รายพระนามสุลต่านแห่งออตโตมัน
สุลต่าน แห่งจักรวรรดิออตโตมัน Osmanlı padişahı | |
---|---|
ราชาธิปไตยในอดีต | |
จักรวรรดิ | |
ตราแผ่นดินจักรวรรดิ | |
ผู้ปกครององค์สุดท้าย สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 6 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 – 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1922 | |
| |
ปฐมกษัตริย์ | สุลต่านออสมันที่ 1 (ประมาณ ค.ศ. 1299–1323/4) |
องค์สุดท้าย | สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 6 (ค.ศ. 1918–1922) |
อิสริยยศ | His Imperial Majesty |
สถานพำนัก | พระราชวังในอิสตันบูล:
|
ผู้แต่งตั้ง | สืบราชสันตติวงศ์ |
เริ่มระบอบ | ประมาณ ค.ศ. 1299 |
สิ้นสุดระบอบ | 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1922 |
สุลต่านจักรวรรดิออตโตมัน (ตุรกี: Osmanlı padişahları) เป็นสมาชิกทั้งหมดในราชวงศ์ออตโตมันที่ปกครองจักรวรรดิข้ามทวีปตั้งแต่ ค.ศ. 1299 จนกระทั่งล่มสลลายใน ค.ศ. 1922 จักรวรรดิออตโตมันในช่วงสูงสุดกินพื้นที่ตั้งแต่ฮังการีทางเหนือถึงเยเมนทางใต้ และจากแอลจีเรียทางตะวันตกถึงอิรักทางตะวันออก พระมหากษัตริย์บริหารครั้งแรกในเมือง Söğüt จนถึง ค.ศ. 1280 แล้วย้ายไปที่เมืองบูร์ซาใน ค.ศ. 1323 หรือ 1324 ต่อมามีการย้ายเมืองหลวงไปที่เอเดรียโนเปิล (ปัจจุบันคือเอดีร์แน) ใน ค.ศ. 1363 หลังการพิชิตของสุลต่านมูรัดที่ 1 แล้วไปที่คอนสแตนติโนเปิล (ปัจจุบันคืออิสตันบูล) ใน ค.ศ. 1453 หลังการพิชิตของสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2[1]
ในช่วงต้นของจักรวรรดิออตโตมันมีรายงานหลายแบบ เพราะเป็นเรื่องยากที่จะแยกความจริงออกจากตำนาน จักรวรรดินี้เริ่มมีตัวตนในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 และผู้ปกครองคนแรก (และชื่อของจักรวรรดิ) คือสุลต่านออสมันที่ 1 ตามตำนานของออตโตมัน ออสมันสืบเชื้อสายมาจากเผ่าคายือแห่งชาวเติร์กโอฆุซ[2] จักรวรรดิออตโตมันที่พระองค์ก่อตั้งดำรงอยู่เป็นเวลาหกศตวรรษผ่านรัชสมัยสุลต่าน 36 องค์ จักรวรรดิออตโตมันล่มสลายหลังความพ่ายแพ้ของฝ่ายมหาอำนาจกลาง ซึ่งตนเป็นพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฝ่ายสัมพันธมิตรที่เป็นฝ่ายชนะได้แบ่งจักรวรรดิออตโตมัน และทำให้เกิดสงครามประกาศอิสรภาพตุรกี นำไปสู่การล้มล้างระบอบสุลต่านใน ค.ศ. 1922 และการก่อตั้งประเทศตุรกีสมัยใหม่ใน ค.ศ. 1922[3]
รายพระนาม
[แก้]№ | พระนาม | พระบรมฉายาลักษณ์ | เริ่มรัชกาล | สิ้นรัชกาล | ตราพระปรมาภิไธยทูกรา | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|
สถาปนาจักรวรรดิ (1299 – 1453) | ||||||
1 | ออสมันที่ 1 ĠĀZĪ (ขุนศึก) |
ราว. 1299 | ราว. 1326 [4] | — [c] |
||
2 | ออร์ฮานที่ 1 ĠĀZĪ (ขุนศึก) |
c. 1326 [7] | 1362 |
| ||
3 | มูรัดที่ 1 SULTAN-İ AZAM (สุลต่านผู้สูงส่งที่สุด) HÜDAVENDİGÂR (ผู้เป็นที่รักยิ่งจากพระเจ้า) ŞEHÎD (ผู้พลีชีพ) [9][b] |
1362 | 15 มิถุนายน 1389 |
| ||
4 | บาเยซิดที่ 1 SULTAN-İ RÛM (สุลต่านแห่งจักรวรรดิโรมัน) YILDIRIM (ผู้ส่องแสง) |
15 มิถุนายน 1389 | 20 กรกฎาคม 1402 |
| ||
สงครามกลางเมืองออตโตมัน[d] (20 กรกฎาคม 1402 – 5 กรกฎาคม 1413) | ||||||
— | อิซา เซเลบี สุลต่านร่วมอนาโตเลีย |
1403–1405 (สุลต่านแห่งอนาโตเลียตะวันตก) |
1406 | — |
| |
— | อีเมียร์ (อาเมียร์) สุไลยมาน เซเลบี ปฐมสุลต่านแห่งรูเมเลีย |
20 กรกฎาคม 1402 | 17 กุมภาพันธ์ 1411[12] | — |
| |
— | มูซา เซเลบี สุลต่านรูเมเลียที่ 2 |
18 กุมภาพันธ์ 1411 | 5 กรกฎาคม 1413[14] | — |
| |
— | เมห์เหม็ด เซเลบี สุลต่านอนาโตเลีย |
1403–1406 (สุลต่านแห่งดินแดนอนาโตเลียตะวันออก)’’ 1406–1413 (สุลต่าน อนาโตเลีย) |
5 กรกฎาคม 1413 | — |
| |
รัฐสุลต่านฟื้นฟู | ||||||
5 | เมห์เหม็ดที่ 1 ÇELEBİ (ผู้อ่อนโยน) KİRİŞÇİ (lit. The Bowstring Maker for his support) |
5 กรกฎาคม 1413 | 26 มีนาคม 1421 |
| ||
6 | มูรัดที่ 2 KOCA (มหาราช) |
25 มิถุนายน 1421 | 1444 |
| ||
7 | เมห์เหม็ดที่ 2 FĀTİḤ (ผู้พิชิต) فاتح |
1444 | 1446 |
| ||
(6) | มูรัดที่ 2 KOCA (มหาราช) |
1446 | 3 กุมภาพันธ์ 1451 | |||
การขยายตัวของจักรวรรดิ (1453 – 1550) | ||||||
(7) | เมห์เหม็ดที่ 2 KAYSER-İ RÛM (ซีซาร์แห่งโรมัน) FĀTİḤ (ผู้พิชิต) فاتح |
3 กุมภาพันธ์ 1451 | 3 พฤษภาคม 1481 |
| ||
8 | บาเยซิดที่ 2 VELÎ (นักบุญ) |
19 พฤษภาคม 1481 | 25 เมษายน 1512 |
| ||
9 | เซลิมที่ 1 YAVUZ (ผู้แข็งแกร่ง) Hadim'ul Haramain'ish-Sharifain (ผู้รับใช้แห่งเมกกะและเมดีนะ) |
25 เมษายน 1512 | 21 กันยายน 1520 |
| ||
10 | สุลัยมานที่ 1 MUHTEŞEM (ผู้สง่างาม) or
KANÛNÎ (ผู้พระราชทานกฎหมาย) |
30 กันยายน 1520 | 6 หรือ 7 กันยายน 1566 |
| ||
การปฏิรูปจักรวรรดิออตโตมัน (1550 – 1700) | ||||||
11 | เซลิมที่ 2 SARI (บลอนด์) MEST (ขี้เมา) |
29 กันยายน 1566 | 21 ธันวาคม 1574 |
| ||
12 | มูรัดที่ 3 | 22 ธันวาคม 1574 | 16 มกราคม 1595 |
| ||
13 | เมห์เหม็ดที่ 3 ADLÎ (ผู้เที่ยงธรรม) |
27 มกราคม 1595 | 20 หรือ 21 ธันวาคม 1603 |
| ||
14 | อะเหม็ดที่ 1 BAḪTī (ผู้โชคดี) |
21 ธันวาคม 1603 | 22 พฤศจิกายน 1617 |
| ||
15 | มุสทาฟาที่ 1 DELİ (ผู้วิปลาส) |
22 พฤศจิกายน 1617 | 26 กุมภาพันธ์ 1618 |
| ||
16 | ออสมันที่ 2 GENÇ (ผู้เยาว์) ŞEHÎD (ผู้พลีชีพ) شهيد |
26 กุมภาพันธ์ 1618 | 19 พฤษภาคม 1622 |
| ||
(15) | มุสทาฟาที่ 1 DELİ (ผู้วิปลาส) |
20 พฤษภาคม 1622 | 10 กันยายน 1623 |
| ||
17 | มูรัดที่ 4 SAHİB-Î KIRAN ผู้พิชิตแบกแดด ĠĀZĪ (นักรบ) غازى |
10 กันยายน 1623 | 8 หรือ 9 กุมภาพันธ์ 1640 |
| ||
18 | อิบราฮิม DELİ (ผู้วิปลาส) ผู้พิชิตครีต ŞEHÎD |
9 กุมภาพันธ์ 1640 | 8 สิงหาคม 1648 |
| ||
19 | เมห์เหม็ดที่ 4 AVCI (ผู้ล่า) ĠĀZĪ (นักรบ) غازى |
8 สิงหาคม 1648 | 8 พฤศจิกายน 1687 |
| ||
20 | สุลัยมานที่ 2 ĠĀZĪ (นักรบ) |
8 พฤศจิกายน 1687 | 22 มิถุนายน 1691 |
| ||
21 | อะเหม็ดที่ 2 ḪĀN ĠĀZĪ (เจ้าชายนักรบ) |
22 มิถุนายน 1691 | 6 กุมภาพันธ์ 1695 |
| ||
22 | มุสทาฟาที่ 2 ĠĀZĪ (นักรบ) |
6 กุมภาพันธ์ 1695 | 22 สิงหาคม 1703 |
| ||
ยุคหยุดนิ่งและการปฏิรูปจักรวรรดิ (1700 – 1827) | ||||||
23 | อะเหม็ดที่ 3 สุลต่านสมัยทิวลิป ĠĀZĪ (ขุนศึก) |
22 สิงหาคม 1703 | 1 หรือ 2 ตุลาคม 1730 |
| ||
24 | มาห์หมุดที่ 1 ĠĀZĪ (นักรบ) KAMBUR (ผู้หลังค่อม) |
2 ตุลาคม 1730 | 13 ธันวาคม 1754 |
| ||
25 | ออสมันที่ 3 SOFU (ผู้มีความศรัทธา) |
13 ธันวาคม 1754 | 29 หรือ 30 ตุลาคม 1757 |
| ||
26 | มุสทาฟาที่ 3 YENİLİKÇİ (ผู้สร้างนวัตกรรมแรก) |
30 ตุลาคม 1757 | 21 มกราคม 1774 |
| ||
27 | อับดุล ฮามิดที่ 1 Abd ūl-Hāmīd (ผู้รับใช้พระเจ้า) ISLAHATÇI (ผู้ปรับปรุง) ĠĀZĪ (ขุนศึก) |
21 มกราคม 1774 | 6 หรือ 7 เมษายน 1789 |
| ||
28 | เซลิมที่ 3 BESTEKÂR (คีตกวี) NİZÂMÎ (เจ้าระเบียบ) ŞEHÎD (ผู้พลีชีพ) |
7 เมษายน 1789 | 29 พฤษภาคม 1807 |
| ||
29 | มุสทาฟาที่ 4 | 29 พฤษภาคม 1807 | 28 กรกฎาคม 1808 |
| ||
จักรวรรดิออตโตมันสมัยใหม่ (1827 – 1908) | ||||||
30 | มาห์หมุดที่ 2 İNKILÂPÇI (นักปฏิรูป) ĠĀZĪ (ขุนศึก) |
28 กรกฎาคม 1808 | 1 กรกฎาคม 1839 |
| ||
31 | อับดุล เมจิดที่ 1 TANZİMÂTÇI (The Strong Reformist or The Advocate of Reorganization) ĠĀZĪ (ขุนศึก) |
1 กรกฎาคม 1839 | 25 มิถุนายน 1861 |
| ||
32 | อับดุล อะซีซ BAḪTSIZ (ผู้โชคร้าย) ŞEHĪD (ผู้พลีชีพ) |
25 มิถุนายน 1861 | 30 พฤษภาคม 1876 |
| ||
33 | มูรัดที่ 5 | 30 พฤษภาคม 1876 | 31 สิงหาคม 1876 |
| ||
34 | อับดุล ฮามิดที่ 2 Ulû Sultân Abd ūl-Hāmīd Khan (The Sublime Khan) |
31 สิงหาคม 1876 | 27 เมษายน 1909 |
| ||
35 | เมห์เหม็ดที่ 5 REŞÂD (Rashād) (ผู้ตามทางที่แท้จริง) |
27 เมษายน 1909 | 3 กรกฎาคม 1918 |
| ||
36 | เมห์เหม็ดที่ 6 VAHDETTİN (Wāhīd ād-Dīn) (The Unifier of Dīn (Islam) หรือ เอนกชนแห่ง อิสลาม) |
4 กรกฎาคม 1918 | 1 พฤศจิกายน 1922 |
| ||
เคาะลีฟะฮ์ ภายใต้สาธารณรัฐ (1 พฤศจิกายน 1922 – 3 มีนาคม 1924) | ||||||
— | อับดุล เมจิดที่ 2 | 18 พฤศจิกายน 1922 | 3 มีนาคม 1924 | — [c] |
|
ประมุขแห่งราชวงศ์ออสมันหลัง 1923
[แก้]№ | พระนาม | พระรูป | สมัย | ความสัมพันธ์กับรัชกาลก่อน |
---|---|---|---|---|
36 | เมห์เหม็ดที่ 6 | 1922-1926 | สุลต่านออตโตมันพระองค์สุดท้าย (1918–1922)[53] | |
37 | อับดุล เมจิดที่ 2 | 1926-1944 | กาหลิปออตโตมันพระองค์สุดท้าย (1922–1924)[53] | |
38 | อาเหม็ด นิฮาด | 1944-1954 | พระราชนัดดาในสุลต่านมูรัดที่ 5[53] | |
39 | ออสมัน ฟูอัด, | 1954–1973 | พระอนุชาต่างพระชนนีในอาเหม็ดที่ 4 นิฮาด[53] | |
40 | เมห์เหม็ด อับดุลลาซิซ | 1973–1977 | พระราชนัดดาในสุลต่านอับดุล อะซีซ.[53] | |
41 | อาลี วาซิบ | 1977–1983 | พระราชโอรสในอาเหม็ดที่ 4 นิฮาด[53] | |
42 | เมห์เหม็ด ออร์ฮาน | 1983–1994 | พระราชนัดดาในสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2[54] | |
43 | เออร์ตูกรุล ออสมัน), | 1994–2009 | พระราชนัดดาในสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2[55] | |
44 | บาเยซิด ออสมัน | 2009-2017 | พระราชปนัดดาในสุลต่านอับดุล เมจิดที่ 1[56] | |
45 | ดุนดาร์ อาลี ออสมัน | 2017-2021 | พระราชปนัดดาในสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 | |
46 | ฮารูน ออสมัน | 2021–ปัจจุบัน | พระราชปนัดดาในสุลต่านอับดุล ฮามิดที่ 2 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Stavrides 2001, p. 21
- ↑
Kafadar, Cemal (1995). Between Two Worlds: The Construction of the Ottoman State. p. 122.
That they hailed from the Kayı branch of the Oğuz confederacy seems to be a creative "rediscovery" in the genealogical concoction of the fifteenth century. It is missing not only in Ahmedi but also, and more importantly, in the Yahşi Fakih-Aşıkpaşazade narrative, which gives its own version of an elaborate genealogical family tree going back to Noah. If there was a particularly significant claim to Kayı lineage, it is hard to imagine that Yahşi Fakih would not have heard of it.
- Lowry, Heath (2003). The Nature of the Early Ottoman State. SUNY Press. p. 78. ISBN 0-7914-5636-6.
Based on these charters, all of which were drawn up between 1324 and 1360 (almost one hundred fifty years prior to the emergence of the Ottoman dynastic myth identifying them as members of the Kayı branch of the Oguz federation of Turkish tribes), we may posit that...
- Lindner, Rudi Paul (1983). Nomads and Ottomans in Medieval Anatolia. Indiana University Press. p. 10.
In fact, no matter how one were to try, the sources simply do not allow the recovery of a family tree linking the antecedents of Osman to the Kayı of the Oğuz tribe. Without a proven genealogy, or even without evidence of sufficient care to produce a single genealogy to be presented to all the court chroniclers, there obviously could be no tribe; thus, the tribe was not a factor in early Ottoman history.
- Lowry, Heath (2003). The Nature of the Early Ottoman State. SUNY Press. p. 78. ISBN 0-7914-5636-6.
- ↑ Glazer 1996, "War of Independence"
- ↑ Finkel, Caroline (2007). Osman's dream : the history of the ottoman empire. Basic Books. p. 555. ISBN 9780465008506.
- ↑ Kafadar, Cemal (1995). Between Two Worlds: The Construction of the Ottoman State. pp. 60, 122.
- ↑ 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.7 Lowry, Heath (2003). The Nature of the Early Ottoman State. SUNY Press. p. 153.
- ↑ Finkel, Caroline (2007). Osman's dream : the history of the ottoman empire. Basic Books. p. 555. ISBN 9780465008506.
- ↑ "Sultan Orhan Gazi". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ Lambton, Ann; Lewis, Bernard (1995). The Cambridge History of Islam: The Indian sub-continent, South-East Asia, Africa and the Muslim west. Vol. 2. Cambridge University Press. p. 320. ISBN 9780521223102. สืบค้นเมื่อ 14 March 2015.
- ↑ "Sultan Murad Hüdavendigar Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan Yıldırım Beyezid Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ Nicholae Jorga: Geschishte des Osmanichen (Trans :Nilüfer Epçeli) Vol 1 Yeditepe yayınları, İstanbul,2009,ISBN 975-6480 17 3 p 314
- ↑ Nicholae Jorga: Geschishte des Osmanichen (Trans :Nilüfer Epçeli) Vol 1 Yeditepe yayınları, İstanbul, 2009, ISBN 975-6480 17 3 p 314
- ↑ Joseph von Hammer: Osmanlı Tarihi cilt I (condensation: Abdülkadir Karahan), Milliyet yayınları, İstanbul. p 58-60.
- ↑ Prof. Yaşar Yüce-Prof. Ali Sevim: Türkiye tarihi Cilt II, AKDTYKTTK Yayınları, İstanbul, 1991 p 74-75
- ↑ Joseph von Hammer: Osmanlı Tarihi cilt I (condensation: Abdülkadir Karahan), Milliyet yayınları, İstanbul. p. 58-60.
- ↑ "Sultan Mehmed Çelebi Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ 18.0 18.1 "Chronology: Sultan II. Murad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-04-07.
- ↑ Kafadar 1996, p. xix
- ↑ "Chronology: Fatih Sultan Mehmed Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2010-07-15.
- ↑ "Sultan II. Bayezid Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Yavuz Sultan Selim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Kanuni Sultan Süleyman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan II. Selim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan III. Murad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan III. Mehmed Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan I. Ahmed". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ 28.0 28.1 "Sultan I. Mustafa". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan II. Osman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan IV. Murad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan İbrahim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan IV. Mehmed". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan II. Süleyman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan II. Ahmed Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan II. Mustafa Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan III. Ahmed Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan I. Mahmud Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan III. Osman Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan III. Mustafa Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan I. Abdülhamit Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan III. Selim Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan IV. Mustafa Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan II. Mahmud Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan Abdülmecid Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan Abdülaziz Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan V. Murad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan II. Abdülhamid Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan V. Mehmed Reşad Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ "Sultan VI. Mehmed Vahdettin Han". Republic of Turkey Ministry of Culture and Tourism. สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- ↑ As̜iroğlu 1992, p. 13
- ↑ As̜iroğlu 1992, p. 17
- ↑ As̜iroğlu 1992, p. 14
- ↑ 53.0 53.1 53.2 53.3 53.4 53.5 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อheirs
- ↑ Pope, Hugh. "Oldest Ottoman to come home at last", The Independent (22 July 1992).
- ↑ Bernstein, Fred. “Ertugrul Osman, Link to Ottoman Dynasty, Dies at 97”, The New York Times (24 September 2009).
- ↑ "'Osmanoğulları'na insanlık şehadet edecek' เก็บถาวร 14 มีนาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน", Zaman (27 September 2009).
บรรณานุกรม
[แก้]- Aşiroğlu, Orhan Gâzi (1992). Son halife, Abdülmecid. Tarihin şahitleri dizisi (ภาษาตุรกี). Istanbul: Burak Yayınevi. ISBN 978-9757645177. OCLC 32085609.
- Duran, Tülay (1999). Padişah Portreleri (Portraits of the Ottoman Empire's Sultans) (ภาษาตุรกี). Sirkeci: Association of Historical Research and Istanbul Research Centre. ISBN 978-9756926079. OCLC 248496159.
- Findley, Carter V. (2005). The Turks in World History. New York: Oxford University Press US. ISBN 978-0-19-517726-8. OCLC 54529318. สืบค้นเมื่อ 2009-04-29.
- Glazer, Steven A. (1996) [Research completed January 1995]. "Chapter 1: Historical Setting". ใน Metz, Helen Chapin (บ.ก.). A Country Study: Turkey. Country Studies (5th ed.). Washington, D.C.: Federal Research Division of the Library of Congress. ISBN 978-0-8444-0864-4. OCLC 33898522. สืบค้นเมื่อ 2009-04-22.
- Kafadar, Cemal (1996). Between Two Worlds: The Construction of the Ottoman State. Berkeley, CA: University of California Press. ISBN 978-0-520-20600-7. OCLC 55849447. สืบค้นเมื่อ 2009-04-18.
- Karateke, Hakan T. (2005). "Who is the Next Ottoman Sultan? Attempts to Change the Rule of Succession during the Nineteenth Century". ใน Weismann, Itzchak; Zachs, Fruma (บ.ก.). Ottoman Reform and Muslim Regeneration: Studies in Honour of Butrus Abu-Manneb. London: I. B. Tauris. ISBN 978-1-85043-757-4. OCLC 60416792. สืบค้นเมื่อ 2009-05-02.
- d'Osman Han, Nadine Sultana (2001). The Legacy of Sultan Abdulhamid II: Memoirs and Biography of Sultan Selim bin Hamid Han. Foreword by Manoutchehr M. Eskandari-Qajar. Santa Fe, NM: Sultana Pub. OCLC 70659193. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-02. สืบค้นเมื่อ 2009-05-02.
{{cite book}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - Peirce, Leslie P. (1993). The Imperial Harem: Women and Sovereignty in the Ottoman Empire. New York: Oxford University Press US. ISBN 978-0-19-508677-5. OCLC 243767445. สืบค้นเมื่อ 2009-04-19.
- Quataert, Donald (2005). The Ottoman Empire, 1700–1922 (2nd ed.). Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-83910-5. OCLC 59280221. สืบค้นเมื่อ 2009-04-18.
- Stavrides, Theoharis (2001). The Sultan of Vezirs: The Life and Times of the Ottoman Grand Vezir Mahmud Pasha Angelović (1453–1474). Leiden: Brill Publishers. ISBN 978-90-04-12106-5. OCLC 46640850. สืบค้นเมื่อ 2009-04-18.
- Sugar, Peter F. (1993). Southeastern Europe under Ottoman Rule, 1354–1804 (3rd ed.). Seattle: University of Washington Press. ISBN 978-0-295-96033-3. OCLC 34219399. สืบค้นเมื่อ 2009-04-18.
- Toprak, Binnaz (1981). Islam and Political Development in Turkey. Leiden: Brill Publishers. ISBN 978-90-04-06471-3. OCLC 8258992. สืบค้นเมื่อ 2009-04-19.
- Uğur, Ali (2007). Mavi Emperyalizm [Blue Imperialism] (ภาษาตุรกี). Istanbul: Çatı Publishing. ISBN 978-975-8845-87-3. OCLC 221203375. สืบค้นเมื่อ 2009-04-19.
- Toynbee, Arnold J. (1974). "The Ottoman Empire's Place in World History". ใน Karpat, Kemal H. (บ.ก.). The Ottoman State and Its Place in World History. Social, Economic and Political Studies of the Middle East. Vol. 11. Leiden: Brill Publishers. ISBN 978-90-04-03945-2. OCLC 1318483. สืบค้นเมื่อ 2009-05-02.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- "Website of the 700th Anniversary of the Ottoman Empire". สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.
- "Official website of the immediate living descendants of the Ottoman Dynasty". สืบค้นเมื่อ 2009-02-06.