แขวงอรุณอมรินทร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แขวงอรุณอมรินทร์
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันKhwaeng Arun Ammarin
วัดดุสิตารามวรวิหารตั้งอยู่ในแขวงอรุณอมรินทร์
วัดดุสิตารามวรวิหารตั้งอยู่ในแขวงอรุณอมรินทร์
แผนที่เขตบางกอกน้อย เน้นแขวงอรุณอมรินทร์
แผนที่เขตบางกอกน้อย เน้นแขวงอรุณอมรินทร์
ประเทศ ไทย
เขตปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร
เขตบางกอกน้อย
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด2.758 ตร.กม. (1.065 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)[2]
 • ทั้งหมด18,547 คน
 • ความหนาแน่น6,724.80 คน/ตร.กม. (17,417.2 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์10700
รหัสภูมิศาสตร์102009
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

อรุณอมรินทร์ [อะ-รุน-อำ-มะ-ริน][3] เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นย่านการค้าและเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางถึงหนาแน่นมาก ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ได้กำหนดให้พื้นที่บางแห่งในแขวงนี้เป็นพื้นที่อนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

แขวงอรุณอมรินทร์ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเขตบางกอกน้อย มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังนี้[4]

การคมนาคม[แก้]

ถนนสายหลักในพื้นที่แขวงอรุณอมรินทร์ ได้แก่

ระเบียงภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. กองยุทธศาสตร์บริหารจัดการ. สํานักยุทธศาสตร์และประเมินผล. กรุงเทพมหานคร. "จำนวนประชากร พื้นที่ ความหนาแน่น จำนวนบ้าน จำแนกตามแขวง ในเขตกรุงเทพมหานคร 2563." สถิติกรุงเทพมหานครประจำปี 2563.
  2. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้าน ประจำปี พ.ศ. 2566." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statyear/#/TableTemplate4/Area/statpop?yymm=66&ccDesc=กรุงเทพมหานคร&topic=statpop&ccNo=10&rcodeNo=1020&rcodeDesc=เขตบางกอกน้อย 2566. สืบค้น 19 กุมภาพันธ์ 2567.
  3. ราชบัณฑิตยสถาน. อ่านอย่างไร และ เขียนอย่างไร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 22. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2557, หน้า 56.
  4. "ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง เปลี่ยนแปลงพื้นที่แขวงบางขุนนนท์ แขวงบางขุนศรี แขวงบ้านช่างหล่อ แขวงศิริราช และตั้งแขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 108 (202): 1099. 21 พฤศจิกายน 2534.