ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รายพระนามพระมหากษัตริย์กัมพูชา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ที่มา
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 18: บรรทัด 18:


หน้านี้เป็น'''รายพระนาม[[พระมหากษัตริย์]]ในพระราชอาณาจักร[[กัมพูชา]]''' ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
หน้านี้เป็น'''รายพระนาม[[พระมหากษัตริย์]]ในพระราชอาณาจักร[[กัมพูชา]]''' ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

==สมัย[[อาณาจักรฟูนัน]] <br> (อาณาจักรพนม)==
{| class="wikitable" style="border-collapse: collapse" width="95%" border="1" cellpadding="2"
| width="10%" height="47" align="centre" | <span style="colour:#000080;">'''รัชกาลที่'''</span>
| width="25%" height="47" align="centre" | <span style="colour:#000080;">'''พระนามใน[[ภาษาสันสกฤต]]'''</span>
| width="20%" height="47" align="centre" | พระนามในบันทึกของจีน
| width="20%" height="47" align="centre" | <span style="colour:#000080;">'''ครองราชย์'''</span>
|-
| 01
| นางนาค / [[พระราชินีโสมา]] <br> ทรงร่วมครองราชย์กับพระทอง (ตำนานพระทอง-นางนาค)
| Liǔyè 柳葉 / Yèliǔ葉柳
| align="centre" |ศตวรรษที่ 1-2
|-
| 02
| พระเจ้าเกาฑินยะวรมันเทวะ (พระทอง) <br> (ตำนานพระทอง-นางนาค)
| Hùntián 混塡 / Hùnhuì 混湏
| align="centre" |1st/2nd century
|-
| 03
| Hun Pan-huang
| Hùnpánkuàng 混盤況
| align="centre" |2nd century
|-
| 04
| Pan-Pan
| Pánpán 盤盤
| align="centre" |late 2nd century
|-
| 05
| Srei Meara
| Fàn Shīmàn 范師蔓
| align="centre" |early 3rd century
|-
| 06
| ไม่ทราบพระนาม
| Fàn Jīnshēng 范金生
| align="centre" |c. 230?
|-
| 07
| ไม่ทราบพระนาม
| Fàn Zhān 范旃
| align="centre" |c. 230&nbsp;– c. 243 or later
|-
| 08
| ไม่ทราบพระนาม
| Fàn Cháng 范長
| align="centre" |after 243
|-
| 09
| ไม่ทราบพระนาม
| Fàn Xún 范尋
| align="centre" |245/50-287
|-
| 10
| ไม่ทราบพระนาม
| ไม่ทราบพระนาม
| align="centre" |4th century
|-
| 11
| [[Candana]]
| Zhāntán 旃檀
| align="centre" |c. 357
|-
| 12
| ไม่ทราบพระนาม
| ไม่ทราบพระนาม
| align="centre" |ไม่ทราบ
|-
| 13
| [[Kauṇḍinya]]
| Qiáochénrú 僑陳如
| align="centre" |c. 420
|-
| 14
| [[พระเจ้าศรีอินทรวรมัน]]
| Chílítuóbámó 持梨陀跋摩
| align="centre" |c. 430&nbsp;– c. 440
|-
| 15
| ไม่ทราบพระนาม
| ไม่ทราบพระนาม
| align="centre" |ไม่ทราบ
|-
| 16
| ไม่ทราบพระนาม
| ไม่ทราบพระนาม
| align="centre" |ไม่ทราบ
|-
| 17
| [[พระเจ้าเกาฑินยะ ชัยวรมัน]]
| Qiáochénrú Shéyébámó 僑陳如闍耶跋摩
| align="centre" |484–514
|-
| 18
| [[พระเจ้ารุทรวรมัน]]
| Liútuóbámó 留陁跋摩
| align="centre" |514-c.545
|-
|}


== สมัย[[อาณาจักรเจนละ]] (พ.ศ. 1093–1345) ==
== สมัย[[อาณาจักรเจนละ]] (พ.ศ. 1093–1345) ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:24, 1 สิงหาคม 2563

พระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา
ព្រះមហាក្សត្រនៃព្រះរាជអាណាចក្រកម្ពុជា
ธงมหาราช
อยู่ในราชสมบัติ
พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี
ตั้งแต่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2547
รายละเอียด
พระราชอิสริยยศพระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดี เป็นเจ้าชีวิตเหนือหัว
รัชทายาทเลือกตั้งโดยกรมปรึกษาราชบัลลังก์
กษัตริย์องค์แรกพระเจ้าเกาฑินยะวรมันเทวะ(พระทอง)
สถาปนาเมื่อพ.ศ. 1093
ที่ประทับ พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล ราชธานีพนมเปญ, พระราชอาณาจักรกัมพูชา

พระมหากษัตริย์กัมพูชาทรงเป็นพระประมุขที่สืบเชื้อสายมาจากพวกจาม

หน้านี้เป็นรายพระนามพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชา ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

สมัยอาณาจักรเจนละ (พ.ศ. 1093–1345)

รัชกาล พระนาม ครองราชย์
19 พระเจ้าภววรมันที่ 1 ประมาณ ค.ศ. 550–600
20 พระเจ้ามเหนทรวรมัน (เจนละ) ประมาณ ค.ศ. 600–616
21 พระเจ้าอิศานวรมันที่ 1 ค.ศ. 616–635
22 พระเจ้าภววรมันที่ 2 ค.ศ. 639–657
23 พระเจ้าจันทรวรรมัน ?
24 พระเจ้าชัยวรมันที่ 1 ประมาณ ค.ศ. 657–690
25 พระนางเจ้าชัยเทวี ค.ศ. 690–713
26 พระเจ้าสัมภูวรมัน ค.ศ. 713–716
27 พระเจ้าบุษกรักษา ค.ศ. 716–730
28 พระเจ้าสัมภูวรมัน ประมาณ ค.ศ. 730–760
29 พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 1 ค.ศ. 760–780
30 มหิปติวรมัน
(มหิปาฏิวรมัน)
ค.ศ. 780–788
ตามเอกสารไทย (ช่วงปี ค.ศ. ? – ค.ศ. 802) หรือในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 ตอนปลาย ถึงพุทธศตวรรษที่ 14 ตอนต้น[1]
อาณาจักรศรีวิชัยแห่งชวาภายใต้ราชวงศ์ไศเลนทร์ ยกกองทัพเรือขนาดมหึมาเข้าโจมตีและยึดครองอาณาจักรเจนละ

แหล่งที่มา:[2]

สมัยจักรวรรดิเขมร (พ.ศ. 1345–1896)

รัชกาลที่ พระบรมฉายาลักษณ์ พระนาม ระยะเวลาเสวยราชสมบัติ เมืองหลวง เหตุการณ์สำคัญในรัชสมัย
31 พระเจ้าชัยวรมันที่ 2 802–835 มเหนทรบรรพต, หริหราลัย
(ทรงสถาปนาเป็นเมืองหลวง)
ทรงประกาศอิสรภาพกัมพูชาจากการยึดครองของอาณาจักรศรีวิชัย (ชวา) ทรงสถาปนาจักรวรรดิเขมร และรับการอภิเษกเป็นพระเจ้าจักรพรรดิพนมกุเลนและทรงริเริ่มลัทธิเทวราชขึ้นเป็นครั้งแรกในกัมพูชา
32 พระเจ้าชัยวรมันที่ 3 835–877 หริหราลัย พระราชโอรสในพระเจ้าชัยวรมันที่ 2
33 พระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 877–889 หริหราลัย ภาคิไนยในพระเจ้าชัยวรมันที่ 2, พระองค์ได้ทรงสร้างปราสาทพระโค โดยทรงอุทิศแด่พระราชบิดาและพระอัยกา อีกทั้งยังทรงสร้างปราสาทบากอง
34 พระเจ้ายโศวรมันที่ 1 889–910 ยโศธรปุระ
(ทรงสถาปนาเป็นเมืองหลวง)
พระราชโอรสในพระเจ้าอินทรวรมันที่ 1, พระองค์ได้ทรงสร้างปราสาทโลเลย ทรงย้ายราชธานีไปตั้งที่กรุงยโศธรปุระล้อมรอบด้วยพนมบาเค็ง, อีกทั้งยังทรงโปรดให้ขุดบารายตะวันออก
35 พระเจ้าหรรษวรมันที่ 1 910–923 ยโศธรปุระ พระราชโอรสในพระเจ้ายโศวรมันที่ 1 พระองค์ได้ทรงสร้างปราสาทปักษีจำกรุง
36 พระเจ้าอิศานวรมันที่ 2 923–928 ยโศธรปุระ พระราชโอรสในพระเจ้ายโศวรมันที่ 1, พระเชษฐาในพระเจ้าหรรษวรมันที่ 1 พระองค์ได้ทรงมีบทบาทในการชิงพระราชบัลลังก์พระมาตุลาของพระองค์เอง พระเจ้าชัยวรมันที่ 4, พระองค์ทรงโปรดให้สร้างปราสาทกระวาน
37 พระเจ้าชัยวรมันที่ 4 928–941 เกาะแกร์ พระราชโอรสในพระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 (ประสูติแต่พระขนิษฐาในพระเจ้าอินทรวรมันที่ 1), องค์หญิงมเหนทรเทวี, พระองค์ได้อภิเษกสมรสกับพระขนิษฐาในพระเจ้ายโศวรมันที่ 1, พระองค์ทรงราชาภิเษกโดยอ้างสิทธิ์ทางสายพระราชมารดา, พระองค์ทรงสถาปนาเกาะแกร์เป็นราชธานี
38 พระเจ้าหรรษวรมันที่ 2 941–944 เกาะแกร์ พระราชโอรสในพระเจ้าชัยวรมันที่ 4
39 พระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2 944–968 เมืองพระนคร (ยโศธรปุระ) ทรงเป็นพระปิตุลาและพระภาดาของพระเจ้าหรรษวรมันที่ 2 พระองค์ได้ชิงพระราชบัลลังก์จากพระเจ้าหรรษวรมันที่ 2และทรงย้ายราชธานีกลับมาที่เมืองพระนคร, ทรงโปรดให้สร้างปราสาทแปรรูปและปราสาทแม่บุญตะวันออก, ทรงเริ่มทำสงครามกับอาณาจักรจามปาในปี ค.ศ. 946
40 พระเจ้าชัยวรมันที่ 5 968–1001 ชัยเยนทรนคร ในศรียโศธรปุระ พระราชโอรสของพระเจ้าราเชนทรวรมันที่ 2 ทรงสถาปนาราชธานีแห่งใหม่คือเมืองชัยเยนทรนครและปราสาทตาแก้ว ให้เป็นศูนย์กลางแทนเมืองศรียโศธรปุระ
41 พระเจ้าอุทัยทิตย์วรมันที่ 1 1001–1006 เมืองพระนคร ยุคแห่งความวุ่นวาย, พระมหากษัตริย์ 3 พระองค์ครองราชย์พร้อมกันและต่างขัดแย้ง
42 พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 1006–1050 เมืองพระนคร ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ได้สำเร็จ,ทรงดำเนินนโยบายเป็นพันธมิตรกับราชวงศ์โจฬะและทรงสู้รบกับอาณาจักรตามพรลิงก์, ทรงโปรดให้สร้างปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย, พระองค์ได้ทรงหันมานับถือศาสนาพุทธ,นิกายมหายาน
44 พระเจ้าอุทัยทิตยวรมันที่ 2 1050–1066 เมืองพระนคร (ยโศธรปุระ) ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ได้สำเร็จ, พระองค์ทรงสืบราชสันตติวงศ์แต่พระมเหสีในพระเจ้ายโศวรมันที่ 1, ทรงโปรดให้สร้างปราสาทบาปวน, ทรงโปรดให้ขุดบารายตะวันตกและทรงโปรดให้สร้างปราสาทแม่บุญตะวันตก, รวมถึงปราสาทสด็อกก็อกธม
45 พระเจ้าหรรษวรมันที่ 3 1066–1080 Yaśodharapura II (Angkor) Succeeded his elder brother Udayadityavarman II, capital at Baphuon. Champa invasion in 1074 and 1080.
46 1090–1107 พระเจ้าชัยวรมันที่ 6 1090–1107 Angkor Usurper from Vimayapura. Built Phimai.
47 1107–1113 พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 1 1107–1113 Angkor Succeeded his younger brother, Jayavarman VI.
48 พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 1113–1145 Angkor Usurped and killed his great uncle. Built Angkor Wat, Banteay Samre, Thommanon, Chau Say Tevoda and Beng Mealea. Invade Đại Việt and Champa.
49 พระเจ้าธรณินทรวรมันที่ 2 1150–1160 Angkor Succeeded his cousin Suryavarman II
50 พระเจ้ายโศวรมันที่ 2 1160–1167 Angkor Overthrown by his minister Tribhuvanadityavarman
51 พระเจ้าตรีภูวนาทิตยวรมัน 1167–1177 Angkor Cham invasion in 1177 and 1178 led by Jaya Indravarman IV, looted the Khmer capital.
1178–1181 ถูกรุกรานโดยอาณาจักรจามปา (ว่างเว้นกษัตริย์)
52 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 1181–1218 (ทรงสถาปนานครธมเป็นเมืองหลวง) Led Khmer army against Cham invaders thus liberated Cambodia. Led the conquest of Champa (1190–1191). Major infrastructure constructions; built hospitals, rest houses, reservoirs, and temples including Ta Prohm, Preah Khan, Bayon in Angkor Thom city, and Neak Pean.
53 พระเจ้าอินทรวรมันที่ 2 1219–1243 Angkor พระราชโอรสของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ในรัชสมัยของพระองค์นั้นได้สูญเสียดินแดนทางฝั่งตะวันตกโดยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ทรงประกาศเป็นเอกราชและสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้น และดินแดนทางฝั่งตะวันออกนั้น อาณาจักรจามปา ก็ยังได้ประกาศเอกราชขึ้นมาอีกในรัชสมัยเดียวกัน
54 พระเจ้าชัยวรมันที่ 8 1243–1295 Angkor Mongol invasion led by Kublai Khan in 1283 and war with Sukhothai. Built Mangalartha. He was a zealous Shivaite and eradicated Buddhist influences.
55 พระเจ้าอินทรวรมันที่ 3 1295–1308 Angkor Overthrew his father in law Jayavarman VIII. Made Theravada Buddhism the state religion. Received Yuan Chinese diplomat Zhou Daguan (1296–1297).
56 พระเจ้าอินทรชัยวรมัน 1308–1327 Angkor
57 พระเจ้าสีหนุราชา 1327–1336 Angkor Last Sanskrit inscription (1327).
58 สมเด็จพระองค์ชัย(ตระซ็อกประแอม) 1336–1340 Angkor
59 พระบรมนิพพานบท 1340–1346 Angkor
60 พระสิทธานราชา 1346–1347 Angkor
61 พระบรมลำพงษ์ราชา 1347-1353
1352–1357 สยาม (อาณาจักรอยุธยา) ตีนครธมแตก แต่ยังมีพระมหากษัตริย์ครองราชย์ต่อไป
62 พระบาสาต (พระบากระษัตร) 1353–1356 Angkor
63 พระบาอาต (พระบาอัฐ) 1356–1357 Angkor
64 พระกฎุมบงพิสี 1357 Angkor
65 พระศรีสุริโยวงษ์ 1357–1363 Angkor
66 พระบรมรามา 1363–1373 Angkor
67 พระธรรมาโศกราช 1373–1393 Angkor
1393 สยามตีนครธมแตกเป็นครั้งที่สอง นำโดยสมเด็จพระราเมศวรแห่งกรุงศรีอยุธยา แต่ยังมีพระมหากษัตริย์ครองราชย์ต่อไป
68 พระอินทราชา หรือพญาแพรก 1394–c. 1421 Angkor
69 พระบรมราชารามาธิบดีที่ 1 หรือพระบรมราชาเจ้าพระยาญาติ 1405–1431 กรุงจตุรมุข ทรงทิ้งเมืองนครธมในปี ค.ศ. 1431 และทรงย้ายเมืองหลวงไปตั้งที่กรุงจตุรมุข

กรุงจตุรมุข (พ.ศ. 1931–2083)

รัชกาลที่ พระบรมฉายาลักษณ์ พระนาม ระยะเวลาเสวยราชสมบัติ เมืองหลวง เหตุการณ์สำคัญในรัชสมัย
69 พระบรมราชารามาธิบดีที่ 1(หรือพระบรมราชาเจ้าพญาญาติ) พ.ศ. 1916–1976 (ทรงสถาปนากรุงจตุรมุขเป็นราชธานี) ทรงย้ายราชธานีมายังกรุงจตุรมุข
เข้าสู่ยุคอาณาจักรเขมรจตุรมุข
70 พระนารายณ์รามาธิบดี หรือพระนารายณ์ราชาที่ 1 (พญาคำขัด) พ.ศ. 1976–1980 ทรงย้ายราชธานีกลับมาเมืองพระนคร
71 เจ้าพญาศรีราชา พ.ศ. 1981–2019 เมืองพระนคร *(ถูกเจ้าพญาเดียรราชา พระอนุชาชิงราชสมบัติ)
72 พระศรีสุริโยไทยราชา หรือเจ้าพญาเดียรราชา พ.ศ. 1981–2019 (โอรสเจ้าพญาญาติ กับพระอิทรมิตรา พระราชธิดาสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 กษัติย์อยุธยา) ถูกพระพระธรรมราชาชิงราชสมบัติ
73 พระธรรมราชาธิราชรามาธิบดี พ.ศ. 2011–2047 กรุงจตุรมุข (โอรสพระศรีสุริโยไทย กับธิดาขุนทรงพระอินทร์ขุนนางอยุธยาที่ถูกส่งมาเป็นเจ้าเมืองโพธิสัตว์) ทรงถูกพระอนุชาก่อกบฏ แต่ทรงขอกำลังอยุธยาปราบกบฏได้ และย้ายราชธานีกลับมาเมืองจตุรมุขอีกครั้ง
74 พระศรีสุคนธบท หรือพญางามขัต หรือเจ้าพระยาฎำขัตราชา พ.ศ. 2047–2055 กรุงบาสาณ (ย้ายราชธานีมาอยู่เมืองบาสาณ)
75 พระเจ้าไชยเชษฐาฐิราช หรือเจ้ากน หรือขุนหลวงพระเสด็จ พ.ศ. 2055–2068 กรุงบาสาณ (ชิงราชสมบัติพระศรีสุคนธบท ตั้งตนเป็นกษัตริย์ที่เมืองบาสาณ)
76 พระบรมราชาที่ 2 (พญาจันทน์) พ.ศ. 2059–2109 กรุงละแวก (อนุชาพระศรีสุคนทบท หนีขุนหลวงพระเสด็จมาพึ่งกรุงศรีอยุธยา ภายหลังได้ครองราย์และย้ายราชธานีไปที่ละแวก)
อาณาจักรเขมรจตุรมุขเปลี่ยนมาเป็นอาณาจักรเขมรละแวกได้ตกเป็นประเทศราชของสยาม (กรุงศรีอยุธยา)

กรุงละแวก (พ.ศ. 2083–2140)

รัชกาลที่ พระบรมฉายาลักษณ์ พระนาม ระยะเวลาเสวยราชสมบัติ เมืองหลวง เหตุการณ์สำคัญในรัชสมัย
76 พระบรมราชาที่ 2 (พญาจันทน์) พ.ศ. 2059–2109 (ทรงสถาปนากรุงละแวกเป็นราชธานี) ทรงย้ายราชธานีมายังกรุงละแวก
เข้าสู่ยุคอาณาจักรเขมรละแวก
77 สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก) หรือ พระยาละแวก หรือ ปรมินทราชา พ.ศ. 2109–2119 กรุงละแวก ทรงประกาศอิสรภาพจากกรุงศรีอยุธยา, ทำสงครามและเข้าโจมตีกรุงศรีอยุธยา
สมเด็จพระบรมราชาที่ 3 (พระยาละแวก)ทรงประกาศอิสรภาพจากกรุงศรีอยุธยา
อาณาจักรเขมรละแวกได้เอกราชจากสยาม (กรุงศรีอยุธยา)
78 สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 (นักพระสัตถา) หรือ นักพระสัตถา พ.ศ. 2119–2137 กรุงละแวก *(ครองราชย์ร่วมกับพระโอรส)
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงยกทัพไปตีกรุงละแวกได้สำเร็จ
อาณาจักรเขมรละแวกได้ตกเป็นประเทศราชของสยาม (กรุงศรีอยุธยา) เป็นครั้งที่สอง
79 พระไชยเชษฐาที่ 1 นักพระสัตถา พ.ศ. 2127–2137 กรุงละแวก สถาปนาเป็นกษัตริย์ครองราชย์พร้อมกัน
80 พระบรมราชาที่ 5 (พญาตน) พ.ศ. 2127–2137 กรุงละแวก นักพระสัตถาสถาปนาเป็นกษัตริย์ครองราชย์พร้อมกัน

กรุงศรีสุนทร (พ.ศ. 2140–2162)

รัชกาลที่ พระบรมฉายาลักษณ์ พระนาม ระยะเวลาเสวยราชสมบัติ เมืองหลวง เหตุการณ์สำคัญในรัชสมัย
80 พระบาทรามเชิงไพร หรือพระรามที่ 1 พ.ศ. 2137–2139 (ทรงสถาปนากรุงศรีสุนทรเป็นราชธานี) ทรงย้ายราชธานีมายังกรุงศรีสุนทร, เข้าสู่ยุคอาณาจักรเขมรศรีสุนทร
81 พระรามที่ 2 (พญานูร) พ.ศ. 2139–2139/2140 กรุงศรีสุนทร
82 พระบรมราชาที่ 5 (พญาตน) พ.ศ. 2139/2140–2142 กรุงศรีสุนทร ครองราชย์ครั้งที่ 2 ที่เมืองศรีสันธร
83 พระบรมราชาที่ 6 (พญาอน) พ.ศ. 2142–2143: กรุงศรีสุนทร
84 พระแก้วฟ้าที่ 1 หรือเจ้าพญาโญม (Chau Ponhea Nhom) พ.ศ. 2143–2145 กรุงศรีสุนทร
85 พระแก้วฟ้าที่ 1 หรือเจ้าพญาโญม (Chau Ponhea Nhom) พ.ศ. 2143–2145 กรุงศรีสุนทร
86 พระบรมราชาที่ 7 (ศรีสุริโยพรรณ) หรือพระศรีสุพรรณมาธิราช พ.ศ. 2145–2162 กรุงศรีสุนทร
87 พระไชยเชษฐาที่ 2 (Chettha I) หรือพระชัยเจษฎา พ.ศ. 2162–2170 กรุงศรีสุนทร

กรุงอุดงฦๅไชย (พ.ศ. 2162–2384)

สมัยอาณาจักรธนบุรี

หมายเหตุ: สยามในนามอาณาจักรอยุธยาล่มสลายเมื่อ พ.ศ. 2310 และถูกฟื้นฟูขึ้นใหม่ในนามอาณาจักรธนบุรี

สมัยอาณาจักรรัตนโกสินทร์

หมายเหตุ: สยามในนามอาณาจักรธนบุรีสิ้นสภาพจากการสวรรคตของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และมีการสถาปนาอาณาจักรรัตนโกสินทร์ขึ้นแทนที่ใน พ.ศ. 2325

ราชอาณาจักรกัมพูชา

ราชอาณาจักรกัมพูชา
พระบรมฉายาลักษณ์ รายพระนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ
ไฟล์:King Ang Doung.jpg สมเด็จพระหริรักษ์รามมหาอิศราธิบดี (นักองค์ด้วง) พ.ศ. 2384 พ.ศ. 2403
พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร (นักองค์ราชาวดี) พ.ศ. 2403 พ.ศ. 2447 กัมพูชาพ้นจากความเป็นประเทศราชของสยาม และกลายเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ. 2406
พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ (นักองค์สีสุวัตถิ์) พ.ศ. 2447 พ.ศ. 2470
ไฟล์:Monivon1931.gif พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ (นักองค์สีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์) พ.ศ. 2470 พ.ศ. 2484
พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ พ.ศ. 2484 พ.ศ. 2498 กัมพูชาได้รับเอกราชจากฝรั่งเศสโดยสมบูรณ์ พ.ศ. 2496
ไฟล์:Suramarit.jpg พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2503 พระราชบิดาของพระบาทสมเด็จพระนโรดมสีหนุ
ตำแหน่งถูกยกเลิก พ.ศ. 2503 พ.ศ. 2536
พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ พ.ศ. 2536 พ.ศ. 2547 ฟื้นฟูราชอาณาจักรกัมพูชาขึ้นใหม่ พ.ศ. 2536
พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี พ.ศ. 2547 ปัจจุบัน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ

อ้างอิง

  1. http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=933
  2. O'Reilly, Dougald J. W. (2007). Early Civilizations of Southeast Asia by Dougald J. W. O'Reilly - Chenla. ISBN 9780759102798. สืบค้นเมื่อ 30 December 2015.