รายพระนามพระมหากษัตริย์โครเอเชีย
พระมหากษัตริย์แห่งโครเอเชีย[แก้]
สถาปนาเมื่อปีค.ศ. 925 โดยพระสันตะปาปาจอห์นที่ 10แต่งตั้ง ดยุดโทมิสลาฟ เป็น Rex Chroatorum - กษัตริย์แห่งโครเอเชีย. ชาวโครเอเชียจึงถือให้พระเจ้าโทมิสลาฟเป็นกษัตริย์พระองค์แรก
ราชวงศ์เทอร์ปิมิโรวิช[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
โทมิสลาฟที่ 1 | 925 | 928 | พระราชโอรสใน ดยุกมันซิเมียร์แห่งโครเอเชีย. After his death civil wars weakened the state and some territory, including Bosnia, was lost. His rank of "king" (rex) is based on two contemporary documents; a correspondence dated 925 where the Pope John X addresses him with that title and the transcript from the Synod conclusions in Split where he is also referred to as "rex". He was also addressed as "Princeps" ("Prince") and Duke (Dux) on other occasions. Nevertheless, in Croatia he is traditionally considered the first Croatian king. | |
![]() |
ทอร์ปิเมียร์ที่ 2 | 928 | 935 | พระอนุชาหรืออาจเป็นพระราฃโอรสของพระเจ้าโทมิสลาฟ |
![]() |
เครซิเมียร์ที่ 1 (Krešimir Stariji) |
935 | 945 | พระราชโอรสในพระเจ้าทอร์ปิเมียร์ที่ 2 |
![]() |
มิรอสลาฟ | 945 | 949 | พระราชโอรสในพระเจ้าเครซิเมียร์ที่ 1 |
![]() |
ไมเคิล เครซิเมียร์ที่ 2 (Mihovil Krešimir II) และ เฮเลนที่ 1 (Jelena Zadarska) (เสวยราชย์ร่วม) |
949 | 969 | พระราชอนุชาในพระเจ้ามิรอสลาฟ. พระเจ้าไมเคิล เครซิเมียร์ที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์ร่วมกับพระมเหสี พระราชินีนาถเฮเลนที่ 1.หลังจากพระเจ้าไมเคิล เครซิเมียร์ที่ 2 สวรรคตในปีค.ศ. 969 พระราชโอรสของพระองค์ สตีเฟน เดอร์ซิสลาฟ สืบราชสมบัติโดยลำพังทันที, พระราชินีนาถเฮเลนสิ้นพระชนม์หลังจากนนั้น 7 ปี ตรงกับวันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 976 รัชกาลนี้, โครเอเชียเสียดินแดนบางส่วนให้บอสเนีย |
![]() |
สตีเฟน เดอร์ซิสลาฟ (Stjepan Držislav) |
969 | 997 | พระราชโอรสในพระเจ้าไมเคิล เครสิเมียร์ที่ 2 กับ สมเด็จพระราชินีนาถเอเลนา ruled as a regent for Stephen Držislav 969 - 8 November 975. He received royal insigia as an act of recognition from the Byzantine Emperor and was crowned by the Archbishop of Split in Biograd in 988. Thomas the Archdeacon's Historia Salonitana names him as the first King of Croatia (rex), regardless, he is considered the first crowned Croatian King.[1] |
![]() |
สเวตอสลาฟ ซูลอนจา | 997 | 1000 | พระราชโอรสในพระเจ้าสตีเฟน เดอร์ซิสลาฟ ต่อมาถูกปลงพระชนม์โดยพระอนุชาทั้ง 2 เครซิเมียร์ที่ 3 กับ กอจสลาฟ |
![]() |
เครซิเมียร์ที่ 3 และ กอจสลาฟ (เสวยราชย์ร่วม) |
1000 | 1020 | พระอนุชาในพระเจ้าสเวตอสลาฟ ซูลอนจา |
![]() |
เครซิเมียร์ที่ 3 (alone) |
1020 | 1030 | พระอนุชาในพระเจ้าสเวตอสลาฟ ซูลอนจา |
![]() |
สตีเฟนที่ 1 (Stjepan I) |
1030 | 1058 | พระราชโอรสในพระเจ้าเครซิเมียร์ที่ 3 |
![]() |
เปตาร์ เครซิเมียร์ที่ 4 มหาราช (Petar Krešimir IV Veliki) |
1058 | 1074 | พระราชโอรสในพระเจ้าสตีเฟนที่ 1 รัชกาลนี้โครเอเชียเจริญรุ่งเรืองถึงจุดสูงสุด |
เดเมเตรอุส ซวอนิเมะยร์ (Dmitar Zvonimir) |
1075 | 1089 | พระญาติในพระเจ้าเปตาร์ เครซิเมียร์ที่ 4 ทรงเษกสมรสกับ เจ้าหญิงเฮเลน, พระราชธิดาใน พระเจ้าเบลาที่ 1แห่งฮังการี | |
![]() |
สตีเฟนที่ 2 (Stjepan II) |
1089 | ธันวาคม 1090 | พระราชโอรสในเจ้าชายคาสติเมียร์ พระราชอนุชาในพระเจ้าเปตาร์ เครซิเมียร์ที่ 4 |
![]() |
เฮเลนที่ 2 (Jelena Lijepa) |
1090 | 1091 | พระชายาในพระเจ้าเดเมเตรอุส ซวอนิเมะยร์ และเป็นพระราชธิดาใน พระเจ้าเบลาที่ 1แห่งฮังการี |
ราชวงศ์อาร์ปัด[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ลาดิสเลาส์ที่ 1 (Ladislav I. Arpadović) |
1091 | 1092 | พระราชโอรสในพระเจ้าเบลาที่ 1แห่งฮังการีและเป็นพระอนุชาในพระราชินีนาถเฮเลนที่ 2 |
![]() |
ดยุค อัลมอส (herceg Almoš) |
1091 | 1093 | พระราชภาคิไนยในพระเจ้าลาดิสเลาส์ที่ 1 ,ไม่ได้ทรงปกครองด้วยพระองค์เอง |
ราชวงศ์สวาสิก[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
เปตาร์ สวาสิก | 1093 | 1097 | ถูกเลือกโดยชาวโครเอเชีย มีการต่อสู้กับฮังการีเพื่อควบคุมโครเอเชีย ตั้งแต่ 1097 ต่อมา กษัตริย์ฮังการีเป็นกษัตริย์โครเอเชียร่วมด้วยเนื่องการรวมมงกุฎทั้ง 2 อาณาจักร |
ภายใต้ฮังการีและจักรวรรดิโรมันอันศักดิสิทธิ์[แก้]
ตั้งแต่ค.ศ. 1102, กษัตริย์ฮังการีก็ได้สิทธิในการปกครองราชอาณาจักรโครเอเชีย สโลเวเนีย และ ดาลมาเทีย ในการรับรองของขุนนางโครเอเชีย[2][3] โครเอเชียอยู่ภายใต้การดูแลของBan (อุปราช) และ ซาบอร์.
ราชวงศ์อาร์ปัด[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
โคโลมาน (Koloman) |
1102 | 3 กุมภาพันธ์ 1116 | ยุทธการที่เขากวอทซ์ (modern Petrova Gora). โคโลมาน, ได้การสนับสนุนโดยแพนโนเนีย โครแอต, เอาชนะกองทัพของขุนนางโครเอเชียและดัลเมเทีย พันธมิตรของเปตาร์ ได้รับการรับรองโดยคณะซาบอร์ ขุนนางโครเอเชีย |
![]() |
สตีเฟนที่ 3 (Stjepan II.) |
3 กุมภาพันธ์ 1116 | 3 เมษายน 1131 | พระราชโอรสในพระเจ้าโคโลมาน |
![]() |
เบลาที่ 1 (Bela II. Slijepi) |
3 เมษายน 1131 | 13 กุมภาพันธ์ 1141 | พระราชนัดดาในพระเจ้าเกซาที่ 1, โอรสอัลมอส, พระอนุชาในพระเจ้าโคโลมาน |
![]() |
เกจา (Gejza II.) |
13 กุมภาพันธ์ 1141 | 31 พฤษภาคม 1162 | พระราชโอรสในพระเจ้าเบลาที่ 1 |
![]() |
สตีเฟนที่ 2 (Stjepan III.) |
31 พฤษภาคม 1162 | 4 มีนาคม 1172 | พระราชโอรสในพระเจ้าเกจา |
ลาดิสเลาส์ที่ 2 (Ladislav II.) |
31 พฤษภาคม 1162 | 14 มกราคม 1163 | กษัตริย์ปรปักษ์, พระอนุชาในพระเจ้าเกซาที่ 2 | |
![]() |
สตีเฟนที่ 5 (Stjepan IV.) |
14 มกราคม 1163 | มิถุนายน 1163 | กษัตริย์ปรปักษ์, พระอนุชาในพระเจ้าเกซาที่ 2 |
![]() |
เบลาที่ 2 | 4 มีนาคม 1172 | 13 เมษายน 1196 | พระอนุชาในสตีเฟนที่ 3 |
![]() |
อีเมริก (Emerik) |
13 เมษายน 1196 | 30 พฤศจิกายน 1204 | โอรสในเบลาที่ 3 |
![]() |
ลาดิสเลาส์ที่ 3 (Ladislav III.) |
30 พฤศจิกายน 1204 | 7 พฤษภาคม 1205 | โอรสอีเมริก, ราชาภิเษกและสวรรคตแต่ทรงพระเยาว์ |
![]() |
แอนดรูว์ที่ 1 (Andrija II.) |
7 พฤษภาคม 1205 | 21 กันยายน 1235 | brother of Emerik, in 1222 issued Golden Bull which established the rights of noblemen, including the right to disobey the King when he acted contrary to law (jus resistendi). |
![]() |
เบลาที่ 3 | 21 กันยายน 1235 | 3 พฤษภาคม 1270 | โอรสแอนดรูว์ที่ 2, ทรงราชย์ในช่วงที่มองโกลรุกราน (1241–42), ใน 1242 issued Golden Bull สถาปนา ซาเกร็บ และ ซาโมบอร์ เมืองหลวงอิสระ (free and royal city) |
![]() |
สตีเฟนที่ 6 (Stjepan V.) |
3 พฤษภาคม 1270 | 6 สิงหาคม 1272 | พระราชโอรสในพระเจ้าเบลาที่ 3 |
![]() |
ลาดิสเลาส์ที่ 4 (Ladislav IV. Kumanac) |
6 สิงหาคม 1272 | 10 กรกฎาคม 1290 | โอรสสตีเฟนที่ 5; การรุกรานมองโกลไม่สำเร็จ อาศัยกับชนเผ่าเร่ร่อน |
![]() |
แอนดรูว์ที่ 3 (Andrija III. Mlečanin) |
4 สิงหาคม 1290 | 14 มกราคม 1301 | พระราชนัดดาในพระเจ้าแอนดรูว์ที่ 1, ประสูติที่เวนิส; ทายาทพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์อาร์ปัด |
ราชวงศ์อองจู[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ชาร์ลส์ มาร์แตล (Karlo Martel) |
1290 | 1295 | ถูกเลือกโดยพระสันตะปาปานิโคลัสที่ 4 และคณะสงฆ์เป็นรัชทายาทของพระมาตุลา พระเจ้าลาดิสเลาส์ที่ 4 มิได้เป็นกษัตริย์ฮังการีร่วมด้วย |
![]() |
คาร์ลที่ 1 (Karlo I. Robert) |
14 มกราคม 1301 | 16 กรกฎาคม 1342 | โอรสชาร์ลส์ มาร์แตล, สถาปนาราชวงศ์อันเจวิน |
![]() |
หลุยส์ที่ 1 มหาราช (Ludovik I. Veliki) |
16 กรกฎาคม 1342 | 11 กันยายน 1382 | ทรงรับพระอิสริยยศเป็นกษัตริย์โปแลนด์ในค.ศ. 1370 |
![]() |
มาเรียที่ 1 (Marija Anžuvinska) |
11 กันยายน 1382 | 17 พฤษภาคม 1395 | อภิเษกสมรสกับพระเจ้าซิกิสมันด์แห่งราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก |
![]() |
คาร์ลที่ 2 (Karlo II. Drački) |
31 ธันวาคม 1385 | 24 กุมภาพันธ์ 1386 | เป็นกษัตริย์เนเปิลส์, ปฏิปักษ์กับพระนางมาเรีย สละราชสมบัติเมื่อวันที่ 7 ก.พ. 1386 และสวรรคตเมื่อวันที่ 24 ก.พ. ปีเดียวกัน |
ราชวงศ์ลักเซมเบิร์ก[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ซีกิสมุนด์ที่ 1 (Žigmund Luksemburški) |
31 มีนาคม 1387 | 9 ธันวาคม 1437 | ภายหลังทรงได้รับอิสริยยศเป็นจักรพรรดิเยอรมัน(ตั้งแต่ปี 1410), กษัตริย์โบฮีเมีย (since 1419), จักรพรรดิแห่งโรมันอันศักดิสิทธิ์ (since 1433) |
ราชวงศ์อองจู[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ลาดิสเลาส์แห่งเนเปิลส์ (Ladislav Napuljski) |
5 สิงหาคม 1403 | 1409 | พระราชโอรสในพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 อ้างสิทธิซึ่งมงกุฎแห่งฮังการีและ โครเอเชียและปฏิปักษ์กับ ซิกิสมันด์ ต่อมาขายสิทธิให้ สาธารณรัฐเวนิส ในราคา 100,000 ดูกาตใน 1409. |
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
อัลเบรชที่ 1 | 1 มกราคม 1438 | 27 ตุลาคม 1439 | พระชามาดาในพระเจ้าซิกิสมุนด์, ทรงเป็นทั้งกษัตริย์เยอรมัน, กษัตริย์โบฮีเมีย, ดยุกแห่ง ออสเตรีย |
ราชวงศ์จากีลลอน[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
วลาดิสลาสที่ 1 (Vladislav I. Jagelović) |
15 พฤษภาคม 1440 | 10 พฤศจิกายน 1444 | ทรงเป็นกษัตริย์โปแลนด์ร่วมด้วย |
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ลาดิสลาสที่ 5 โพธูมัส (Ladislav V. Posmrtni) |
10 พฤศจิกายน 1444 | 23 พฤศจิกายน 1457 | ประสูติ ค.ศ. 1440 หลังพระราชบิดาสวรรคต ใช้พระชนม์ชีพส่วนใหญ่ในที่คุมขัง |
ราชวงศ์ฮุนยาดี[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
แม็ทเธียสที่ 1 คอร์วินุส (Matija Korvin) |
24 มกราคม 1458 | 6 เมษายน 1490 | โอรสจอห์น ฮุนยาดี, เป็นกษัตริย์โบฮีเมีย |
ราชวงศ์จากีลลอน[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
วลาดิสลาสที่ 2 (Vladislav II. Jagelović) |
15 กรกฎาคม 1490 | 13 พฤษภาคม 1516 | เป็นกษัตริย์โบฮีเมีย |
![]() |
หลุยส์ที่ 2 (Ludovik II.) |
13 พฤษภาคม 1516 | 29 สิงหาคม 1526 | เป็นกษัตริย์โบฮีเมีย; ถูกปลงพระชนม์ในยุทธการที่โมเฮ็คส์ |
ราชวงศ์ซาโปลยา[แก้]
ตำแหน่งกษัตริย์เป็นที่ถกเถียงระหว่างอาชดุ๊กเฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย และ จอห์น ซาโปลยา โดย จอห์น ซาโปลยาได้รับการสนับสนุนจาก สุลต่านออตโตมัน
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
จอห์นที่ 1 (Ivan Zapolja) |
10 พฤศจิกายน 1526 | 22 กรกฎาคม 1540 | อ้างสิทธในราชบัลลังก์, ภายใต้การสนับสนุนของฮังการีและสุลต่านสุไลยมานผู้เกรียงไกร |
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก[แก้]
ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1527 ในที่ประชุมของ สภาเคทิน ของโครเอเชียได้เลือก เฟอร์ดินานด์ อาชดยุคแห่งออสเตรีย ขึ้นเป็นกษัตริย์พระองค์ใหม่ของโครเอเชีย
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
เฟอร์ดินานด์ที่ 1 (Ferdinand Habsburški) |
16 ธันวาคม 1526 | 25 กรกฎาคม 1564 | อ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ตามข้อตกลงระหว่างราชวงศ์จากีลลอนและราชวงศ์ฮับส์บูร์ก |
![]() |
แม็กซิมิเลียน (Maksimilijan I.) |
8 กันยายน 1563 | 12 ตุลาคม 1576 | ปกครองในช่วงยุทธการที่ ซิเกตวาร์ และกบฏชาวนาโครเอเชีย |
![]() |
รูดอล์ฟที่ 1 | 25 กันยายน 1572 | 26 มิถุนายน 1608 | ปกครองระหว่างยุทธการซีซัก สละราชสมบัติให้พระอนุชา |
![]() |
แม็ทเธียสที่ 2 (Matija II.) |
26 มิถุนายน 1608 | 20 มีนาคม 1619 | อนุชาพระเจ้ารูดอล์ฟ |
![]() |
เฟอร์ดินานด์ที่ 2 | 1 กรกฎาคม 1618 | 15 กุมภาพันธ์ 1637 | ใน 1630ประกาศ กฎวาลาโครัม ในความโต้แย้งของสภาโครเอเชีย |
![]() |
เฟอร์ดินานด์ที่ 3 | 8 ธันวาคม 1625 | 2 เมษายน 1657 | |
![]() |
ลีโอโปลด์ที่ 1 | 27 มิถุนายน 1657 | 5 พฤษภาคม 1705 | เลิก แผนซรินสกี-ฟรังโกปัน และล้มล้างสิทธิของสภาโครเอเชียในการเลือกพระมหากษัตริย์ 1669 จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่ซาเกร็บ |
![]() |
โจเซฟที่ 1 (Josip I.) |
5 พฤษภาคม 1705 | 11 เมษายน 1711 | |
![]() |
คาร์ลที่ 3 (Karlo III.) |
11 เมษายน 1711 | 20 ตุลาคม 1740 | 9 มีนาคม 1712 รัฐสภาโครเอเชียลงมติ การรับรองในทางปฏิบัติ ณ ราชอาณาจักรโครเอเชียเพื่อยอมรับการสืบราชสมบัติของสตรีภายหลังการสิ้นสุดทายาทฝ่ายบุรุษและสนับสนุนพระนางเป็นสมเด็จพระราชินีนาถแห่งโครเอเชีย |
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอร์เรน[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
มาเรียที่ 2 เทเรซา (Marija Terezija) |
20 ตุลาคม 1740 | 29 พฤศจิกายน 1780 | ผนวกโครเอเชียเป็น županije (นคร) และ ในค.ศ. 1767 จัดตั้งราชบัลลังก์โครเอเชีย (Consilium Regium) ถึงค.ศ. 1779 เมื่อพระนางเลิกทาส พระนางสถาปนากองทัพและปฏิรูปเศรษฐกิจโดยเฉพาะระบบทาสติดที่ดิน |
![]() |
โจเซฟที่ 2 (Josip II.) |
29 พฤศจิกายน 1780 | 20 กุมภาพันธ์ 1790 | เลิกระบบทาสติดที่ดิน ทรงแปลงโครเอเชียให้เป็นเยอรมัน |
![]() |
ลีโอโปลด์ที่ 2 | 20 กุมภาพันธ์ 1790 | 1 มีนาคม 1792 | |
![]() |
ฟรานซ์ (Franjo I.) |
1 มีนาคม 1792 | 6 สิงหาคม 1806 |
ภายใต้จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี[แก้]
ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก-ลอร์เรน[แก้]
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ฟรานซ์ (Franjo I.) |
6 สิงหาคม 1806 | 2 มีนาคม 1835 | |
![]() |
เฟอร์ดินานด์ที่ 5 | 28 มีนาคม 1830 | 2 ธันวาคม 1848 | ประชวรลมบ้าหมู, สละราชสมบัติให้พระราชภาคิไนย, เจ้าชายฟรานซ์ โจเซฟ (โอรสในเจ้าชายฟรานซ์ คาร์ล). สวรรคต ค.ศ. 1875. |
![]() |
ฟรานซ์ โจเซฟ (Franjo Josip I.) |
2 ธันวาคม 1848 | 21 พฤศจิกายน 1916 | |
![]() |
คาร์ลที่ 4 (Karlo IV.) |
21 พฤศจิกายน 1916 | 16 พฤศจิกายน 1918 | จักรวรรดิออสเตรีย ฮังการีสิ้นสุดในปีค.ศ. 1918, เมื่อพระองค์ "มอบเอกราช" แก่รัฐต่างๆในจักรวรรดิ แต่ยังทรงถือว่าเป็นจักรพรรดิออสเตรียและกษัตริย์ฮังการีอยู่ จนกระทั่งพระองค์สวรรคตลงในปีค.ศ. 1922. |
ภายใต้ยูโกสลาเวีย[แก้]

ราชวงศ์คาราดอร์เดวิก[แก้]
ภายนหลัง สงครามโลกครั้งที่ 1 และการล่มสลายของจักรวรรดิออสเตรีย ฮังการี, โครเอเชียกลายเป็นส่วนหนึ่งของรัฐแห่งชาวสโลวีน โครแอต และเซิร์บซึ่งปกครองโดยราชวงศ์คาราดอร์เดวิก. ใน 1918 ตำแหน่ง "กษัตริย์โครเอเชีย" ใช้ร่วมกับตำแหน่ง"สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งปวงชนชาวเซิร์บ,โครแอทและสโลวีน". ในค.ศ. 1929 ตำแหน่งถูกเปลี่ยนเป็น"สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งยูโกสลาเวีย". ระหว่างค.ศ. 1939 - 1943 โครเอเชียเป็นเขตปกครองตนเองโดนอุปราช (บาโนวินา) ภายใต้ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย, ปกครองโดยพระเจ้าปีเตอร์ที่ 2, การดูแลภายใต้พระปรมาภิไธยโดย Ban (อุปราช) อีวาน ซูบาสิช ระหว่างนี้, ค.ศ. 1941 โครเอเชียถูกยึดครองโดยฝ่ายอักษะ along with the rest of Yugoslavia.
พระรูป | พระนาม | เริ่ม | สิ้นสุด | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ปีเตอร์ที่ 1 (Petar I.) |
1 December 1918 | 16 August 1921 | มกุฎราชกุมารอเล็กซานเดอร์ ทรงดูแลโครเอเชียแทนพระองค์ในช่วงปลายรัชกาล |
![]() |
อเล็กซานเดอร์ที่ 1 (Aleksandar I.) |
16 August 1921 | 9 October 1934 | เปลี่ยนตำแหน่งเป็นกษัตริย์ยูโกสลาเวียใน ค.ศ. 1929ถูกปลงพระชนม์ ใน มาร์เซย์. |
![]() |
ปีเตอร์ที่ 2 (Petar II.) |
9 October 1934 | 29 November 1945 | ครองราชสมบัติขณะทรงพระเยาว์. เจ้าชายพอลแห่งยูโกสลาเวีย สำเร็จราชการแทนจนกระทั่งเมษายน ค.ศ. 1941. ทรงลี้ภัยไปยังลอนดอนจนกระทั่งถูกถอดถอนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1945. อีวาน ซูบาสิช ดำรงฐานะอุปราชใน แคว้นโครเอเชีย (1939–43). ตำแหน่งประมุขแห่งรัฐโครเอเชียถูกสืบทอดโดย วลาดิเมียร์ นาโซ, the President of the ZAVNOH. |
รัฐเอกราชโครเอเชีย[แก้]
1941 - 1945: กองทัพนาซีได้ก่อตั้ง รัฐเอกราชโครเอเชีย ขึ้นเป็นรัฐหุ่นเชิด โดยดินแดนนี้เป็นดินแดนที่ฝ่ายอักษะยึดจากยูโกสลาเวียได้ และถูกปกครองโดย ขบวนการปฏิวัติโครเอเชียอุสตาซา นำโดย อันเท ปาเวลิช. ในเดือนพฤษภาคม 1941 ได้มีการจัดตั้งเป็นราชอาณาจักร (ภายใต้ข้อตกลงระหว่างอันเต ปาเวลิช และ เบนิโต มุสโสลินี). แล้วเชิญ เจ้าชายไอโมน ดยุกที่ 4 แห่งโอสตา ครองราชย์โดยใช้พระนามว่า "สมเด็จพระราชาธิบดีโทมิสลาฟที่ 2 แห่งโครเอเชีย" แต่พระองค์ก็ไม่เคยได้ปกครองโครเอเชียเลย และในที่สุด ก็ทรงถูกรัฐบาลอิตาลีบังคับให้ลงพระปรมาภิไธยสละราชสมบัติในปีค.ศ. 1943
ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์โครเอเชีย[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Thomas the Archdeacon: Historia Salonitana, caput 13.
- ↑ Catholic Encyclopedia
- ↑ [1]