รายพระนามและชื่อประมุขแห่งรัฐยูเครน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่คือรายนามผู้ปกครองดินแดนที่เป็นส่วนหนึ่งของยูเครนในปัจจุบัน

ยุคโบราณ[แก้]

ยุคอพยพ[แก้]

ใยยุโรปตะวันออกเกิดการอพยพครั้งใหญ่เนื่องจากการมาถึงของชาวกอท จากภูมิภาคบอลติกมายังดินแดนที่เป็นยูเครนในปัจจุบัน, ราว ค.ศ. 200 พวกเขาเข้ายึดครองหรือหลอมรวมกับชนพื้นเมืองสลาฟ ชาวกอทถูกขับไล่โดยการรุกรานของชาวฮัน ประมาณ ค.ศ. 375 พวกกอทยังคงยึดครองยุโรปใต้ และชาวฮันก็ย้ายไปอยู่ที่คาบสมุทรบอลข่านและสร้างจักรวรรดิฮัน ซึ่งกินเวลานานนับร้อยปี หลังการล่มสลายของจักรวรรดิฮัน ชาวฮันที่เหลืออยู่ได้ยถอยร่นไปอยู่บริเวณยูเครนตอนเหนือและสถาปนาพาเทรีย โอโนกูเรีย ในฐานะบัลแกเรียเก่า ในศตวรรษที่ 7 โอโนกูเรียเสียดินแดนส่วนใหญ่ให้กับคาซาเรีย – รัฐเตอร์กที่ขยายตัวโดยมีศูนย์กลางที่ภาคเหนือของคอเคซัส ซึ่งควบคุมบริเวณเอเชียจนถึงศตวรรษที่ 9

ผู้ปกครองชาวกอท[แก้]

เทอร์วิงกี[แก้]

ราชวงศ์บอลตี, Balth(e)s, Baltungs, or Balthings, existed among the เทอร์วิงกร ("ชาวป่า"), ถูกเรียกในภายหลังว่า วิสิกอธ นามของเดรฟเลียนและชาวกอท เทอร์วิงกีใน ยูเครนมีการอ้างถึงฝ่ายตรงข้ามคือ อากัก-อารี ("ชาวป่า" ในภาษาเติร์ก).

กริวทุงกี[แก้]

ราชวงศ์อามาลี, Amals, Amaler, or Amalings แห่ง กริวทุงกี ("steppe dwellers" or "people of the pebbly coasts"), ถูกเรียกภายหลังว่าออสโตรกอท.

ผู้ปกครองชาวฮัน[แก้]

ผู้ปกครองพาเทรีย โอโนกูเรีย[แก้]

ข่านแห่งคาซาร์[แก้]

อาณาจักรข่านแห่งคาซาร์ปกครองบริเวณตอนใต้และภาคตะวันออกของยูเครนในปัจจุบันจนกระทั่งศตวรรษที่ 10

ประมุขแห่งเคียฟและเคียฟรุส (ราว ค.ศ. 375/ค.ศ. 800–1240/ค.ศ. 1362)[แก้]

ประมุขแห่งเคียฟในตำนานและประวัติศาสตร์ตำนานและประวัติศาสตร์[แก้]

ภาพ นาม เกิด-ตาย Ruled From Ruled Until
บอซฮ์ (Bož, Boz, Booz, Box), กษัตริย์แห่งชาวอันเตส, ชาวสลาฟทางตะวันออก ศตวรรษที่ 4 ? 376
อะลิป-บี (Baltazár), โอรสใน บาลัมเบอร์ a.k.a. บึลลือเมร์, ข่านแห่งชาวฮั่นตะวันตก ถูกฝังในภูเขาคูยานตู (ปัจจุบันคือเมืองเคียฟ) ศตวรรษที่ 4 378 390
คยี, ในตำนานว่าเป็นผู้สถาปนาเมืองเคียฟ, เจ้าชายชาวสลาฟจากกุยาเวีย, เป็นไปได้ว่าอยู่บริเวณ โปแลนด์ตะวันออก ศตวรรษที่ 5–6 482 ?
โอเลก (เฮลเง หรือ เฮลกี), อาจเป็นชาวเดนมาร์กหรือสวีเดน, ไม่มีหลักฐานว่าเป็นวอยวอร์ดเคียฟ, อยู่ภายใต้อาณาจักรข่านแห่งคาซาร์ ศตวรรษที่ 8 ? ?
บราฟลีน, อาจเป็นชาวสวีเดน,[1] วอยวอร์ดวารันเจียน ใน อาณาจักรข่านแห่งรุส ศตวรรษที่ 8-9 c. 790 c. 810
อัสโคลด์และดีร์ (Høskuldr and Dýri),[2] เป็นไปได้ว่าเป็น ชาวสวีเดน , ผู้นำชาววารันเจียน แต่มิใช่วงศ์รูริก,ปกครองเคียฟ (khagans) แต่มิใช่เคียฟรุส ? - 882 c. 842[3] 882

ราชวงศ์รูริค[แก้]

ราชวงศ์รูริคสืบเชื้อสายมาจากรูริค (Hrørekr) ผู้นำชาววารันเจียน

ผู้ปกครองทั้งหมดของเคียฟรุส ก่อนการเข้ารีตของวลาดีเมียร์ที่ 1 และนำพาอาณาจักรทั้งหมดเป็นศาสนาคริสต์ คือผู้ปกครองในตำแหน่ง ปะกัน (Pagan) ยกเว้นโอลก้าแห่งเคียฟ

รายพระนาม[แก้]

(Note: Here the numbering of the princes is the same for all principalities, as all were titled Princes of Rus', despite of the different parts of land and its particular numbering of the rulers. The princes are numbered by the year of their (first) succession.)

พระนาม ภาพ ประสูติ รัชสมัย ดินแดน อภิเษกสมรส สวรรคต หมายเหตุ
รูริคที่ 1
(Рюрик)
Old Norse: Rørik
ไม่ปรากฏ 862-879 เคียฟรุส
(ในนอฟโกรอด)
ไม่ปรากฏ
บุตรชายอย่างน้อย 1
879 เจ้าชายแห่งโนฟกรอด สถาปนาราชวงศ์
โอเลก ผู้ทำนาย
(Олег Віщий)
Old Norse: เฮลกี[4]
ไม่ปรากฏ 879-912 เคียฟรุส ไม่ปรากฏ 912 ข่านวารันเจียนแห่ง Holmgård (Novgorod) และ Kønugård (Kiev). ความสัมพันธ์ทางเครือญาติไม่แน่ชัด.เป็นไปได้ว่าสำเร็จราชการในนามอีกอร์ โอรสรูริค
อีกอร์ที่ 1 ผู้อาวุโส
Igor Rurikovich
(Ігор Старий[5])
Old Norse: Ingvar Röreksson
c.878
โอรสใน รูริคที่ 1
912-945 เคียฟรุส 901 หรือ 902
โอรสอย่างน้อย 1
945
อิสโกรอสเตน
พระชนมายุ 66–67 ปี
เซนต์ โอลกาแห่งเคียฟ
(Saint Olga)
(Свята Ольга)
Old Norse: เฮลกา
c.890
พีสคอฟ
945-962 เคียฟรุส 11 กรกฎาคม 969
เคียฟ
พระชนมายุ 78–79 ปี
สำเร็จราชการแทนพระโอรส, ได้รับศีลจุ่มจากจักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 7 แต่ล้มเหลวในการนำศาสนาคริสต์เข้าเคียฟ
สเวียโตสลาฟที่ 1 ผู้กล้าหาญ
Sviatoslav Igorevich
(Святосла́в Хоро́брий)
Old Norse: Sveinald Ingvarsson[6]
c.942
คาดว่า เคียฟ
โอรสในอีกอร์ผู้อาวุโส กับ เซนต์ โอลก้า
962-972 เคียฟรุส เพรดสลาวา
c.954
โอรส 2

มาลูชา/มัลฟริดา[7][8]
c.958
โอรสอย่างน้อย 1
มีนาคม 972
คอร์ตีเซีย
พระชนมายุ 29–30 ปี
ผู้ปกครองที่แท้จริงคนแรกของรุส ผู้ทำลาย อาณาจักรข่านแห่งคาซาร์ และรวมราชรัฐรุสทั้งมวลมาอยู่ภายใต้พระราชบัลลังก์เคียฟ
ยาโรโพล์คที่ 1
Yaropolk Sviatoslavich
(Яропо́лк Святосла́вич)
Old Norse: Iaropolk Sveinaldsson
c.950
โอรสในสเวียโตสลาฟที่ 1 ผู้กล้าหาญกับเพรดสลาวา
972-980 เคียฟรุส แม่ชีชาวกรีก
โอรสอย่างน้อย 1
980
ป้อมรอเดน,ใกล้ คานีฟ
พระชนมายุ 29–30 ปี
ได้รับศีลล้างบาปเป็นนิกายโรมันคาทอลิกแล้วก็ถูกสังหารโดย ชาววารันเจียน 2 คน
วลาดิเมียร์ที่ 1 มหาราช
Vladimir Basil Sviatoslavich
(Володимир Великий/Володимѣръ Свѧтославичь)
Old Norse: Valdamarr Sveinaldsson
c.958
บุดยาไทชิ
โอรสในสเวียโตสลาฟที่ 1 ผู้กล้าหาญกับมาลูชา/มัลฟริดา
980-1015 เคียฟรุส โอลาวา/อัลโลเกีย
c.977
โอรสอย่างน้อย 1

แม่ชีชาวกรีก
(พระชายาม่ายในพระเชษฐา)
c.980
โอรสอย่างน้อย 1

ร็อกเนดาแห่งโปโลตซก์
c.978
(possibly in bigamy)
8 พระองค์

อาเดลา (แห่งบัลแกเรีย?)
อย่างน้อย 2 พระองค์ (มากสุด 4)

มัลฟรีดา (แห่งโบฮีเมีย?)
ก่อน 1000
2 พระองค์

อันนา โปรฟีโรเจนิต้าแห่งไบแซนทิอุม
988
เชอร์ซอน
3 พระองค์

เรเกลินดิส (?) แห่งแซ็กโซนี (พระราชนัดดาใน ออโตที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์)
หลัง 1011
พระราชธิดา 1 หรือ 2 พระองค์

ไม่ปรากฏนาม
2 พระองค์
15 กรกฎาคม 1015
เบเรสตอฟ, เคียฟ
พระชนมายุ 57–58 ปี
ค.ศ. 988 ทรงรับศีลจุ่มจากออร์ทอดอกซ์และทรงประสบความสำเร็จในการนำศาสนาคริสต์เข้ามายังเคียฟรุส
สเวียโตโพล์คที่ 1 ผู้เคราะห์ร้าย
Sviatopolk Yaropolkovich
(Святополк Окаянний)
Old Norse: Sveinpolk Iaropolksson
c.980
โอรสในสเวียโตสลาฟที่ 1 ผู้กล้าหาญกับเพรดสลาวา
1015-1019 เคียฟรุส ไม่ปรากฏนาม
(พระธิดาในโบเรสเลาว์ที่ 1 แห่งโปแลนด์)
ไร้รัชทายาท
1019
พระชนมายุ 38–39 ปี
ยาโรสลาฟที่ 1 ผู้เรืองปัญญา
Yaroslav George Vladimirovich
(Яросла́в Му́дрий)
Old Norse: Jarizleifr Valdamarrsson[9]
c.978
โอรสในวลาดิเมียร์ที่ 1 มหาราช กับร็อกเนดาแห่งโปโลตซก์
1019-1054 เคียฟรุส อินเกเกิร์ด โอลอฟดอทเทอร์แห่งสวีเดน
1019
โนฟโกรอด
8-9 พระองค์
20 กุมภาพันธ์ 1054
วิชโฮรอด
พระชนมายุ 75–76 ปี
เจ้าชายแห่งรอสตอฟ, เจ้าชายแห่งนอฟโกรอด, และแกรนด์ปรินซ์แห่งเคียฟ; ในช่วงรัชสมัยของพระองค์ เป็นจุดสุดยอดของอำนาจของเคียฟรุส
อิซยาสลาฟที่ 1
Iziaslav Demetrius Yaroslavich
(Ізяслав Ярославич)
Old Norse: Izjasleifr(?) Jarizleifsson
c.1024
โอรสในยาโรสลาฟที่ 1 ผู้เรืองปัญญากับอินเกเกิร์ด โอลอฟดอทเทอร์แห่งสวีเดน
1054-1068

1069-1073

1076-1078
เคียฟรุส เกอร์ทรูดแห่งโปแลนด์
1043
3 พระองค์
3 ตุลาคม 1078
นิซิน
พระชนมายุ 53–54
ครองราชย์ 3 ครั้ง, ทรงถูกรุกรานโดยเหล่าพระญาติของพระองค์ วีเซสลาฟแห่งโปลอตซก์ (1068–69) และ สเวียตอสลาฟที่ 2 แห่งเคียฟ (1073-76). ทรงเป็นปฐมกษัตริย์แห่งรัส พระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 7 ส่งมงกุฎมาจากโรมใน 1075
วีเซสลาฟที่ 1 ผู้ทำนาย
Vseslav Basil Bryacheslavich
(Всеслав Брячиславич)
c.1039
โปโลตซก์
โอรสใน บีร์ยาชิสลาฟแห่งโปโลตซก์โปโลตซก์
1068-1069 เคียฟรุส ไม่ปรากฏนาม
โอรส 6 พระองค์
24 April 1101
โปโลตซก์
พระชนมายุ 61–62
ปกครองเป็นระยะเวลาสั้น ๆ ในรัชกาลของอิซยาสลาฟที่ 1 ทรงเป็นเจ้าชายแห่งโปลอตซก์
สเวียโตสลาฟที่ 2
Sviatoslav Nicholas Yaroslavich
(Святослав Ярославич)
Old Norse: Sveinald Jarizleifsson
c.1027
เคียฟ
โอรสในยาโรสลาฟที่ 1 ผู้เรืองปัญญากับอินเกเกิร์ด โอลอฟดอทเทอร์แห่งสวีเดน
1073-1076 เคียฟรุส เซซิเลีย แห่ง ดิทมาร์สเชิน[10]
ระหว่าง 1043 ถึง 1047
5 พระองค์

โอดาแห่งสตาเดน (นอร์ดมาร์ก)
c.1065
พระราชโอรส 1 พระองค์
27 ธันวาคม 1076
เคียฟ
พระชนมายุ 48–49
ปกครองเป็นระยะเวลาสั้น ๆ ในรัชกาลของอิซยาสลาฟที่ 1 พระเชษฐา
วิเซโวลอดที่ 1
Vsevolod Andrew Yaroslavich
(Всеволод Ярославич)
Old Norse: Vissivald Jarizleifsson
c.1030
โอรสในยาโรสลาฟที่ 1 ผู้เรืองปัญญากับอินเกเกิร์ด โอลอฟดอทเทอร์แห่งสวีเดน
1078-1093 เคียฟรุส Anastasia of Byzantium
c.1053
2 พระองค์

Anna of Cumania
c.1070
4 พระองค์
13 เมษายน 1093
Vyshhorod
พระชนมายุ 62–63
แย่งชิงบัลลังก์จากพระภาติยะ, ยาโรโพล์ค อิซยาสลาวิช
เซนต์ ยาโรโพล์ค (ที่ 3) อิซยาสลาวิช
Yaropolk Peter Iziaslavich
(Ярополк Ізяславич)
Old Norse: Iaropolk Izjasleifsson (?)
c.1043
โอรสใน อิซยาสลาฟที่ 1 กับ เกอร์ทรูดแห่งโปแลนด์
1078-1087 เคียฟรุส คูนิกุนเดแห่งเมิสเซิน
c.1071
4 พระองค์
22 November 1087
ซเวนีโฮรอด
พระชนมายุ 62–63
As hereditary King of Rus (title assumed until his death), was a legitimate contestant for the throne, usurped by his uncle.
สเวียโตโพล์คที่ 2
Sviatopolk Michael Iziaslavich
(Всеволод Ярославич)
Old Norse: Sveinpolk Izjasleifsson (?)
8 พฤศจิกายน 1050
โอรสใน อิซยาสลาฟที่ 1 กับ เกอร์ทรูดแห่งโปแลนด์
1093-1113 เคียฟรุส ไม่ปรากฏนาม
(daughter of Spytihněv II of Bohemia)[11]
c.1085
43 พระองค์

โอเลนน่าแห่งชนคิปชัก
c.1094
4 พระองค์
26 April 1113
วิสโฮรอด
พระชนมายุ 62 ปี
กู้ราชบัลลังก์ของพระราชบิดาจากพระปิตุลา, เชื้อสายแห่งพระองค์สูญเสียสิทธิในราชบัลลังก์แห่งเคียฟ หลังการแบ่งดินแดนโดยผลของสภาลิวเบคใน 1097, เคียฟรุสถูกลดความสำคัญลงไปและตั้งแต่ ค.ศ. 1132 จึงเปลี่ยนชื่อเป็นเคียฟ
หลังสภาลิวเบก ในค.ศ. 1097 เคียฟรุส เข้าสู่สมัยฟิวดัล และถูกแบ่งเป็นกลุ่มราชรัฐที่ปกครองโดยเจ้าชายจากราชวงศ์ รูริค เหล่าเจ้าชายที่อยู่ในอำนาจอย่างต่อเนื่องต่อสู้กัน. ราชรัฐใหญ่ ๆ ได้แก่กาลีเซีย-โวลฮีเนีย, เคียฟ, เชอร์นิกอฟ, และ เพเรยาสลาฟ ในยุค1240–1362, สามราชรัฐหลังถูกบังคับให้ยอมรับอำนาจ จักรวรรดิโกลเดนฮอร์ด โปรดดู รายชื่อรัฐสลาฟตะวันออกยุคแรก
เดวิดที่ 1 สเวียโตสลาวิช 1050 1097-1123 เชอร์นิกอฟ เธโอโดเซีย
5 พระองค์
1123 โอรสในสเวียโตสลาฟที่ 2
เดวิดที่ 1 อิกอเรวิช 1055 1097-1099 โวลฮีเนีย ไม่ปรากฏนาม
3 พระองค์
25 May 1112 พระนัดดาในยาโรสลาฟที่ 1
วลาดิเมียร์ที่ 2 โมโนมาค
Vladimir Basil Vsevolodovich
(Володимир Мономах)
Old Norse: Valdamarr Vissivaldsson
1053
โอรสวีเซโวลอดที่ 1 และอนาสตาเซียแห่งไบแซนทิอุม
1097-1113 เพเรยาสลาฟ กีทาแห่งเวสเซ็กซ์
c.1074
5/6 พระองค์

ยูเฟเมียไบแซนทิอุม
c.1100
6/7 พระองค์

ไม่ปรากฏนาม
(พระธิดาในเอปา โอเซเนวิช, ข่านแห่งคูมาเนีย)
After 1107
ไม่ปรากฏ
19 May 1125
เคียฟ
พระชนมายุ 71–72 ปี
ปกครองโดยปฏิปักษ์กับพระญาติสเวียโตโพล์คที่ 2 จนกระทั่งขึ้นครองราชย์โดยลำพังใน 1113. ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ปกครองพระองค์สุดท้ายของเคียฟรุสที่รวมเป็นหนึ่ง
1113-1125 เคียฟรุส
เอ็มสติสลาฟ สเวียโตโพลโกวิช ? 1099 โวลฮีเนีย ไม่ปรากฏนาม 1099 โอรสในสเวียโตโพล์คที่ 2
Yaroslav Sviatopolkovich c.1070 1099-1118 โวลฮีเนีย ไม่ปรากฏนาม
(daughter of Ladislaus I of Hungary)
c.1091

จูดิธ-มาเรีย แห่งโปแลนด์
c.1106

ไม่ปรากฏนาม
(daughter of Mstislav I of Kiev)</small>
c.1112

three/four children in total
May 1124 โอรสในสเวียโตโพล์คที่ 2
สเวียโตสลาฟที่ 3 วลาดิมิโรวิช ? 1113-1114 เพเรยาสลาฟ มิได้อภิเษกสมรส 6 March 1114 โอรสในวลาดิเมียร์ที่ 2 โมโนมาค
โรแมน วลาดิมิโรวิช ? 1118-1119 โวลฮีเนีย ไม่ปรากฏนาม 6 January 1119 โอรสในวลาดิเมียร์ที่ 2 โมโนมาค
คอนสแตนติน 1070 1123-1127 เชอร์นิกอฟ ไม่ปรากฏนาม
3 พระองค์
1129 โอรสในสเวียโตสลาฟที่ 2
มิสติสลาฟที่ 1 มหาราช
Mstislav Theodore Vladimirovich
(Мстислав Великий)
Old Norse: Haraldr Valdamarrsson
1 มิถุนายน 1076
ทูโรฟ
Son of Vladimir II Monomakh and Gytha of Wessex
1125-1132 เคียฟรุส คริสติน่าแห่งสวีเดน
1095
10 พระองค์

ลิวบาวา ดิมีทริเยฟนาแห่งนอฟโกรอด
1122
2 พระองค์
14 เมษายน 1132
เคียฟ
พระชนมายุ 55 ปี
หลังรัชกาลนี้เคียฟรุสเริ่มเสื่อมอำนาจอย่างรวดเร็ว
ยาโรโพล์คที่ 2 1082 1114-1132 เพเรยาสลาฟ เฮเลนาแห่งออสทีเซีย
1116
1 พระองค์
18 กุมภาพันธ์ 1139 พระอนุชาในมิสติสลาฟที่ 1
1132–1139 เคียฟ
วีเซโวลอดที่ 2 1103 1132 เพเรยาสลาฟ อันนา
ก่อน 1125
4 พระองค์
11 กุมภาพันธ์ 1138 พระราชโอรสในมิสติสลาฟที่ 1
ยูริที่ 1 พระกรยาว 1099 1132

1134-1135
เพเรยาสลาฟ พระชายา 2 องค์
15 พระองค์
15 May 1157 พระราชโอรสในวลาดิเมียร์ที่ 2
อิซยาสลาฟที่ 2 1096[12] 1132-1133 เพเรยาสลาฟ แอกเนสแห่งเยอรมนี
ก่อน 1151
5 พระองค์

รูซูดานแห่งจอร์เจีย[12]
1154
ไม่มีรัชทายาท
13 November 1154[12] พระราชโอรสในมิสติสลาฟที่ 1 ครั้งแรก
เวียเชสลาฟที่ 1 1083 1133-1134 เพเรยาสลาฟ ไม่ปรากฏนาม
ก่อนค.ศ. 1139
1 พระองค์
2 กุมภาพันธ์ 1154 1st time in both principalities. Deposed.
1139 เคียฟ
แอนดริวที่ 1 ผู้ดีงาม 11 สิงหาคม 1102 1119-1135 โวลฮีเนีย ไม่ปรากฏนาม
(daughter of Tugor-khan of Polotsk)
c.1117
2 พระองค์
22 January 1141 พระราชโอรสในวลาดิเมียร์ที่ 2
1135-1141 เพเรยาสลาฟ
อิซยาสลาฟที่ 2 1096[12] 1135-1141 โวลฮีเนีย แอกเนสแห่งเยอรมนี
ก่อน 1151
5 พระองค์

รูซูดานแห่งจอร์เจีย[12]
1154
ไม่มีรัชทายาท
13 November 1154[12] พระราชโอรสในมิสติสลาฟที่ 1 ครั้งแรก
สเวียตอสลาฟที่ 4 1123 1141-1146 โวลฮีเนีย มาเรียแห่งโปโลทสก์
1143
8 พระองค์
25 July 1194 พระราชโอรสในวีเซโวลอดที่ 2
วีเซโวลอดที่ 2 1104 1127-1139 เชอร์นิกอฟ มาเรียแห่งรุส
1116
1 พระองค์
1 August 1146 พระราชนัดดาในสเวียตอสลาฟที่ 2 อภิเษกสมรสกับมาเรีย พระขนิษฐาในมิสติสลาฟมหาราช, ยาโรโพล์คที่ 2 และเวียเชสลาฟที่ 1
1139-1146 เคียฟ
วลาดิเมียร์ที่ 2 ดาวิโดวิช ? 1139-1151 เชอร์นิกอฟ ไม่ปรากฏนาม
1144
1 พระองค์
12 May 1151 พระโอรส
วลาดิเมียร์ โวโลดาโรวิช 1104 1141-1153 ฮาลีช โซเฟียแห่งฮังการี
c.1117
4 พระองค์
1153 Reunited the principalities of Zvenigorod, Peremyshl, and Terebovlia under his rule, to form the Principality of Halych.
เซนต์ อิกอร์ที่ 2 1096 1146 เคียฟ Unmarried 19 September 1147 พระเชษฐาในวีเซโวลอดที่ 2 ถูกถอดจากราชสมบัติ
อิซยาสลาฟที่ 2 1096[12] 1141-1146 เพเรยาสลาฟ แอกเนสแห่งเยอรมนี
ก่อน 1151
5 พระองค์

รูซูดานแห่งจอร์เจีย[12]
1154
ไม่มีรัชทายาท
13 November 1154[12] พระราชโอรสในมิสติสลาฟที่ 1
1146-1149 เคียฟ และ โวลฮีเนีย
1149-1151 โวลฮีเนีย
1151-1154 เคียฟ
มิสติสลาฟที่ 2 ผู้กล้าหาญ 1125 1146-1149

1151-1154
เพเรยาสลาฟ แอกเนสแห่งโปแลนด์
1151
3 พระองค์
19 August 1170 Son of Iziaslav II.
ยูริที่ 1 พระกรยาว 1099 1149-1151

1155-1157
เคียฟ Two wives
fifteen children
15 May 1157 Son of Vladimir II Monomakh.
รอสติสลาฟ ? 1149-1151 เพเรยาสลาฟ ไม่ปรากฏนาม
ก่อน 1151
3 พระองค์
1151 Son of Yuri I.
สเวียโตโพล์คที่ 2 หลังค.ศ. 1096 1151-1154 โวลฮีเนีย Euphemia of Olomouc[13]
1143 or 1144
no children
20 February 1154 พระราชโอรสในมิสติสลาฟที่ 1
รอสติสลาฟที่ 1 1110 1154

1158-1162
เคียฟ ไม่ปรากฏนาม
8 องค์
14 March 1167 Brother of Iziaslav II.
อิซยาสลาฟที่ 3 1115 1151-1154 เชอร์นิกอฟ ไม่ปรากฏนาม
1 องค์
6 March 1161 Grandson of Sviatoslav II. In 1161 jointly with Rostislav I.
1154-1155 เคียฟ
1155-1157 เชอร์นิกอฟ
1157-1158

1161
เคียฟ
Yaroslav Vladimirovich the Eight-Minded 1130 1153-1187 ฮาลีช โอลก้า ยูรีเอฟนา แห่งวลาดีเมียร์-ซุสดาล
4 องค์

นาสตาเซีย
1 องค์
1 October 1187
วลาดิเมียร์ที่ 3 มิสติสลาวิช 1132 1154-1157 โวลฮีเนีย ไม่ปรากฏนาม
(พระธิดาในแกรนด์พรินซ์เบลอส วูกาโนวิชแห่งเซอร์เบีย)
1150
4 องค์
1173 พระราชโอรสในมิสติสลาฟที่ 1
สเวียตอสลาฟที่ 3 โอลโกวิช 1106/1107 1154-1155

1157-1164
เชอร์นิกอฟ ไม่ปรากฏนาม
6 องค์
1164 Grandson of Sviatoslav II.
มิสติสลาฟที่ 2 ผู้กล้าหาญ 1125 1157-1170 โวลฮีเนีย แอกเนสแห่งโปแลนด์
1151
3 องค์
19 August 1170 Son of Iziaslav II.
1167-1169

1170
เคียฟ
เกลบ 1125 1154-1169 เพเรยาสลาฟ ไม่ปรากฏนาม
1154
3 องค์
20 January 1171 พระราชโอรสในยูรีที่ 1
1169

1170-1171
เคียฟ
วลาดิเมียร์ที่ 3 1157 1169-1187 เพเรยาสลาฟ ไม่ปรากฏนาม
1180
ไร้รัชทายาท
18 April 1187 พระราชโอรส
สเวียตอสลาฟ มิสติสลาวิช ? 1170-1173 โวลฮีเนีย ไม่ปรากฏนาม 1173/93 Son of Mstislav the Brave.
โรแมนที่ 2 มหาราช 1152 1173-1188 โวลฮีเนีย เพรดสลาวาแห่งเคียฟ
1170 หรือ 1180
2 องค์

แอนนา แองเจลีนาแห่งไบแซนเทียม
c.1197
2 องค์
19 June 1205 Son-in-law of Rurik II.
วีเซโวลอด มิสติสลาวิช ? 1188 โวลฮีเนีย ไม่ปรากฏนาม 1196 Son of Mstislav the Brave.
วลาดิเมียร์ที่ 3 มิสติสลาวิช 1132 1171 เคียฟ ไม่ปรากฏนาม
(พระธิดาในแกรนด์พรินซ์เบลอส วูกาโนวิชแห่งเซอร์เบีย)
1150
4 องค์
1173 พระราชโอรสในมิสติสลาฟที่ 1
ไมเคิลที่ 1 1151 1171 เคียฟ เธโอโดเซีย
ก่อน 1176
2 องค์
20 June 1176 พระราชโอรสในยูรีที่ 1
โรแมนที่ 1 before 1149 1171-1173

1175-1177
เคียฟ มาเรียแห่งนอฟโกรอด
9 January 1149
3 พระองค์
14 June 1180 Son of Rostislav I.
วีเซโวลอดที่ 3 รังใหญ่ 1151 1173 เคียฟ มาเรีย ชวาร์นอฟนา
14 พระองค์

ลิวบาวา วาซิลคอฟนาแห่งวีเทบสก์
1209
ไร้รัชทายาท
15 April 1212 พระราชโอรสในยูรีที่ 1
รูริคที่ 2 ก่อน 1157 1173

1180-1182

1194-1202

1203-1204

1206

1207-1210
เคียฟ ไม่ปรากฏนาม
1163

อันนาแห่งทูรอฟ[14]
ก่อน 1176
6 พระองค์
1215 Son of Rostislav I.
สเวียตอสลาฟที่ 3 1123 1164-1173 เชอร์นิกอฟ Maria of Polotsk
1143
eight children
25 July 1194 Son of Vsevolod II.
1173-1174 เคียฟ และ เชอร์นิกอฟ
1174-1177 เชอร์นิกอฟ
1177-1180 เคียฟ และ เชอร์นิกอฟ
1182-1194 เคียฟ
ยาโรสลาฟที่ 2 1132 1174-1175

1180
เคียฟ Richeza of Bohemia
1149
four children
1180 Son of Iziaslav II.
ยาโรสลาฟที่ 2 วีเซโวโลโดวิช 1139 1180-1198 เชอร์นิกอฟ ไอรีน[15][16][17]
before 1171
three children
1198 Son of Vsevolod II.
ยาโรสที่ 2 ราชาแดง ? 1187-1199 เพเรยาสลาฟ มิได้อภิเษกสมรส 1199 พระราชนัดดาในยูรีที่ 1
โอเลก ยาโรสลาวิช นาสตาซิช ? 1187 ฮาลิช ไม่ปรากฏ 1187/8
วลาดิเมียร์ ยาโรสลาวิช ? 1187-1188
1189-1199
ฮาลิช โบเลสลาวา
c.1166
1 พระองค์
1187/8
อิกอร์ที่ 2 ผู้กล้าหาญ 3 April 1151 1198-1201 เชอร์นิกอฟ Euphrosyne Yaroslavna of Halych[18]
before 1170
5 พระองค์
1201 Son of Sviastoslav (IV) Olgovich.
ยาโรสลาฟที่ 3 8 February 1191 1199-1206 เพเรยาสลาฟ ไม่ปรากฏนาม
1205
ไม่มีรัชทายาท

รอสติสลาวาแห่งนอฟโกรอด
1214
(บอกล้าง 1216)
ไม่มีรัชทายาท

เธโอโดเซียแห่งเรียซัน
1218
12 พระองค์
30 September 1246 Son of Vsevolod III of Kiev.
วีเซโวลอดที่ 4 ราชาแดง ? 1201-1206 เชอร์นิกอฟ มาเรียแห่งโปแลนด์
14 ตุลาคม หรือ 24 ธันวาคม 1178[19] หรือ 14 พฤศจิกายน 1179
1 พระองค์
August 1212 Sons of Sviatoslav V, co-ruled in Chernigov.
1206-1207 เคียฟและเชอร์นิกอฟ
1207-1210 เชอร์นิกอฟ
1210-1212 เคียฟและเชอร์นิกอฟ
โอเลกที่ 2 สเวียตอสลาวิก ? 1202-1204 เชอร์นิกอฟ ไม่ปรากฏนาม
1176
2 พระองค์
1204
อิกอร์ที่ 3 1152 1202-1203
1212-1214
เคียฟ ไม่ปรากฏนาม
5 พระองค์
1220 Son of Yaroslav II.
โรแมนที่ 2 มหาราช
(Роман Мстиславич)
1152
Son of Mstislav II of Kiev and Agnes of Poland
1188-1189 โวลฮีเนีย และ ฮาลิช เพรดสลาว่าแห่งเคียฟ
1170 หรือ 1180
2 พระองค์

แอนนา-ยูโฟรซีน แองเจลินา
c.1197
2 พระองค์
19 June 1205
Zawichost
aged 52–53
Son-in-law of Rurik II. His reign marked the rise of Galicia-Volhynia as a Kievan Rus' successor state.
1189-1198 โวลฮีเนีย
1198-1204 โวลฮีเนีย และ ฮาลิช, ต่อมากาลีเซียและโวลฮีเนีย
1204-1205 เคียฟและกาลีเซียและโวลฮีเนีย
รอสติสลาฟที่ 2 13 April 1172 เคียฟ เวอร์โกสลาวาแห่งเคียฟ
15 มิถุนายน 1187
1 พระองค์
3 March 1218 Son of Rurik II and son-in-law of Vsevolod III. Ruled with Roman, his brother-in-law.
เซนต์ ไมเคิลที่ 2 1185 1206 เพเรยาสลาฟ เฮเลนาแห่งกาลีเซียและโวลฮีเนีย
1210 หรือ 1211[20]
7 พระองค์
20 September 1246 Son of Vsevolod the Red.
วลาดิเมียร์ที่ 4 September-
December 1187
1206-1213 เพเรยาสลาฟ ไม่ปรากฏนาม
ก่อน 1239
4 พระองค์
3 March 1239 Son of Rurik II.
รูริคที่ 2 before 1157 1212-1215[21] เชอร์นิกอฟ ไม่ปรากฏนาม
1163

แอนนาแห่งทูรอฟ[14]
ก่อน 1176
6 พระองค์
1215 Son of Rostislav I.
วลาดิเมียร์ที่ 5 วีเซโวโลโดวิช 26 October 1192 1213-1215[22] เพเรยาสลาฟ ไม่ปรากฏนาม
ก่อน 1239
4 พระองค์
6 January 1227 Son of Vsevolod the Big Nest. After his death the Principality was integrated on the Principality of Yaroslavl and then on the Principality of Vladimir.
เพเรยาสลาฟถูกผนวกโดยยาโรสลาฟล์, นำโดยวลาดีเมียร์-ซุสดาล. ดูต่อที่รายพระนามผู้ปกครองรัสเซีย
มิสติสลาฟที่ 3 ผู้อาวุโส 1156 1214-1223 เคียฟ ไม่ปรากฏนาม
1116
7 พระองค์
2 June 1223 Son of Roman II.
เกลบที่ 1 c.1168 1215-1217 เชอร์นิกอฟ อะนัสตาเซียแห่งเคียฟ
1183
3 พระองค์
1215 or 1220[16] Son-in-law of Rurik II.
มิสติสลาฟที่ 1 c.1168 1217-1223 เชอร์นิกอฟ ยาซินยา-มาร์ฟา ชวาร์นอฟนา
1183
4 พระองค์
31 May 1223 Brother-in-law of Vsevolod the Big Nest.
วลาดิเมียร์ที่ 4 September-
December 1187
1223-1233 เคียฟ ไม่ปรากฏนาม
ก่อน 1239
4 พระองค์
3 March 1239 Son of Rurik II.
เซนต์ ไมเคิลที่ 2 1185 1223-1234 เชอร์นิกอฟ เฮเลนาแห่งกาลีเซียและโวลฮีเนีย
1210 หรือ 1211[20]
7 พระองค์
20 September 1246 Son of Vsevolod the Red. 1st time.
อิซยาสลาฟที่ 4 1186 1233-1236 เคียฟ อากาเฟีย
ไม่มีรัชทายาท
1255 Son of Mstislav III.
มิสติสลาฟที่ 2 before 1215/1220 1234-1239 เชอร์นิกอฟ ไม่ปรากฏนาม
ก่อน 1239
2 พระองค์
after 18 October 1239
ยาโรสลาฟที่ 3 8 February 1191 1236-1238

1246
เคียฟ ไม่ปรากฏนาม
1205
ไม่มีรัชทายาท

รอสติสลาวาแห่งนอฟโกรอด
1214
(annulled 1216)
ไม่มีรัชทายาท

เธโอดีเซียแห่งเรียซาน
1218
12 พระองค์
30 September 1246 Son of Vsevolod III of Kiev.
เซนต์ ไมเคิลที่ 2 1185 1238-1239
1239-1243
เคียฟ เฮเลนาแห่งกาลิเซียและโวลฮีเนีย
1210 หรือ 1211[20]
7 พระองค์
20 September 1246 Son of Vsevolod the Red. While in negotiations with the Golden Horde, his son Rostislav Mikhailovich took briefly Kiev throne in 1239, before being expelled by Daniel of Galicia, who put Voivode Dmytro to protect Kiev's throne until Michael's return in 1240. However the city was destroyed in that year. Regained Chernigov throne in 1243, co-ruling with Andrew Mstislavich.
1243-1246 เคียฟและเชอร์นิกอฟ
แอนดริวที่ 1 มิสติสลาวิช[23] ? 1245-1246 เชอร์นิกอฟ ไม่ปรากฏนาม 1246 พระโอรสในมิสติสลาฟที่ 2 ปกครองร่วมกับไมเคิลที่ 2
รอสติสลาฟ มิคาอิโลวิช หลัง ค.ศ. 1210 1239-1243 เชอร์นิกอฟ แอนนาแห่งฮังการี
1243
5 พระองค์
1262 พระโอรสในไมเคิลนักบุญ
1239 เคียฟ
แอนดริวที่ 2 วีเซโวโลโดวิช ? 1246-1263 เชอร์นิกอฟ ไม่ปรากฏนาม 1263 อนุชาไมเคิลที่ 2
เซนต์ อเล็กซานเดอร์ เนฟสกี้ 13 May 1221 1246-1263 เคียฟ ปราสโกเวีย-อเล็กซานดราแห่งโปลอทสก์
1239
5 พระองค์

วาซิลิสซา
ก่อน 1263
ไม่มีรัชทายาท
14 November 1263 พระโอรส
ยาโรสลาฟที่ 4 1230 1263-1272 เคียฟ นาตาเลีย
ก่อน 1252
2 พระองค์

เซนต์ ซีเนียแห่งทารูซา
1265
2 พระองค์
16 September 1272 พระอนุชา
เลโอที่ 1 1228 1272-1301 เคียฟ คอนแสตนซ์แห่งฮังการี
1116
1 พระองค์
1301 พระราชโอรสในดาเนียลที่ 1 เป็น กษัตริย์กาลีเซียและโวลฮีเนียด้วย. หลังเสด็จสวรรคตค.ศ. 1301, เคียฟอยู่ภายใต้แกรนด์ดัชชีแห่งลิทัวเนียราว 1362, ถูกปกครองโดยข้าหลวงจากลิทัวเนีย[24]

กษัตริย์และเจ้าชายแห่งกาลิเซียและโวลฮีเนีย (ค.ศ. 1199–1349)[แก้]

กาลิเซียและโวลฮีเนีย เป็นรัฐของชาวรูเทอเนีย (ยูเครน, เบลารุส, และรัสเซีย) ใน กาลิเซีย และ โวลฮีเนีย ขึ้นอยู่กับชื่อของผู้ปกครองที่จะถูกเรียกว่าราชรัฐหรืออาณาจักร

ภาพ พระนาม ประสูติ-สวรรคต เริ่มรัชกาล สิ้นรัชกาล
โรแมนที่ 2 มหาราช, เจ้าชายแห่งนอฟโกรอด (1168–1170), เจ้าชายแห่งโวลฮีเนีย (1170–1188, 1189–1205), เจ้าชายแห่งฮาลิช (1188, 1199–1205), และ แกรนด์ปรินซ์แห่งเคียฟ (1204–1205) fl.1160–1205 1199 1205
โคโลมานแห่งกาลิเซีย-โลโดมีเรีย, เจ้าชายคัลมานแห่งฮังการี, เจ้าชายแห่งฮาลิช (1214–15), เป็นผู้ได้รับการแต่งตั้งและสวมมงกุฎเป็นกษัตริย์กาลิเซียและโวลฮีเนีย (rex Galiciae et Lodomeriae) ในค.ศ. 1215 1208–1241 1214 1219
ดาเนียลที่ 1 แห่งกาลิเซีย, held many titles since early childhood culminating with the crowning by a papal legate, archbishop Opizo, in Dorohychyn in 1253, King of Rus', Grand Prince of Kiev 1201–1264 1205 1264
เลฟที่ 1, กษัตริย์แห่งรุส, เจ้าชายแห่งเบลซ์ (1245–1264), เจ้าชายเปเรมิชและฮาลิช (1264–1269)ย้ายเมืองหลวงของกาลิเซียจากโคล์มไปลวิฟในค.ศ. 1272, แกรนด์ปรินซ์แห่งเคียฟ (1271–1301) 1228–1301 1293 1301
ยูรีที่ 1, กษัตริย์แห่งรุส, เจ้าชายแห่งเบลซ์ (1264–1301) fl.1252–1308 1301 1308
แอนดริวที่ 2 และ เลฟที่ 2, กษัตริย์แห่งรุส, เจ้าชาย, ปกครองร่วม, เชื้อพระวงศ์ราชวงศ์รูริคองค์สุดท้ายที่ปกครองยูเครน ?–1323 1308 1323
ยูรีที่ 2 โบเรสลอว์, natus dux et dominus Russiae, เชื้อพระวงศ์ราชวงศ์เพียสต์ (ราชวงศ์แรกที่ปกครองโปแลนด์) 1308–1340 1325 1340
ลิวบาร์ตัส, เจ้าชายจากราชวงศ์เกดิมินิดส์, ผู้ปกครองชาวรูเทอเนีย-ลิทัวเนียที่ปกครองกาลิเซียและโวลฮีเนีย, เจ้าชายแห่งโวลฮีเนีย (1323–1384) c. 1300–1384 1340 1349

ค.ศ. 1349, สูญเสียดินแดนทั้งหมดยกเว้นทางตะวันออกของโวลฮีเนียไปแก่ พระเจ้าคาสิเมียร์ที่ 3 แห่งโปแลนด์ ค.ศ. 1366, การลงนามสนธิสัญญาโปแลนด์-ลิทัวเนียทำให้โวลฮีเนียตะวันออกและลุทสก์ เก็บไว้ให้ลิวบาร์ตัสปกครอง(แกรนด์ดัชชีแห่งลิทัวเนีย), ขณะที่กาลิเซีย, โวลฮีเนียตะวันตก, และโปโลเดียตะวันตกถูกผนวกโดยโปแลนด์.

ภายใต้แกรนด์ดัชชีแห่งลิทัวเนีย (1362–1569) และราชอาณาจักรโปแลนด์ (1569–1667/1793)[แก้]

เจ้าชายแห่งเคียฟ ต้นทศวรรษ 1320, กองทัพลิทัวเนียนำโดยเกดิมินัส ปราชัยต่อกองทัพสลาฟนำโดยสตานิสลาฟแห่งเคียฟใน ยุทรการที่แม่น้ำอีร์เปน, และพิชิตเมือง ชาวตาตาร์ซึ่งอ้างสิทธิ์ในเคียฟโต้ตอบในค.ศ. 1324–1325, ในขณะที่เคียฟถูกปกครองโดยเจ้าชายลิทัวเนีย, มีการส่งบรรณาการให้จักรวรรดิโกลเดนฮอร์ด. ในที่สุด, สืบเนื่องจากยุทธการแม่น้ำฟ้าในค.ศ. 1362, เคียฟและดินแดนบริวารก็ถูกผนวกในแกรนด์ดัชชีแห่งลิทัวเนียโดยอัลกริดัส, แกรนดยุคแห่งลิทัวเนีย

Kostiantyn Vasyl Ostrozky

วอยวอร์ดแห่งเคียฟ

เมื่องเครือจักรภพโปแลนด์-ลิทัวเนียได้รับการจัดตั้งโดยสหภาพลูบลินใน 1569, เคียฟและดินแดนรอบ ๆ, โปโดเลีย, โวลฮีเนีย, และโพดลาสกี, ในฐานะวอยวอร์ดแห่งเคียฟ, วอยวอร์ดแห่งแบรตสลาฟ, วอยวอร์ดแห่งโวลฮีเนียและวอยวอร์ดแห่งโพดลาสกี ถูกย้ายจากลิทัวเนียมาโปแลนด์

ข่านแห่งไครเมีย (1441-1783)[แก้]

ตาตาร์ไครเมียมิใช่ชาวยูเครน อาณาจักรข่านแห่งไครเมียแต่ปกครองดินแดนส่วนใหญ่ของยูเครนปัจจุบัน, เมืองหลวงอยู่ที่แบกชิซาไร.

เมนลีที่ 1 (กลาง) กับพระโอรสองค์ใหญ่, ว่าที่ข่านเมห์เหม็ดที่ 1 กิเรย์ (ซ้าย)กับสุลต่านบาเยซิดที่ 2แห่งตุรกี (ขวา)
รัชสมัย พระนาม หมายเหตุ
1441–1466 ฮาซึที่ 1
1466–1467 นูร์ เดฟเลท รัชสมัยแรก
1467 เมนลีที่ 1 กิเรย์ รัชสมัยแรก
1467–1469 นูร์ เดฟเลท รัชสมัยที่ 2
1469–1475 เมนลีที่ 1 กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1475 ไฮเดอร์
1475–1476 นูร์ เดฟเลท รัชสมัยที่ 3
1476–1478 ราชวงศ์เสียอำนาจ
1478–1515 เมนลีที่ 1 กิเรย์ รัชสมัยที่ 3
1515–1523 เมห์เหม็ดที่ 1 กิเรย์
1523–1524 กาซีที่ 1 กิเรย์
1524–1532 ซาเดทที่ 1 กิเรย์
1532 อิสแลมที่ 1 กิเรย์
1532–1551 ซาห์อิบที่ 1 กิเรย์
1551–1577 เดฟเลทที่ 1 กิเรย์
1577–1584 เมห์เหม็ดที่ 2 กิเรย์
1584 ซาเดทที่ 2 กิเรย์
1584–1588 อิสแลมที่ 2 กิเรย์
1588–1596 กาซีที่ 2 กิเรย์ รัชสมัยที่ 1
1596 เฟตีห์ที่ 1 กิเรย์
1596–1607 กาซีที่ 2 กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1607–1608 ทักตามิส กิเรย์
1608–1610 เซลาเมทที่ 1 กิเรย์
1610–1623 กานิเบก กิเรย์ รัชสมัยแรก
1623–1628 เมห์เหม็ดที่ 3 กิเรย์
1628–1635 กานิเบก กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1635–1637 อินาเยต กิเรย์
1637–1641 บะฮะดีร์ที่ 1 กิเรย์
1641–1644 เมห์เหม็ดที่ 4 กิเรย์ รัชสมัยที่ 1
1644–1654 อิสแลมที่ 3 กิเรย์
1654–1666 เมห์เหม็ดที่ 4 กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1666–1671 อาดิล กิเรย์
1671–1678 เซลิมที่ 1 กิเรย์ รัชสมัยที่ 1
1678–1683 มูรัต กิเรย์
1683–1684 ฮาซึที่ 2 กิเรย์
1684–1691 เซลิมที่ 1 กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1691 ซาเดทที่ 3 กิเรย์
1691–1692 ซาฟา กิเรย์
1692–1699 เซลิมที่ 1 กิเรย์ รัชสมัยที่ 3
1699–1702 เดฟเลทที่ 2 กิเรย์ รัชสมัยที่ 1
1702–1704 เซลิมที่ 1 กิเรย์ รัชสมัยที่ 4
1704–1707 กาซีที่ 3 กิเรย์
1707–1708 คาพลันที่ 1 กิเรย์ รัชสมัยที่ 1
1709–1713 เดฟเลทที่ 2 กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1713–1715 คาพลันที่ 1 กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1716–1717 เดฟเลทที่ 3 กิเรย์
1717–1724 ซาเดทที่ 4 กิเรย์
1724–1730 เมนลีที่ 2 กิเรย์ รัชสมัยที่ 1
1730–1736 คาพลันที่ 1 กิเรย์ รัชสมัยที่ 3
1736–1737 เฟตีห์ที่ 2 กิเรย์
1737–1740 เมนลีที่ 2 กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1740–1743 เซลาเมทที่ 2 กิเรย์
1743–1748 เซลิมที่ 2 กิเรย์
1748–1756 อาร์สลัน กิเรย์ รัชสมัยที่ 1
1756–1758 ฮาลิม กิเรย์
1758–1764 กึรึม กิเรย์ รัชสมัยที่ 1
1765–1767 เซลิมที่ 3 กิเรย์ รัชสมัยที่ 1
1767 อาร์สลัน กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1767–1768 มักซุด กิเรย์
1768–1769 กึรึม กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1769–1770 เดฟเลทที่ 4 กิเรย์ รัชสมัยที่ 1
1770 คาพลันที่ 2 กิเรย์
1770–1771 เซลิมที่ 3 กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1771–1775 ซาห์อิบที่ 2 กิเรย์
1775–1777 เดฟเลทที่ 4 กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
1777–1782 ซาห์อิน กิเรย์ รัชสมัยที่ 1
1782 บะฮะดีร์ที่ 2 กิเรย์
1782–1783 ซาห์อิน กิเรย์ รัชสมัยที่ 2
† รัชกาลของ คานิเบก กิเรย์ในค.ศ. 1624 และมักซุด กิเรย์ ในค.ศ. 1771–1772 ไม่ถูกจัดอยู่ในรายพระนาม. แม้ว่าข่านเหล่านี้ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการโดยสุลต่านออตโตมัน พวกเขามิได้ขึ้นสู่ราชบัลลังก์และปกครอง ไครเมีย ในช่วงเวลานั้น อาณาจักรข่านแห่งไครเมียถูกปกครองโดยเมห์เหม็ดที่ 3 กิเรย์และซาฮิบที่ 2 กิเรย์
Note: พระนาม ซาห์บาซ ข่าน กิเรย์ (1787–1789) และ บาฮัด กิเรย์ (1789–1792) มีในบางเอกสารแต่ไม่ถูกนับในรายพระนามนี้เนื่องจากมิได้ปกครองอาณาจักรโดยแท้จริง ด้วยจักรวรรดิรัสเซียผนวกก่อนค.ศ. 1783.

เฮตมันแห่งคอสแซคยูเครน[แก้]

เฮตมันคือผู้นำทางการทหารและการเมือง ได้รับการเลือกตั้งจากคอสแซค

เฮตมันและผู้บัญชาการแห่งคอสแซคยูเครน[แก้]

เฮตมันแห่งรัฐคอสแซค[แก้]

เนื่องจากการก่อการเคเมลนิทสกี้ สาธารณรัฐใหม่, รัฐคอสแซกแห่งยูเครน, ได้ถูกจัดตั้งขึ้น

# เฮตมัน รับเลือก (event) เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง
1 โบห์ดาน เคเมลนิทสกี้
(1596–1657)
Зиновій-Богдан Хмельницький
1648 (Sich) 26 มกราคม 1648 6 สิงหาคม 1657 ถึงแก่อสัญกรรม
2 ยูรี เคเมลนิทสกี้
(1641–1685)
Юрій Хмельницький
บิดาถึงแก่อสัญกรรม 6 สิงหาคม 1657 27 สิงหาคม 1657 reconsidered by the Council of Officers
3 อีวาน วีฮอฟสกี้
(????–1664)
Іван Виговський
1657 (คอร์ซุน) 27 สิงหาคม 1657
(confirmed: 21 October 1657)
11 กันยายน 1659 สละตำแหน่ง
4 ยูรี เคเมลนิทสกี้
(1641–1685)
Юрій Хмельницький
1659 (Hermanivka) 11 กันยายน 1659
(รับรอง: 11 กันยายน 1659)
ตุลาคม 1662 สละตำแหน่ง

ยุคเสื่อม[แก้]

เฮตมันแห่งยูเครนฝั่งขวา[แก้]

พระรูป พระนาม กำเนิด-อสัญกรรม เริ่มตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง
พาฟโล เตเตเรีย, สืบทอดตำแหน่งต่อจากยูรี คเมลนิตสกี้ในฐานะ ผู้ปกครองยูเครนฝั่งขวาคนแรก ? – 1670 1663 1665
เปโตร โดโรเชนโก, รวมรัฐคอสแซกในเวลาสั้น ๆ กระทั่งยอมรับการมีอำนาจเหนือของจักรวรรดิออตโตมัน 1627 – 19 พฤศติกายน 1698 10 ตุลาคม 1665 19 กันยายน 1676
มีไคโล คาเนนโก, ตั้งตนเป็นเฮตมัน (1669) ได้รับการแต่งตั้งโดยโปแลนด์ (1670) c. 1620 – 1680 1669 1674
ยูรี เคเมลนิทสกี้, ออตโตมันแต่งตั้งใน 1678 และได้รับการแต่งตั้งโดยพวกโปลใน 1683 1641–1685 1678
1683
1681
1683
สเตฟาน คูนิทสกี้, ขุนนางโปแลนด์แต่งตั้ง c. 1640 – 1684 1683 1684
อันดรีย์ โมอีลา, ขุนนางโปแลนด์แต่งตั้ง ? – 1689 1684 1689
ซามวล ซามุส, the รักษาการเฮตมันแห่งยูเครนฝ่ายขวา c. 1688 – c. 1713 1692 1704

เฮตมันแห่งยูเครนฝั่งซ้าย[แก้]

ภาพ นาม กำเนิด-อสัญกรรม เริ่มตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง
ยากีม ซอมโก, รักษาการเฮตมัน แห่งยูเครนฝั่งซ้าย ?—28 September 1664 1660 1663
อีวาน บริอูโคแวตสกี้, เป็ยเฮตมันแห่งยูเครนฝั่งซ้ายผู้นิยมรัสเซีย ?- 1668 1663 1668
เปโตร โดโรเชนโก 1627 – 19 November 1698 9 June 1668 1669
เดเมียน เอ็มโนโฮรีชนี 1630–1701 1669 1672
อีวาน ซาโมอีโลวิช 1630–1690 1672 1687

เฮตมันหลังยุคเสื่อมและการกลับมารวมอีกครั้งของยูเครน (1687–1764/75)[แก้]

ภาพ นาม กำเนิด-อสัญกรรม เริ่มตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง
อีวาน มาเซปา, เริ่มขบวนการแบ่งแยกดินแดนที่ล้มเหลวต่อคอสแซคส่วนใหญ่และรัสเซียส่งผลให้ยูเครนถูกผนวกในที่สุด 1639–1709 1687 1709
พีลีป ออร์ลิก, ผู้สืบทอดผู้กล้าหาญของมาเซปา, ผู้ร่างรัฐธรรมนูญฟีลีป ออร์ลิก, เฮตมันผู้เดียวที่ต้องลี้ภัย 1672–1742 1709
1710 ในฐานะรัฐบาลพลัดถิ่น
1709
1742 ในฐานะรัฐบาลพลัดถิ่น
อีวาน สโกโรปัดสกี้, นายพลคอสแซคผู้นิยมรัสเซีย ปฏิเสธที่จะร่วมตำแหน่งกับอีวาน มาเซปาในค.ศ. 1708 1646–1722 11 พฤศจิกายน 1708 14 กรกฎาคม 1722
พาฟโล โปลูโบตอก, ดำรงฐานะรักษาการเฮตมัน 1660?–1724 1722 1724
ดานีโล อาโปสตอล 1654–1734 1727 1734
คีริล ราซูมอฟสกี้, ยุคนี้ยูเครนตกอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิรัสเซีย 1728–1803 1750 1764
เปโตร กัลนาเชฟสกี้, โคชอฟยี ออสมานคนสุดท้ายแห่ง คอสแซก ซาโปโรเซีย 1691–1803 1765 1775

ภายใต้จักรวรรดิรัสเซีย (ค.ศ. 1667/ค.ศ. 1793–1917) และออสเตรีย-ฮังการี (ค.ศ. 1526/ค.ศ. 1772–1918)[แก้]

หลังการล่มสลายของรัฐคอสแซค, มาโลรอสเซียนได้รับการสถาปนาในค.ศ. 1764, และ ซาโปโรเจียน ฮอสต์ถูกล้มเลิกในค.ศ. 1775 อันมีเหตุมาจากการแบ่งโปแลนด์ครั้งที่ 2 ในค.ศ. 1793 และครั้งที่ 3 ในค.ศ. 1795, บริเวณภาคตะวันออกและภาคกลางของยูเครนถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซีย. ส่วนภาคตะวันตกตกเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ก่อนหน้านั้น มันถูกเรียกว่าคาร์พาเทีย รูเธอเนีย (1526), กาลิเซีย (1772), และ บูโควินา (1775).

จักรวรรดิรัสเซียยึดครองถึงค.ศ. 1917, ส่วนจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี, ปกครองถึงค.ศ. 1918.

สาธารณรัฐประชาชนยูเครน (ค.ศ. 1917–1921)[แก้]

สาธารณรัฐประชาชนยูเครน (UNR, 1917–1921) ได้รับการจัดตั้งภายหลังการปฏิวัติรัสเซีย ค.ศ. 1917และคงอยู่จนกระทั่งสันติภาพที่ริกา ระหว่าง โปแลนด์กับโซเวียตรัสเซีย ในมีนาคมค.ศ. 1921

ประธานคณะรัฐบาลกลาง[แก้]

The Central Council (Tsentral’na rada) was the representative body governing the UNR.

      พรรคปฏิวัติสังคมยูเครน

รูป นาม เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรค
1 มีไคโล รูเชฟสกี้
1866–1934
27 มีนาคม ค.ศ. 1917 29 เมษายน ค.ศ. 1918 พรรคปฏิวัติสังคมยูเครน

เฮตมันแห่งรัฐยูเครน[แก้]

เป็นรัฐอายุสั้น สถาปนาโดยพาฟโล สโกโรปัดสกี้ในค.ศ. 1918

# เฮตมัน รับเลือก (เหตุการณ์) เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง
1 พาฟโล สโกโรปัดสกี้
1873–1945
การปฏิวัติรัสเซีย 29 เมษายน ค.ศ. 1918 14 ธันวาคม ค.ศ. 1918 สูญเสียอำนาจในการกบฏโดยฝ่ายสังคมประชาธิปไตยนำโดยซีมอน เปตริอูลา

ประธานแห่งไดเรกเทอรี[แก้]

The Directorate of Ukraine was a provisional council of the UNR formed after Skoropadskyi's Hetmanate fell apart. On 22 January 1919, the Act of Unification of the Ukrainian People's Republic and the West Ukrainian People's Republic was passed. The text of the universal was made by the members of the Directory.

      พรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตย

ภาพ นาม เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรค
1 โวโลดีมีร์ วินนีเชนโก
1880–1951
14 ธันวาคม 1918 11 กุมภาพันธ์ 1919 พรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตย
2 ซีมอน เปทลิอูรา
1879–1926
11 กุมภาพันธ์ 1919 10 พฤศจิกายน 1920 พรรคแรงงานสังคมประชาธิปไตย

สาธารณรัฐประชาชนยูเครนตะวันตก (ค.ศ. 1918–1919)[แก้]

รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาชนยูเครนตะวันตก (สป. ยูเครนตะวันตก) ได้รับการจัดตั้งเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1918 สป. ยูเครนตะวันตกถูกรวมกับสาธารณรัฐประชาชนยูเครนในวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1919 แม้ว่ามันเป็นการกระทำที่เป็นสัญลักษณ์เป็นส่วนใหญ่แต่ยูเครนตะวันตกยังคงไว้ซึ่งกองทัพของตนเองคือกองทัพกาลิเซียยูเครน หลังจาก สงครามโปแลนด์ - ยูเครน (1918–1919), โปแลนด์เริ่มยึดครองดินแดนส่วนใหญ่ของยูเครนตะวันตกตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1919 ตั้งแต่พฤศจิกายนค.ศ. 1919, รัฐบาลยูเครนตะวันตกจึงเป็นอันต้อลี้ภัย

ประธานาธิบดี[แก้]

      พรรคกรรมาชีพประชาชนยูเครน

ภาพ นาม เริ่มดำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรค
1 เยเวน เปตรูเชวิช
1863–1940
19 ตุลาคม ค.ศ. 1918 15 มีนาคม ค.ศ. 1923 พรรคกรรมาชีพประชาชนยูเครน

ประธานาธิบดีคาร์พาโท-ยูเครน[แก้]

      พรรคราษฎรคริสเตียน

ภาพ นาม เริ่มตำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรค
1 ออกุสติน โวโลชิน
1874–1945
15 มีนาคม ค.ศ. 1939 16 มีนาคม ค.ศ. 1939 พรรคราษฎรคริสเตียน

รัฐยูเครน (ค.ศ. 1941)[แก้]

นายกรัฐมนตรีแห่งรัฐยูเครน[แก้]

      Organization of Ukrainian Nationalists

ภาพ นาม เริ่มตำรงตำแหน่ง พ้นจากตำแหน่ง พรรค
1 ยาโรสลาฟ สเตตสโก
1912–1986
30 June 1941 9 July 1941 Organization of Ukrainian Nationalists

สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน (ค.ศ. 1918/ค.ศ. 1919–1991)[แก้]

ยูเครนตกเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต ในวันที่ 30 ธันวาคม ค.ศ. 1922

ยูเครน (ค.ศ. 1991–ปัจจุบัน)[แก้]

Party legend

      อิสระ or Servant of the People       ยูเครนของเรา       Party of Regions       ปิตุภูมิ       Petro Poroshenko Bloc

ภาพ นาม
(Birth–Death)
สมัย / ผลการเลือกตั้ง รัฐบาล หมายเหตุ พรรคการเมือง
1
ลีโอนิด คราฟชัก[25]
Леонід Кравчук
(1934–)

5 ธันวาคม
1991[a]
19 กรกฎาคม
1994
โฟกิน (1990–92) ลาออก อิสระ

1991 – 61.59%, 19,643,481[26]
กุชมา (1992–93)
2
ลีโอนิด กุชมา[27]
Леонід Кучма
(1938–)

19 กรกฎาคม
1994[28]
23 มกราคม
2005
มาซอล II (1994–95)
มาร์ชุก (1995–96)
ลาซาเรนโก (1996–97)
ปุสโตโวอีเชนโก (1997–99)
ยุชเชนโก (1999–2001)
กินัก (2001–02)
ยานูโควิช I (2002–04)
Opted out of third term in office.[29] Independent[30]
1994 – 52.15%, 14,016,850[31]
1999 – 56.25%, 15,870,722[32]
3
วิกตอร์ ยุเชนโก[33]
Віктор Ющенко
(1954–)

23 มกราคม
2005
25 กุมภาพันธ์
2010
ทิโมเชนโก 1 (2005) Lost re-election campaign.[34] ยูเครนของเรา[35]
2004 – 51.99%, 15,115,712[36] เยกานูรอฟ (2005–06)
ยานูโควิช 2 (2006–07)
ทิโมเชนโก 2 (2007–10)
4
วิกตอร์ ยากูโนวิช[37]
Віктор Янукович
(1950–)

25 กุมภาพันธ์
2010
22 กุมภาพันธ์
2014
อาซารอฟ 1 (2010–12) พ้นจากตำแหน่งเนื่องจากการปฏิวัติยูเครน 2014[38] Party of Regions[39]

2010 – 48.95%, 12,481,266[40]
อาซารอฟ 2 (2012–14)
โอเลกซานดร์ ทูร์ชีนอฟ[41]
Олександр Турчинов
(1964–)

22 กุมภาพันธ์
2014
7 มิถึนายน
2014
ยัตเซนยุก 1 (2014)[42] Assumed command of the armed forces on 26 February.[43] Fatherland[44]
ex officio as
Chairman of Verkhovna Rada[c]
(288–yes, 0–no, 5–ab.)[45][46]
5
แปตรอ ปอรอแชนกอ[47]
Петро Порошенко
(1965–)

7 June
2014
20 พฤษภาคม 2019 ชนะการเลือกตั้งครั้งแรก Petro Poroshenko Bloc

2014 – 54.70%, 9,857,308[48]
ยัตเซนยุก 2 (2014–19)
6
วอลอดือมือร์ แซแลนสกึย

(1978–)

20 พฤษภาคม 2019 ปัจจุบัน ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีอย่างถล่มถลาย พรรครับใช้ประชาชน

เชิงอรรถ[แก้]

  1. "shvoong.com - Resources and Information". www.shvoong.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-07. สืบค้นเมื่อ 2019-01-01.
  2. "Nordiska furstar lade grunden till Ryssland". historiskamedia.se.[ลิงก์เสีย]
  3. Suszko, Henryk (2003). Latopis hustyński. Opracowanie, przekład i komentarze. Slavica Wratislaviensia CXXIV. Wydawnictwo Uniwersytetu Wrocławskiego. ISBN 83-229-2412-7; Tolochko, Oleksiy (2010). The Hustyn' Chronicle. (Harvard Library of Early Ukrainian Literature: Texts). ISBN 978-1-932650-03-7
  4. "Sveerne". www.fortidensjelling.dk.
  5. Палій, Олександр (4 June 2015). "Історія України: Посібник". Yuri Marchenko – โดยทาง Google Books.
  6. Leszek Moczulski, Narodziny Międzymorza, p.475, Bellona SA, Warszawa 2007 ISBN 978-83-11-10826-4
  7. Vladimir Plougin: Russian Intelligence Services: The Early Years, 9th-11th Centuries, Algora Publ., 2000
  8. History of Ukraine-Rus': From prehistory to the eleventh century, Canadian Institute of Ukrainian Studies Press, 1997
  9. Also known as Jarisleif I. See Google books
  10. [1]
  11. According to A. Nazarenko. It was thought not long ago that the first wife of Sviatopolk was Barbara Komnene, a supposed daughter of Alexios I Komnenos. However, the lack of tradition of such a name in the Byzantine Empire led to doubt. Today she may be considered fictional.
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 12.4 12.5 12.6 12.7 12.8 Monomakh branch (Mstyslavychi) at Izbornik
  13. Л.Войтович КНЯЗІВСЬКІ ДИНАСТІЇ СХІДНОЇ ЄВРОПИ
  14. 14.0 14.1 แม่แบบ:ВТ-МЭСБЕ
  15. Charles Cawley (2009-03-14). "Russia, Rurikids - Grand Princes of Kiev, Princes of Chernigov, descendants of Sviatoslav II, Grand Prince of Kiev (fourth son of Iaroslav I)". Medieval Lands. Foundation of Medieval Genealogy. สืบค้นเมื่อ 2009-04-10.
  16. 16.0 16.1 Dimnik, Martin. The Dynasty of Chernigov - 1146-1246.
  17. The chroniclers neglect to reveal the identity of Yaroslav’s wife, but the Lyubetskiy sinodik calls her Irene; Dimnik, Martin op. cit. 121.
  18. Basing their observations on the evidence of the Lay of Igor’s Campaign, a number of historians have suggested that her name was Evfrosinia and that she may have been Igor’s second wife; on the other hand, the chronicles neither give Yaroslavna’s name nor suggest that she was Igor’s second wife; Dimnik, Martin op. cit. 121.
  19. แม่แบบ:MLCC
  20. 20.0 20.1 20.2 Thurston, Herbert (Editor). Butler’s Lives of the Saints - September. {{cite book}}: |first= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)
  21. Some authors give Rurik II a two-year-reign (1210-1212), and attribute to Vsevolod the Red a second reign (1212-1215), which, in this case, would mean that Vsevolod died in 1215, and not in 1212.
  22. До половецкого плена; Соловьёв С. М. История России с дневнейших времён
  23. "История монголов Карпини. Электронная библиотека исторического факультета МГУ". www.hist.msu.ru.
  24. "Розділ 4.1. Леонтій Войтович. Князівські династії Східної Європи". izbornyk.org.ua.
  25. "Leonid Kravchuk". Official web-site of President of Ukraine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-06-18. สืบค้นเมื่อ 7 June 2014.
  26. Kireev, Alex. "Ukraine. Presidential elections of 1991". Electoral Geography 2.0 (ภาษารัสเซีย). สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  27. "Leonid Kuchma". Official web-site of President of Ukraine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-29. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  28. Laws of Ukraine. Vekhovna Rada of Ukraine decree No. 106/94-ВР: On the date of oath of the President of Ukraine (Про дату принесення присяги Президентом України). Adopted on 14 July 1994. (Ukrainian)
  29. Laws of Ukraine. Constitutional Court of Ukraine decision No. 22-рп/2003: Decision of the Constitutional Court of Ukraine regarding the case of the constitutional petition of 53 and 47 People's Deputies of Ukraine concerning the official interpretation of the provisions of Article 103 of the Constitution of Ukraine (right on the timing of tenure of the President of Ukraine (Рішення Конституційного Суду України у справі за конституційними поданнями 53 і 47 народних депутатів України про офіційне тлумачення положення частини третьої статті 103 Конституції України (справа щодо строків перебування на посту Президента України)). Adopted on 25 December 2003. (Ukrainian)
  30. "Kuchma Leonid Danylovych". Election of President 99 (ภาษายูเครน). Central Election Commission of Ukraine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  31. Popescu, Marina (12 December 2002). "1994 Presidential Elections". Project on Political Transformation and the Electoral Process in Post-Communist Europe. University of Essex. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-05. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  32. Carr, Adam. "Presidential election of October/November 1999". Psephos: Adam Carr's Electoral Archive. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  33. "Victor Yushchenko". Official web-site of President of Ukraine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-18. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  34. "Yushchenko loses re-election bid". The Washington Times. 28 January 2010. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  35. "History of "Our Ukraine"". Informational server "Our Ukraine" (ภาษายูเครน). Our Ukraine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-29. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  36. Carr, Adam. "Presidential election of October - November 2004". Psephos: Adam Carr's Electoral Archive. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  37. "The History of Presidency". Official web-site of President of Ukraine. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  38. Laws of Ukraine. Vekhovna Rada of Ukraine decree No. 757-VII: On withdrawal of the President of Ukraine from the implementation of constitutional powers and calling early presidential elections in Ukraine (Про самоусунення Президента України від виконання конституційних повноважень та призначення позачергових виборів Президента України). Adopted on 22 February 2014. (Ukrainian)
  39. "Yanukovych Viktor Fedorovych". Elections of the President of Ukraine (ภาษายูเครน). Central Election Commission of Ukraine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  40. Carr, Adam. "Presidential election of January - February 2010". Psephos: Adam Carr's Electoral Archive. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  41. "Ukraine: Speaker Oleksandr Turchynov named interim president". BBC News. 23 February 2014. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  42. "Government of Ukraine". Web-portal of Ukrainian Government. Cabinet of Ministers of Ukraine. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  43. Laws of Ukraine. President of Ukraine decree No. 140/2014: On the assumption of responsibilities of Supreme Commander of the Armed Forces of Ukraine (Про прийняття обов'язків Верховного Головнокомандувача Збройних Сил України). Adopted on 26 February 2014. (Ukrainian)
  44. "Oleksandr Turchynov" (ภาษายูเครน). Batkivshchyna. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-01. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  45. Laws of Ukraine. Vekhovna Rada of Ukraine decree No. 748-VII: On the Chairman of the Verhkvona Rada of Ukraine (Про Голову Верховної Ради України). Adopted on 22 February 2014. (Ukrainian)
  46. "Draft Resolution of the Chairman of the Verkhovna Rada of Ukraine (Turchynov O.V.)". Official portal of the Verkhovna Rada of Ukraine (ภาษายูเครน). Verkhovna Rada of Ukraine. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  47. "Petro Poroshenko". Official web-site of President of Ukraine. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.
  48. Carr, Adam. "Presidential election of 25 May 2013". Psephos: Adam Carr's Electoral Archive. สืบค้นเมื่อ 29 March 2015.