / 14.304634000°N 100.566424000°E / 14.304634000; 100.566424000
ตำบลเกาะเรียน
อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
256.08 สะพานเกาะเกิด
(กรมทางหลวง)
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 347 ตำบลเกาะเกิด
อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
14°11′38.5404″N 100°33′09.0144″E / 14.194039000°N 100.552504000°E / 14.194039000; 100.552504000
ตำบลบางกระสั้น
อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
271.51 สะพานเชียงราก
(กรมทางหลวง)
พ.ศ. 2541 ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 ตำบลท้ายเกาะ
อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
14°07′06.0672″N 100°32′06.8028″E / 14.118352000°N 100.535223000°E / 14.118352000; 100.535223000
ตำบลโพแตง
อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
286.20 สะพานปทุมธานี
(กรมทางหลวง)
พ.ศ. 2527 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ตำบลบางปรอก
อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี
14°01′33.5532″N 100°32′19.8600″E / 14.025987000°N 100.538850000°E / 14.025987000; 100.538850000
ตำบลบ้านกลาง
อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี
293.86 สะพานปทุมธานี 2
(กรมทางหลวง)
พ.ศ. 2552 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 345 ตำบลบางขะแยง
อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี
13°57′57.0096″N 100°32′02.8824″E / 13.965836000°N 100.534134000°E / 13.965836000; 100.534134000
ตำบลบ้านใหม่
อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี
296.17 สะพานนนทบุรี
(กรมทางหลวง)
พ.ศ. 2501 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 307 ตำบลบางขะแยง
อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี
13°56′51.7164″N 100°32′05.9352″E / 13.947699000°N 100.534982000°E / 13.947699000; 100.534982000
ตำบลบ้านใหม่
อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
302.78 สะพานพระราม 4
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2549 ทางหลวงชนบท นบ.3030,
ถนนแจ้งวัฒนะ
ตำบลบางตะไนย์
อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
13°54′56.5488″N 100°29′38.6376″E / 13.915708000°N 100.494066000°E / 13.915708000; 100.494066000
ตำบลปากเกร็ด
อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
313.14 สะพานคู่ขนานสะพานพระนั่งเกล้า
(กรมทางหลวง)
พ.ศ. 2551 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ตำบลไทรม้า
อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
13°52′14.6064″N 100°28′35.2488″E / 13.870724000°N 100.476458000°E / 13.870724000; 100.476458000
ตำบลบางกระสอ
อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
313.19 สะพานพระนั่งเกล้า
(กรมทางหลวง)
พ.ศ. 2528 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 302 ตำบลไทรม้า
อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
13°52′13.5264″N 100°28′35.1120″E / 13.870424000°N 100.476420000°E / 13.870424000; 100.476420000
ตำบลบางกระสอ
อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
313.23 สะพานรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม
(การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย)
พ.ศ. 2559 ไฟล์:BSicon MRT.svg รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม ตำบลไทรม้า
อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
13°52′12.2520″N 100°28′35.2488″E / 13.870070000°N 100.476458000°E / 13.870070000; 100.476458000
ตำบลบางกระสอ
อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
315.16 สะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2558 ทางหลวงชนบท นบ.5038,
ทางหลวงท้องถิ่น นบ.ถ 2-0017
ตำบลบางศรีเมือง
อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
13°51′12.9528″N 100°28′49.2816″E / 13.853598000°N 100.480356000°E / 13.853598000; 100.480356000
ตำบลสวนใหญ่
อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
318.13 สะพานพระราม 5
(กรมทางหลวงชนบท)
ไฟล์:สะพานพระราม 5.jpg พ.ศ. 2545 ทางหลวงชนบท นบ.1020 ตำบลบางไผ่
อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
13°49′56.9172″N 100°29′42.6660″E / 13.832477000°N 100.495185000°E / 13.832477000; 100.495185000
ตำบลสวนใหญ่
อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
321.22 สะพานพระราม 7
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2535 ถนนจรัญสนิทวงศ์,
ถนนวงศ์สว่าง
ตำบลบางกรวย
อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
13°48′50.5728″N 100°30′50.1876″E / 13.814048000°N 100.513941000°E / 13.814048000; 100.513941000
แขวงวงศ์สว่าง
เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
321.29 สะพานรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน
(การรถไฟแห่งประเทศไทย)
รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน
(ยังไม่เปิดใช้งาน)
ตำบลบางกรวย
อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
13°48′48.5172″N 100°30′54.4032″E / 13.813477000°N 100.515112000°E / 13.813477000; 100.515112000
แขวงวงศ์สว่าง
เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
321.37 สะพานพระราม 6
(การรถไฟแห่งประเทศไทย)
พ.ศ. 2470 ทางรถไฟสายใต้ แขวงบางอ้อ
เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
13°48′47.9052″N 100°30′55.1448″E / 13.813307000°N 100.515318000°E / 13.813307000; 100.515318000
แขวงบางซื่อ
เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
321.43 สะพานทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
(การทางพิเศษแห่งประเทศไทย)
พ.ศ. 2559 ทางพิเศษสายศรีรัช-วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร แขวงบางอ้อ
เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
13°48′47.2032″N 100°30′55.9872″E / 13.813112000°N 100.515552000°E / 13.813112000; 100.515552000
แขวงบางซื่อ
เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
322.27 สะพานรถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้ำเงิน
(การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย)
ไฟล์:BSicon MRT.svg รถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้ำเงิน แขวงบางอ้อ
เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
13°48′20.8872″N 100°31′03.6444″E / 13.805802000°N 100.517679000°E / 13.805802000; 100.517679000
แขวงบางซื่อ
เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
325.55 สะพานกรุงธน
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2500 ถนนราชวิถี แขวงบางพลัด,
แขวงบางยี่ขัน
เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
13°46′52.1256″N 100°30′08.3736″E / 13.781146000°N 100.502326000°E / 13.781146000; 100.502326000
แขวงวชิรพยาบาล
เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
327.02 สะพานพระราม 8
(กรุงเทพมหานคร)
พ.ศ. 2545 ทางคู่ขนานลอยฟ้าบรมราชชนนี แขวงบางยี่ขัน
เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร
13°46′08.3748″N 100°29′49.8696″E / 13.768993000°N 100.497186000°E / 13.768993000; 100.497186000
แขวงวัดสามพระยา
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
328.05 สะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2516 ถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า แขวงอรุณอมรินทร์
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
13°45′43.0956″N 100°29′27.6828″E / 13.761971000°N 100.491023000°E / 13.761971000; 100.491023000
แขวงชนะสงคราม,
แขวงพระบรมมหาราชวัง
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
อุโมงค์รถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้ำเงิน
(การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย)
ไฟล์:BSicon MRT.svg รถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้ำเงิน
(ยังไม่เปิดใช้งาน)
แขวงวัดกัลยาณ์
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
แขวงพระบรมมหาราชวัง,
แขวงวังบูรพาภิรมย์
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
331.18 สะพานพระพุทธยอดฟ้า
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2475 ถนนประชาธิปก,
ถนนตรีเพชร
แขวงวัดกัลยาณ์
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
13°44′21.7896″N 100°29′51.4788″E / 13.739386000°N 100.497633000°E / 13.739386000; 100.497633000
แขวงวังบูรพาภิรมย์
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
331.28 สะพานพระปกเกล้า
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2527 ถนนประชาธิปก,
ถนนจักรเพชร,
ถนนจักรวรรดิ
แขวงสมเด็จเจ้าพระยา
เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร
13°44′20.5548″N 100°29′54.5316″E / 13.739043000°N 100.498481000°E / 13.739043000; 100.498481000
แขวงวังบูรพาภิรมย์
เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
334.39 สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2525 ถนนกรุงธนบุรี,
ถนนสาทรเหนือ,
ถนนสาทรใต้
แขวงคลองต้นไทร
เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร
13°43′09.9156″N 100°30′43.5276″E / 13.719421000°N 100.512091000°E / 13.719421000; 100.512091000
แขวงบางรัก เขตบางรัก,
แขวงยานนาวา เขตสาทร
กรุงเทพมหานคร
337.38 สะพานพระราม 3
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ.​2543 ถนนพระรามที่ 3 แขวงสำเหร่
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
13°42′04.9968″N 100°29′32.1684″E / 13.701388000°N 100.492269000°E / 13.701388000; 100.492269000
แขวงบางคอแหลม
เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร
337.44 สะพานกรุงเทพ
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2502 ถนนมไหสวรรย์ แขวงดาวคะนอง
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
13°42′03.4524″N 100°29′31.1100″E / 13.700959000°N 100.491975000°E / 13.700959000; 100.491975000
แขวงบางคอแหลม
เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร
341.61 สะพานพระราม 9
(การทางพิเศษแห่งประเทศไทย)
พ.ศ. 2530 ทางพิเศษเฉลิมมหานคร แขวงราษฎร์บูรณะ
เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร
13°40′56.7696″N 100°31′04.3968″E / 13.682436000°N 100.517888000°E / 13.682436000; 100.517888000
แขวงบางโพงพาง
เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร
344.36 สะพานภูมิพล 1
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2549 ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม แขวงบางโพงพาง
เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร
13°40′09.1308″N 100°32′18.8412″E / 13.669203000°N 100.538567000°E / 13.669203000; 100.538567000
ตำบลทรงคนอง
อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
361.25 สะพานภูมิพล 2
(กรมทางหลวงชนบท)
พ.ศ. 2549 ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม ตำบลทรงคนอง
อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
13°39′38.1384″N 100°32′22.2396″E / 13.660594000°N 100.539511000°E / 13.660594000; 100.539511000
ตำบลบางหญ้าแพรก
อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
364.59 สะพานกาญจนาภิเษก
(การทางพิเศษแห่งประเทศไทย)
พ.ศ. 2550 ทางพิเศษกาญจนาภิเษก (บางพลี-สุขสวัสดิ์) ตำบลบางจาก
อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
13°38′00.2832″N 100°32′19.1220″E / 13.633412000°N 100.538645000°E / 13.633412000; 100.538645000
ตำบลบางหัวเสือ
อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ

ลำน้ำสาขา

ด้วยความที่แม่น้ำเจ้าพระยามีความสำคัญเปรียบเสมือนเส้นเลือดใหญ่ของภาคกลาง ทั้งในด้านการเดินทางและวิถีชีวิต นอกจากจะมีการสร้างสะพานและท่าน้ำจำนวนมากแล้ว ยังมีลำน้ำสาขา คลองธรรมชาติ และคลองขุด ซึ่งเชื่อมโยงแม่น้ำเจ้าพระยากับพื้นที่ภายใน ให้สามารถติดต่อถึงกันได้ โดยลำน้ำสาขาและคลองมีจำนวนมาก แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้

ต้นน้ำ

ต้นน้ำซึ่งได้ไหลมาลงยังแม่น้ำเจ้าพระยาประกอบด้วย

ลำน้ำสาขาฝั่งซ้าย

ใช้เป็นเส้นทางคมนาคม สัญจร ทัศนาจร และท่องเที่ยว ใช้เป็นเส้นทางขนส่งสินค้า ใช้เล่นกีฬาทางน้ำ ใช้อาบน้ำล้างภาชนะ ใช้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและวิถีชีวิต ใช้ทำการเกษตร เลี้ยงสัตว์ และ ทำประมง ใช้อุตสาหกรรม ผลิตไฟฟ้า และระบายน้ำ ลำน้ำสาขาทั้งคลองธรรมชาติและคลองขุดในฝั่งขวาหรือฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ประกอบด้วย

จังหวัดชัยนาท

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดปทุมธานี

จังหวัดนนทบุรี

กรุงเทพมหานคร

จังหวัดสมุทรปราการ

ลำน้ำสาขาฝั่งขวา

ใช้เป็นเส้นทางคมนาคม สัญจร ทัศนาจร และท่องเที่ยว ใช้เป็นเส้นทางขนส่งสินค้า ใช้เล่นกีฬาทางน้ำ ใช้อาบน้ำล้างภาชนะ ใช้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและวิถีชีวิต ใช้ทำการเกษตร เลี้ยงสัตว์ และ ทำประมง ใช้อุตสาหกรรม ผลิตไฟฟ้า และระบายน้ำ ลำน้ำสาขาทั้งคลองธรรมชาติและคลองขุดในฝั่งซ้ายหรือฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ประกอบด้วย

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดปทุมธานี

จังหวัดนนทบุรี

กรุงเทพมหานคร

จังหวัดสมุทรปราการ

ท่าน้ำ

แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นทางคมนาคมอีกเส้นทางสำหรับคนกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จึงทำให้มีการสร้างท่าน้ำจำนวนมากเพื่อรองรับการขนส่งทางน้ำ โดยท่าน้ำในการเดินเรือโดยสารในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีดังนี้[5]

สถานที่สำคัญที่ตั้งอยู่ริมแม่น้ำ

จังหวัดชัยนาท

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดปทุมธานี

จังหวัดนนทบุรี

กรุงเทพมหานคร

จังหวัดสมุทรปราการ

การนำน้ำผลิตน้ำประปา

แม่น้ำเจ้าพระยาเป็นแหล่งผลิตน้ำประปาสำคัญของการประปาส่วนภูมิภาคในพื้นที่ภาคกลาง ส่วนเขตจังหวัดนนทบุรี กรุงเทพมหานคร และจังหวัดสมุทรปราการ รับผิดชอบโดยการประปานครหลวง โดยมีสถานีสูบน้ำดิบวัดสำแล ตั้งอยู่ที่ตำบลบ้านกระแชง อำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี

สัตว์น้ำหายากที่พบ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • จารุภัทร วิมุตเศรษฐ์. สะพานข้ามเจ้าพระยา. พิมพ์ครั้งแรก. กรุงเทพมหานคร. 2553.

แหล่งข้อมูลอื่น

13°32′25″N 100°35′23″E / 13.54028°N 100.58972°E / 13.54028; 100.58972