จักรวรรดิเขมร
จักรวรรดิเขมร ចក្រភពខ្មែរ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ค.ศ. 802–ค.ศ. 1431 | |||||||||||||
ธงชาติ | |||||||||||||
![]() จักรวรรดิเขมรในช่วงสูงสุดใน ค.ศ. 1203 หลังการพิชิตจามปา | |||||||||||||
สถานะ | จักรวรรดิ | ||||||||||||
เมืองหลวง | มเหนทรบรรพต (ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9) หริหราลัย (คริสต์ศตวรรษที่ 9) เกาะแกร์ (ค.ศ. 928–944) ยโสธรปุระ (เมืองพระนคร) (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 - ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15) | ||||||||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษาเขมรเก่า ภาษาสันสกฤต | ||||||||||||
ศาสนา | พราหมณ์ฮินดู พุทธมหายาน พุทธเถรวาท | ||||||||||||
การปกครอง | สมมติเทพ, สมบูรณาญาสิทธิราชย์ | ||||||||||||
กษัตริย์ | |||||||||||||
• ค.ศ. 802–850 | ชัยวรมันที่ 2 | ||||||||||||
• ค.ศ. 1113–1150 | สุริยวรมันที่ 2 | ||||||||||||
• ค.ศ. 1181–1218 | ชัยวรมันที่ 7 | ||||||||||||
• ค.ศ. 1417–1431 | พระบรมราชา (เจ้าพระยาญาติ) | ||||||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สมัยกลาง | ||||||||||||
ค.ศ. 802 | |||||||||||||
• การสร้างนครวัด | ค.ศ. 1113–1150 | ||||||||||||
ค.ศ. 1431 | |||||||||||||
พื้นที่ | |||||||||||||
ค.ศ. 1290[1][2] | 1,000,000 ตารางกิโลเมตร (390,000 ตารางไมล์) | ||||||||||||
|
ประวัติศาสตร์กัมพูชา | |
---|---|
![]() | |
ประวัติศาสตร์ยุคแรก | |
อาณาจักรฟูนาน (611–1093) | |
อาณาจักรเจนละ (1093–1345) | |
จักรวรรดิเขมร (1345–1974) | |
ยุคมืด | |
สมัยจตุมุข (1974–2068) | |
สมัยละแวก (2068–2136) | |
สมัยศรีสันธร (2136–2162) | |
สมัยอุดง (2162–2406) | |
ยุครัฐในอารักขา | |
ไทยและเวียดนาม | |
อาณานิคมฝรั่งเศส (2406–2496) ส่วนหนึ่งของอินโดจีนฝรั่งเศส | |
ยุคญี่ปุ่นยึดครอง (2484–2489) | |
หลังได้รับเอกราช | |
สงครามกลางเมืองกัมพูชา (2510–2518) | |
รัฐประหาร พ.ศ. 2513 | |
สาธารณรัฐเขมร | |
สงครามเวียดนาม พ.ศ. 2513 | |
ยุคเขมรแดง (2518–2519) | |
สงครามกัมพูชา–เวียดนาม (2518–2532) | |
สาธารณรัฐประชามานิตกัมพูชา (2522–2536) | |
การจัดการเลือกตั้งโดยสหประชาชาติ | |
ราชอาณาจักรกัมพูชา (2536–ปัจจุบัน) | |
หลังการเลือกตั้ง พ.ศ. 2536 | |
| |
จักรวรรดิเขมร (เขมร: ចក្រភពខ្មែរ) หรือ จักรวรรดิอังกอร์ (เขมร: ចក្រភពអង្គរ) เป็นหนึ่งในอาณาจักรโบราณที่เริ่มต้นขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจากอาณาจักรฟูนัน[3] แล้วปกครองและ/หรือสร้างรัฐบริวารในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นดินส่วนใหญ่[4] และบางส่วนของจีนใต้ โดยมีขนาดตั้งแต่ปลายคาบสมุทรอินโดจีนไปทางเหนือถึงมณฑลยูนนาน ประเทศจีนในปัจจุบัน และจากทางตะวันตกของประเทศเวียดนามถึงประเทศพม่า[5][6] ในช่วงสูงสุด จักรวรรดิเขมรมีขนาดใหญ่กว่าจักรวรรดิไบแซนไทน์ (จักรวรรดิโรมันตะวันออก) ที่มีอยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน[7]
อาณาจักรเขมรสืบทอดอำนาจจากอาณาจักรเจนฬา มีสงครามผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะกับอาณาจักรข้างเคียง เช่น อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรจามปา มรดกที่สำคัญที่สุดของอาณาจักรเขมรคือ นครวัด และ นครธม ซึ่งเคยเป็นนครหลวงเมื่อครั้งอาณาจักรแห่งนี้มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด และยังมีลัทธิความเชื่อต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ศาสนาหลักของอาณาจักรนี้ได้แก่ ศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธทั้งมหายานและเถรวาทซึ่งได้รับจากศรีลังกา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 13
จุดเริ่มต้นของสมัยจักรวรรดิกัมพูชาตามธรรมเนียมอยู่ใน ค.ศ. 802 เมื่อพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 ประกาศตัวพระองค์เป็นพระเจ้าจักรพรรดิที่พนมกุเลน และสิ้นสุดลงตอนอาณาจักรอยุธยายึดครองนครวัดใน ค.ศ. 1431
นิรุกติศาสตร์[แก้]
นักวิชาการสมัยใหม่มักกล่าวถึงจักรวรรดิว่า จักรวรรดิเขมร หรือ จักรวรรดิอังกอร์ ซึ่งภายหลังมีชื่อมาจากอดีตราชธานี อังกอร์
จักรวรรดิเรียกตัวเองว่า กัมพูชา (สันสกฤต: कम्बोज; เขมรเก่า: កម្វុជ; เขมร: កម្ពុជ) หรือ กัมพูชาเทศ (สันสกฤต: कम्बुजदेश; เขมรเก่า: កម្វុជទេឝ; เขมร: កម្ពុជទេស) ซึ่งเป็นศัพท์โบราณของคำว่า กัมพูชา
การเปลี่ยนแปลงดินแดน[แก้]
พื้นที่จักรวรรดิเขมรระบายด้วยสีแดง
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Turchin, Peter; Adams, Jonathan M.; Hall, Thomas D (December 2006). "East-West Orientation of Historical Empires". Journal of World-Systems Research. 12 (2): 223. ISSN 1076-156X. สืบค้นเมื่อ 16 September 2016.
- ↑ Rein Taagepera (September 1997). "Expansion and Contraction Patterns of Large Polities: Context for Russia". International Studies Quarterly. 41 (3): 493. doi:10.1111/0020-8833.00053. JSTOR 2600793. สืบค้นเมื่อ 7 September 2018.
- ↑ "ประวัติศาสตร์อาณาจักรเขมร". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-05-06. สืบค้นเมื่อ 2007-05-06.
- ↑ Infoplease
- ↑ Reynolds, Frank. "Angkor". Encyclopædia Britannica. Encyclopædia Britannica, Inc. สืบค้นเมื่อ 17 August 2018.
- ↑ Plubins, Rodrigo. "Khmer Empire". World History Encyclopedia. สืบค้นเมื่อ 17 August 2018.
- ↑ Galloway, M. (2021, May 31). How Did Hydro-Engineering Help Build The Khmer Empire? The Collector. Retrieved November 12, 2021, from
บรรณานุกรม[แก้]
- Cœdès, George (1966). The making of South East Asia. University of California Press. ISBN 0-520-05061-4.
- Freeman, Michael; Jacques, Claude (2006). Ancient Angkor. River Books. ISBN 974-8225-27-5.
- Higham, Charles (2001). The Civilization of Angkor. Phoenix. ISBN 978-1-84212-584-7.
- Vittorio Roveda: Khmer Mythology, River Books, ISBN 974-8225-37-2
- Dagens, Bruno (1995) [1989]. Angkor: Heart of an Asian Empire. ‘New Horizons’ series. แปลโดย Sharman, Ruth. London: Thames & Hudson. ISBN 0-500-30054-2.
- Keyes, Charles F. (1995). The Golden Peninsula. University of Hawaii Press. ISBN 978-0-8248-1696-4.
- Rooney, Dawn F. (2005). Angkor: Cambodia's wondrous khmer temples (5th ed.). Odissey. ISBN 978-962-217-727-7.
- David P. Chandler: A History of Cambodia, Westview Press, ISBN 0-8133-3511-6
- Liang, Jieming (2006), Chinese Siege Warfare: Mechanical Artillery & Siege Weapons of Antiquity, Singapore, Republic of Singapore: Leong Kit Meng, ISBN 981-05-5380-3
- Zhou, Daguan (2007), The Customs of Cambodia, The Siam Society, ISBN 978-974-8359-68-7
- Henri Mouhot: Travels in Siam, Cambodia, Laos, and Annam, White Lotus Co, Ltd., ISBN 974-8434-03-6
- Vickery, Michael (1998). Society, economics, and politics in pre-Angkor Cambodia: the 7th–8th centuries. Toyo Bunko. ISBN 978-4-89656-110-4.
- Benjamin Walker, Angkor Empire: A History of the Khmer of Cambodia, Signet Press, Calcutta, 1995.
- I.G. Edmonds, The Khmers of Cambodia: The story of a mysterious people
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°26′N 103°50′E / 13.433°N 103.833°E
![]() |
บทความเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประวัติศาสตร์ |