ข้ามไปเนื้อหา

รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตราแผ่นดินของญี่ปุ่น—ที่เป็นรูปของดอกเบญจมาศ

นี่คือ รายพระนามจักรพรรดิญี่ปุ่น ที่เรียงตามลำดับการครองราชย์[1] การบันทึกการครองราชย์ของจักรพรรดิญี่ปุ่น ถูกจัดเรียงตามระบบธรรมเนียมปฏิทินญี่ปุ่น ซึ่งระบบ เน็งโง เป็นระบบที่ถูกใช้มาตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 7 เป็นต้นมา[2]

ลำดับและวันที่ของจักรพรรดิญี่ปุ่น 28 องค์แรก และโดยเฉพาะ 16 องค์แรก ถูกตั้งตามระบบปฏิทินญี่ปุ่น[3]

จักรพรรดิญี่ปุ่น

[แก้]
ลำดับ พระบรมสาทิสลักษณ์/พระบรมฉายาลักษณ์ พระนาม ครองราชย์ พระปัจฉามรณนาม หมายเหตุ
จักรพรรดิในตำนาน (660 ปีก่อนคริสตกาล – ค.ศ. 269)
1 คามุ-ยามาโตะ อิวาเระ-บิโกะ โนะ มิโกโตะ 660–585 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิจิมมุ
神武天皇
  วันที่ตามธรรมเนียม; อ้างว่าสืบเชื้อสายมาจากเทพีสุริยะ อามาเตราซุ[4]
2 คามุ นูนางาวามิมิ โนะ มิโกโตะ 581–549 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิซูอิเซ
綏靖天皇
  วันที่ตามธรรมเนียม;[5] โอรสองค์ที่ 3 ของจักรพรรดิจิมมุ;[6] สันนิษฐานว่าเป็นแค่ตำนาน
3 ชิกิตสึฮิโกะ ทามาเดมิ โนะ มิโกโตะ 549–511 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิอันเน
安寧天皇
  วันที่ตามธรรมเนียม;[7] โอรสและทายาทของจักรพรรดิซูอิเซ;[6] สันนิษฐานว่าเป็นแค่ตำนาน
4 โอโฮะ ยามาโตฮิโกะ ซูกิโตโมะ โนะ มิโกโตะ 510–476 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิอิโตกุ
懿徳天皇
  วันที่ตามธรรมเนียม;[7] โอรสองค์ที่ 2 ของจักรพรรดิอันเน;[6] สันนิษฐานว่าเป็นแค่ตำนาน
5 มิมัตสึฮิโกะ คาเอชิเนะ โนะ มิโกโตะ 475–393 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิโคโช
孝昭天皇
  วันที่ตามธรรมเนียม;[8] โอรสและทายาทของจักรพรรดิอิโตกุ;[6] สันนิษฐานว่าเป็นแค่ตำนาน
6 โอโฮะ ยามาโตะ ทาราชิฮิโกะ คุนิโอชิ ฮิโตะ โนะ มิโกโตะ 392–291 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิโคอัง
孝安天皇
  วันที่ตามธรรมเนียม;[9] โอรสองค์ที่ 2 ของจักรพรรดิโคโช;[6] สันนิษฐานว่าเป็นแค่ตำนาน
7 โอโฮะ ยามาโตะ เนโกฮิโกะ ฟูโตนิ โนะ มิโกโตะ 290–215 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิโคเร
孝霊天皇
  วันที่ตามธรรมเนียม;[10] โอรสและทายาทของจักรพรรดิโคอัง;[6] สันนิษฐานว่าเป็นแค่ตำนาน
8 โอโฮะ ยามาโตะ เนโกฮิโกะ คูนิ คูรุ โนะ มิโกโตะ 214–158 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิโคเง็ง
孝元天皇
  วันที่ตามธรรมเนียม;[11] โอรสและทายาทของจักรพรรดิโคเร;[6] สันนิษฐานว่าเป็นแค่ตำนาน
9 วากะ ยามาโตะ เนโกฮิโกะ โอโฮะ บิบิโนะ โนะ มิโกโตะ 157–98 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิไคกะ
開化天皇
  วันที่ตามธรรมเนียม;[12]โอรสองค์ที่ 2 ของจักรพรรดิโคเง็ง;[6] สันนิษฐานว่าเป็นแค่ตำนาน
10 มิมากิ อิริฮิโกะ อินิเอะ โนะ มิโกโตะ 97–30 ปีก่อนคริสตกาล จักรพรรดิซูจิง
崇神天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[13] จักรพรรดิองค์แรกที่เป็นไปได้ว่ามีตัวตนจริง[14]
11 อิกูเมะ อิริฮิโกะ อิซาจิ โนะ มิโกโตะ 29 ปีก่อนคริสตกาล–ค.ศ. 70 จักรพรรดิซูอินิง
垂仁天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[15]
12 โอโฮะ ทาราชิฮิโกะ โอชิโรวาเกะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 71–130 จักรพรรดิเคโก
景行天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[16]
13 วากะ ทาราชิฮิโกะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 131–191 จักรพรรดิเซมุ
成務天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[17]
14 ทาราชิ นากัตสึฮิโกะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 192–200 จักรพรรดิชูไอ
仲哀天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[18]
โอกินางะ ทาราชิฮิเมะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 201–269 จักรพรรดินีจิงงู
神功皇后
วันที่ตามธรรมเนียม;[19] ทำหน้าที่เป็นอุปราชของจักรพรรดิโอจิง; ไม่ถือเป็นจักรพรรดิอย่างเป็นทางการ
ยุคโคฟุง (ค.ศ. 269–539)
15 ฮนดะ โนะ ซูเมรามิโกโตะ / โอโตโมวาเกะ โนะ มิโกโตะ / โฮมูตาวาเกะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 270–310 จักรพรรดิโอจิง
応神天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[20] ถูกระบุเป็นฮาจิมัง
16 โอ ซาซากิ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 313–399 จักรพรรดินินโตกุ
仁徳天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[21]
17
อิซาโฮะ วาเกะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 400–405 จักรพรรดิริชู
履中天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[22]
18 ทาจิฮิ มิซูฮะ วาเกะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 406–410 จักรพรรดิฮันเซ
反正天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[23]
19 โวะ อาซาซูมะ วากูโงะ โนะ ซูกูเนะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 411–453 จักรพรรดิอิงเงียว
允恭天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[24]
20 อานาโฮะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 453–456 จักรพรรดิอังโก
安康天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[25]
21 โอโฮะ ฮัตสึเซะ วากาตาเกรุ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 456–479 จักรพรรดิยูเรียะกุ
雄略天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[26]
22 ชิรากะ ทาเกฮิโระ คูนิ โอชิ วากะ ยามาโตะ เนโกะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 480–484 จักรพรรดิเซเน
清寧天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[27]
23 โอโฮเกะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 485–487 จักรพรรดิเค็นโซ
顕宗天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[28]
24 โอโฮชิ (โอโฮซุ) โนะ มิโกโตะ/ชิมาโนะ อิรัตสึโกะ ค.ศ. 488–498 จักรพรรดินิงเก็ง
仁賢天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[29]
25 โวฮัตสึเซะ วากาซาซากิ ค.ศ. 498–506 จักรพรรดิบูเร็ตสึ
武烈天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[30]
26 โอโตะ/ฮิโกฟูโตะ (ฮิโกฟูโตะ โนะ มิโกโตะ/โอโดะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 507–531 จักรพรรดิเคไต
継体天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[31]
27 ฮิโรกูนิ โอชิตาเกะ คานาฮิ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 531–535 จักรพรรดิอังกัง
安閑天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[32]
28 ทาเกโอะ ฮิโรกูนิ โอชิตาเกะ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 535–539 จักรพรรดิเซ็งกะ
宣化天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[33]
ยุคอาซูกะ (ค.ศ. 539–710)
29 อาเมกูนิ โอชิฮารูกิ ฮิโรนิวะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ ค.ศ. 539–571 จักรพรรดิคิมเม
欽明天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[34] จักรพรรดิทุกพระองค์ตั้งแต่จักรพรรดิคิมเมเป็นต้นมา มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ยืนยันได้[35]
30 โอซาดะ โนะ นูนากูระ โนะ ฟูโตตามาชิกิ โนะ มิโกโตะ ค.ศ. 572–585 จักรพรรดิบิดัตสึ
敏達天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[36]
31 โอโอเอะ/ทาจิบานะ โนะ โทโยฮิ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ ค.ศ. 585–587 จักรพรรดิโยเม
用明天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[37]
32 ฮัตสึเซเบะ โนะ (วากาซาซางิ) มิโกโตะ ค.ศ. 587–592 จักรพรรดิซูชุง
崇峻天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[38]
33 นูกาตาเบะ/โทโยมิเกะ คาชิกิยาฮิเมะ ค.ศ. 592–628 จักรพรรดินีซุอิโกะ
推古天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[39] จักรพรรดินีที่ไม่ใช่ตำนานองค์แรก; เจ้าชายโชโตกุทำหน้าที่เป็นอุปราชของพระองค์
34 ทามูระ (โอกิ นางาตาราชิฮิ ฮิโรนูกะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 629–641 จักรพรรดิโจเม
舒明天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[40]
35 ทาการะ (อาเมะ โทโยตากาไรกาชิ ฮิตาราชิ ฮิเมะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 642–645 จักรพรรดินีโคเงียวกุ
皇極天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[41] ครองราชย์สองครั้ง
36 คารุ (อาเมะ โยโรซุ โทโยฮิ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 645–654 จักรพรรดิโคโตกุ
孝徳天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[42]
37 ทาการะ (อาเมะ โทโยตากาไรกาชิ ฮิตาราชิ ฮิเมะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 655–661 จักรพรรดินีไซเม
斉明天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[43] การครองราชย์ครั้งที่สองของจักรพรรดินีโคเงียวกุ
38 คัตสึรางิ/นากาโนะ-โอโอเอะ (อาเมะ มิโกโตะ ฮิรากาซูวาเกะ โนะ มิโกโตะ/อามัตสึ มิโกโตะ ซากิวาเกะ โนะ มิโกโตะ) ค.ศ. 661–672 จักรพรรดิเท็นจิ
天智天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[44]
39 โอโตโมะ ค.ศ. 672 จักรพรรดิโคบุง
弘文天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[45] ยึดอำนาจโดยจักรพรรดิเท็มมุ; ตั้งพระนามหลังสวรรคต (ค.ศ.1870)
40 โออามะ/โอโฮชิอามะ/โอซามะ (อาเมะ โนะ นูนาฮาระ โอกิ โนะ มาฮิโตะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 672–686 จักรพรรดิเท็มมุ
天武天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[46]
41 อูโนโนซาราระ (ทากามะ โนะ ฮาราฮิโระ โนะ ฮิเมะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 686–697 จักรพรรดินีจิโต
持統天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[47]
42 คารุ (อาเมะ โนะ มามูเนะ โทโยโอโฮจิ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 697–707 จักรพรรดิมมมุ
文武天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[48]
ยุคนาระ (ค.ศ. 710–794)
43 อาเฮะ (ยามาโตเนโกะ อามัตสึ มิชิโระ โทโยกูนิ นาริฮิเมะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 707–715 จักรพรรดินีเก็มเม
元明天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[49]
44 ฮิดากะ/นิอิโนมิ (ยามาโตเนโกะ ทากามิซุ คิโยตาราชิ ฮิเมะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 715–724 จักรพรรดินีเก็นโช
元正天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[50]
45 โอบิโตะ (อาเมชิรูชิ คูนิโอชิฮารูกิ โทโยซากูราฮิโกะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 724–749 จักรพรรดิโชมุ
聖武天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[51]
46 อาเบะ (ยามาโตเนโกะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 749–758 จักรพรรดินีโคเก็ง
孝謙天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[52] ครองราชย์สองครั้ง
47 โออิ ค.ศ. 758–764 จักรพรรดิจุนนิง
淳仁天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[53] โค่นราชบัลลังก์โดยจักรพรรดินีโชโตกุ; ตั้งพระนามหลังสวรรคต (ค.ศ. 1870)
48 อาเบะ (ยามาโตเนโกะ โนะ ซูเมระ มิโกโตะ) ค.ศ. 764–770 จักรพรรดินีโชโตกุ
称徳天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[54] การครองราชย์ครั้งที่สองของจักรพรรดินีโคเก็ง
49 ชิรากาเบะ (อาเมมูเนะ ทากัตสึงิ โนะ มิโกโตะ) ค.ศ. 770–781 จักรพรรดิโคนิง
光仁天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[55]
50 ยามาเบะ (ยามาโตเนโกะ อามัตสึ ฮิตสึงิ อิยาเดริ โนะ มิโกโตะ) ค.ศ. 781–806 จักรพรรดิคัมมุ
桓武天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[56]
ยุคเฮอัง (ค.ศ. 794–1185)
51 อาเตะ (ยามาโตเนโกะ อาเมโอชิกูนิ ทากาฮิโกะ โนะ มิโกโตะ) ค.ศ. 806–809 จักรพรรดิเฮเซ
平城天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[57]
52 คามีโนะ ค.ศ. 809–823 จักรพรรดิซางะ
嵯峨天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[58]
53 โอโตโมะ ค.ศ. 823–833 จักรพรรดิจุนนะ
淳和天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[59]
54 มาซาระ ค.ศ. 833–850 จักรพรรดินิมเมียว
仁明天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[60]
55 มิจิยาซุ ค.ศ. 850–858 จักรพรรดิมนโตกุ
文徳天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[61]
56 โคเรฮิโตะ ค.ศ. 858–876 จักรพรรดิเซวะ
清和天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[62]
57 ซาดาอากิระ ค.ศ. 876–884 จักรพรรดิโยเซ
陽成天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[63]
58 โทกิยาซุ ค.ศ. 884–887 จักรพรรดิโคโก
光孝天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[64]
59 ซาดามิ ค.ศ 887–897 จักรพรรดิอูดะ
宇多天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[65]
60 อัตสึฮิโตะ ค.ศ. 897–930 จักรพรรดิไดโงะ
醍醐天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[66]
61 ค.ศ. 930–946 จักรพรรดิซูซากุ
朱雀天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[67]
62 นารีอากิระ ค.ศ. 946–967 จักรพรรดิมูรากามิ
村上天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[68]
63 โนริฮิระ ค.ศ. 967–969 จักรพรรดิเรเซ
冷泉天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[69]
64 โมริฮิระ ค.ศ. 969–984 จักรพรรดิเอ็งยู
円融天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[70]
65 โมโรซาดะ ค.ศ. 984–986 จักรพรรดิคาซัง
花山天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[71]
66 คาเนฮิโตะ ค.ศ. 986–1011 จักรพรรดิอิจิโจ
一条天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[72]
67 โอกิซาดะ/อิยาซาดะ ค.ศ. 1011–1016 จักรพรรดิซันโจ
三条天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[73]
68 อัตสึฮิระ ค.ศ. 1016–1036 จักรพรรดิโกะ-อิจิโจ
後一条天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[74]
69 อัตสึนางะ/อัตสึโยชิ ค.ศ. 1036–1045 จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ
後朱雀天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[75]
70 จิกาฮิโตะ ค.ศ. 1045–1068 จักรพรรดิโกะ-ซุซะกุ
後冷泉天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[76]
71 ทากาฮิโตะ ค.ศ. 1068–1073 จักรพรรดิโก-ซันโจ
後三条天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[77]
72 ซาดาฮิโตะ ค.ศ. 1073–1087 จักรพรรดิชิระกะวะ
白河天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[78]
73 ทารูฮิโตะ ค.ศ. 1087–1107 จักรพรรดิโฮริกาวะ
堀河天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[79]
74 มูเนฮิโตะ ค.ศ. 1107–1123 จักรพรรดิโทบะ
鳥羽天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[80]
75 อากิฮิโตะ ค.ศ. 1123–1142 จักรพรรดิซูโตกุ
崇徳天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[81]
76 นาริฮิโตะ ค.ศ. 1142–1155 จักรพรรดิโคโนเอะ
近衛天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[82]
77 ทาซาฮิโตะ ค.ศ. 1155–1158 จักรพรรดิโกะ-ชิระกะวะ
後白河天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[83]
78 โมริฮิโตะ ค.ศ. 1158–1165 จักรพรรดินิโจ
二条天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[84]
79 โยริฮิโตะ ค.ศ. 1165–1168 จักรพรรดิโรกูโจ
六条天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[85]
80 โนริฮิโตะ ค.ศ. 1168–1180 จักรพรรดิทะกะกุระ
高倉天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[85]
81 โทกิฮิโตะ ค.ศ. 1180–1185 จักรพรรดิอันโตะกุ
安徳天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[86]
ยุคคามากูระ (ค.ศ. 1185–1333)
82 ทากาฮิระ ค.ศ. 1183–1198 จักรพรรดิโกะ-โทะบะ
後鳥羽天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[87]
83 ทาเมฮิโตะ ค.ศ. 1198–1210 จักรพรรดิสึจิมิกาโดะ
土御門天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[88]
84 โมริฮิระ/โมรินาริ ค.ศ. 1210–1221 จักรพรรดิจุนโตกุ
順徳天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[89]
85 คาเนฮิระ/คาเนนาริ ค.ศ. 1221 จักรพรรดิชูเกียว
仲恭天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[90] ตั้งพระนามหลังสวรรคต (ค.ศ. 1870)
86 ยูตาฮิโตะ ค.ศ. 1221–1232 จักรพรรดิโกะ-โฮะริกะวะ
後堀河天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[91]
87 มิตสึฮิโตะ/โทชิฮิโตะ ค.ศ. 1232–1242 จักรพรรดิชิโจ
四条天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[92]
88 คูนิฮิโตะ ค.ศ. 1242–1246 จักรพรรดิโกซางะ
後嵯峨天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[93]
89 ฮิซาฮิโตะ ค.ศ. 1246–1260 จักรพรรดิโกะ-ฟูกากูซะ
後深草天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[94]
90 สึเนฮิโตะ ค.ศ. 1260–1274 จักรพรรดิคาเมยามะ
亀山天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[95]
91 โยฮิโตะ ค.ศ. 1274–1287 จักรพรรดิโกอูดะ
後宇多天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[96]
92 ฮิโรฮิโตะ ค.ศ. 1287–1298 จักรพรรดิฟุชิมิ
伏見天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[97]
93 ทาเนฮิโตะ ค.ศ. 1298–1301 จักรพรรดิโกะ-ฟุชิมิ
後伏見天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[98]
94 คูนิฮารุ ค.ศ. 1301–1308 จักรพรรดิโกะ-นิโจ
後二条天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[99]
95 โทมีฮิโตะ ค.ศ. 1308–1318 จักรพรรดิฮานาโซโนะ
花園天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[100]
96 ทากาฮารุ ค.ศ. 1318–1339 จักรพรรดิโกไดโงะ
後醍醐天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[101] ราชสำนักใต้
ราชสำนักเหนือ (ค.ศ. 1331–1392)
คาซูฮิโตะ ค.ศ. 1331–1333 จักรพรรดิโคงง
光厳天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[102]
ยูตาฮิโตะ ค.ศ. 1336–1348 จักรพรรดิโคเมียว
光明天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[103]
โอกิฮิโตะ ค.ศ. 1348–1351 จักรพรรดิซุโก
崇光天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[104]
อิยาฮิโตะ ค.ศ. 1352–1371 จักรพรรดิโกะ-โคงง
後光厳天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[105]
โอฮิโตะ ค.ศ. 1371–1382 จักรพรรดิโกะ-เอ็งยู
後円融天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[106]
โมโตฮิโตะ ค.ศ. 1382–1392 จักรพรรดิโกะ-โคมัตสึ
後小松天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[107] รวมราชสำนักใน ค.ศ. 1392; ดูลำดับที่ 100 ข้างล่าง
ยุคมูโรมาจิกับยุคอาซูจิ–โมโมยามะ (ค.ศ. 1333–1603)
97 โนรินางะ/โนริโยชิ ค.ศ. 1339–1368 จักรพรรดิโกะ-มูรากามิ
後村上天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[108] ราชสำนักใต้
98 ยูตานาริ ค.ศ. 1368–1383 จักรพรรดิโชเก
長慶天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[109] ราชสำนักใต้
99 ฮิโรนาริ ค.ศ. 1383–1392 จักรพรรดิโกะ-คาเมยามะ
後亀山天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[110] ราชสำนักใต้
100 โมโตฮิโตะ ค.ศ. 1392–1412 จักรพรรดิโกะ-โคมัตสึ
後小松天皇
วันที่ตามธรรมเนียม;[111] รวมราชสำนัก ดูทั้งราชสำนักเหนือได้ที่ข้างบน
101 มิฮิโตะ ค.ศ. 1412–1428 จักรพรรดิโชโก
称光天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[112]
102 ฮิโกฮิโตะ ค.ศ. 1428–1464 จักรพรรดิโกะ-ฮานาโซโนะ
後花園天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[113]
103 ฟูซาฮิโตะ ค.ศ. 1464–1500 จักรพรรดิโกะ-สึจิมิกาโดะ
後土御門天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[114]
104 คัตสึฮิโตะ ค.ศ. 1500–1526 จักรพรรดิโกะ-คาชิวาบาระ
後柏原天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[115]
105 โทโมฮิโตะ ค.ศ. 1526–1557 จักรพรรดิโกะ-นาระ
後奈良天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[116]
106 มิจิฮิโตะ ค.ศ. 1557–1586 จักรพรรดิโองิมาจิ
正親町天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[117]
107 คาซูฮิโตะ/คาตาฮิโตะ ค.ศ. 1586–1611 จักรพรรดิโกโยเซ
後陽成天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[118]
ยุคเอโดะ (ค.ศ. 1603–1867)
108 โคโตฮิโตะ ค.ศ. 1611–1629 จักรพรรดิโกะ-มิซุโน
(โกะ-มิโนโอะ)

後水尾天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[119]
109 โอกิโกะ ค.ศ. 1629–1643 จักรพรรดินีเมโช
明正天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[120]
110 สึงูฮิโตะ ค.ศ. 1643–1654 จักรพรรดิโกะ-โคเมียว
後光明天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[121]
111 นางาฮิโตะ ค.ศ. 1655–1663 จักรพรรดิโกะ-ไซ
後西天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[122]
112 ซาโตฮิโตะ ค.ศ. 1663–1687 จักรพรรดิเรเง็ง
霊元天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[123]
113 อาซาฮิโตะ/โทโมฮิโตะ ค.ศ. 1687–1709 จักรพรรดิฮิงาชิยามะ
東山天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[124]
114 ยาซูฮิโตะ/โยชิฮิโตะ ค.ศ. 1709–1735 จักรพรรดินากามิกาโดะ
中御門天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[125]
115 เทรูฮิโตะ ค.ศ. 1735–1747 จักรพรรดิซากูรามาจิ
桜町天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[126]
116 โทโอฮิโตะ ค.ศ. 1747–1762 จักรพรรดิโมโมโซโนะ
桃園天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[127]
117 โทชิโกะ ค.ศ. 1762–1771 จักรพรรดินีโกะ-ซากูรามาจิ
後桜町天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[128] จักรพรรดินีองค์สุดท้าย สละราชสมบัติ; สวรรคตใน ค.ศ. 1813
118 ฮิเดฮิโตะ ค.ศ. 1771–1779 จักรพรรดิโกะ-โมโมโซโนะ
後桃園天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[129]
119 โมโรฮิโตะ ค.ศ. 1780–1817 จักรพรรดิโคกากุ
光格天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[130] สวรรคตใน ค.ศ. 1840
120 อายาฮิโตะ ค.ศ. 1817–1846 จักรพรรดินินโก
仁孝天皇
วันที่ตามธรรมเนียม[131]
121 โอซาฮิโตะ ค.ศ. 1846–1867 จักรพรรดิโคเม
孝明天皇
จักรพรรดิองค์สุดท้ายที่มีรัชศกอยู่หลายชื่อ
ญี่ปุ่นยุคใหม่ (ตั้งแต่ ค.ศ. 1867 เป็นต้นมา)
122 มุตสึฮิโตะ ค.ศ. 1867–1912 จักรพรรดิเมจิ
明治天皇
จักรพรรดิองค์แรกแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น
123 โยชิฮิโตะ ค.ศ. 1912–1926 จักรพรรดิไทโช
大正天皇
มกุฎราชกุมารฮิโรฮิโตะทรงทำหน้าที่เป็น เซ็ชโช (ญี่ปุ่น: 摂政โรมาจิSesshō; "อุปราช") ค.ศ. 1921–1926
124 ฮิโรฮิโตะ ค.ศ. 1926–1989 จักรพรรดิโชวะ
昭和天皇
ทรงทำหน้าที่เป็น เซ็ชโช (ญี่ปุ่น: 摂政โรมาจิSesshō; "อุปราช") ค.ศ. 1921–1926
จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งจักรวรรดิญี่ปุ่น
125 สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ ค.ศ. 1989–2019 จักรพรรดิเฮเซ

平成天皇

สละราชสมบัติในวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 2019 เป็นจักรพรรดิองค์แรกที่สละราชสมบัติตั้งแต่จักรพรรดิโคกากุเป็นต้นมา ถูกกล่าวขานเป็น โจโก (ญี่ปุ่น: 上皇โรมาจิJōkō) ในภาษาญี่ปุ่น พระองค์จะเป็นที่รู้จักในพระนาม "จักรพรรดิเฮเซ" (平成天皇) หลังจากสวรรค
126 สมเด็จพระจักรพรรดินารูฮิโตะ ค.ศ. 2019–ปัจจุบัน จักรพรรดิเรวะ

令和天皇

ครองราชในวันที่ 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2019 ถูกกล่าวขานเป็น คินโจ เท็นโน (ญี่ปุ่น: 今上天皇โรมาจิKinjō Tennō; "จักรพรรดิผู้ครองราชย์") หรือ เท็นโน เฮกะ (ญี่ปุ่น: 天皇陛下โรมาจิTennō Heika; "องค์สมเด็จพระจักรพรรดิ") ในภาษาญี่ปุ่น พระองค์จะเป็นที่รู้จักในพระนาม "จักรพรรดิเรวะ" (令和天皇) หลังจากสวรรคต[132]

ภาพ

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Nussbaum, Louis Frédéric. (2005). "Traditional Order of Tennō" in Japan Encyclopedia, p. 962.
  2. Nussbaum, "Nengō" in Japan Encyclopedia, p. 704.
  3. A list of other Japanese calling themselves or being called Emperors (追尊天皇, 尊称天皇, 異説に天皇とされる者, 天皇に準ずる者, 自称天皇) can be seen on the Japanese Wikipedia page 天皇の一覧 (List of Japanese monarchs).
  4. Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du japon (Nihon Ōdai Ichiran), pp. 1–3; Brown, Delmer M. (1979). Gukanshō, p. 249; Varley, H. Paul. (1980). Jinnō Shōtōki, pp. 84–88;
  5. Titsingh, pp. 3–4; Brown, pp. 250–251; Varley, pp. 88–89.
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.7 Brown, p. 248.
  7. 7.0 7.1 Titsingh, p. 4; Brown, p. 251; Varley, p. 89.
  8. Titsingh, pp. 4–5; Brown, p. 251; Varley, p. 90.
  9. Titsingh, p. 5; Brown, pp. 251–252; Varley, p. 90.
  10. Titsingh, pp. 5–6; Brown, p. 252; Varley, pp. 90–92.
  11. Titsingh, p. 6; Brown, p. 252; Varley, pp. 92–93.
  12. Titsingh, pp. 6–7; Brown, p. 252; Varley, p. 93.
  13. Titsingh, pp. 7–9; Brown, p. 253; Varley, pp. 93–95.
  14. Yoshida, Reiji. "Life in the Cloudy Imperial Fishbowl," Japan Times. March 27, 2007; retrieved 2013-8-22.
  15. Titsingh, pp. 9–10; Brown, pp. 253–254; Varley, pp. 95–96.
  16. Titsingh, pp. 11–14; Brown, p. 254; Varley, pp. 96–99.
  17. Brown, p. 254; Varley, pp. 99–100; Titsingh, pp. 14–15.
  18. Brown, pp. 254–255; Varley, pp. 100–101; Titsingh, p. 15.
  19. Brown, p. 255; Varley, pp. 101–103; Titsingh, pp. 16–19.
  20. Titsingh, pp. 19–22; Brown, pp. 255–256; Varley, pp. 103–10.
  21. Brown, pp. 256–257; Varley, pp. 110–111; Titsingh, pp. 22–24.
  22. Brown, p. 257; Varley, p. 111; Titsingh, pp. 24–25.
  23. Brown, p. 257; Varley, p. 112; Titsingh, p. 25.
  24. Brown, pp. 257–258; Varley, p. 112; Titsingh, p. 26.
  25. Brown, p. 258; Varley, p. 113; Titsingh, p. 26.
  26. Brown, p. 258; Varley, pp. 113–115; Titsingh, pp. 27–28.
  27. Brown, p. 258–259; Varley, pp. 115–116; Titsingh, pp. 28–29.
  28. Brown, p. 259; Varley, p. 116; Titsingh, pp. 29–30.
  29. Titsingh, p. 30; Brown, p. 259-260; Varley, p. 117.
  30. Brown, p. 260; Varley, pp. 117–118; Titsingh, p. 31.
  31. Brown, pp. 260–261; Varley, pp. 17–18, 119–120; Titsingh, p. 31–32.
  32. Brown, p. 261; Varley, pp. 120–121; Brown, p. 261; Titsingh, p. 33.
  33. Brown, p. 261; Varley, p. 121; Titsingh, p. 33–34.
  34. Brown, pp. 261–262; Varley, pp. 123–124; Titsingh, p. 34–36.
  35. Hoye, Timothy. (1999). Japanese Politics: Fixed and Floating Worlds, p. 78; excerpt, "According to legend, the first Japanese Emperor was Jinmu. Along with the next 13 Emperors, Jinmu is not considered an actual, historical figure. Historically verifiable Emperors of Japan date from the early sixth century with Kinmei."
  36. Varley, pp. 124–125; Brown, pp. 262–263; Titsingh, p. 36–37.
  37. Brown, p. 263; Varley, pp. 125–126; Titsingh, p. 37–38.
  38. Brown, p. 263; Varley, p. 126; Titsingh, p. 38–39.
  39. Brown, pp. 263–264; Varley, pp. 126–129; Titsingh, pp. 39–42.
  40. Brown, pp. 264–265; Varley, pp. 129–130; Titsingh, pp. 42–43.
  41. Brown, pp. 265–266; Varley, pp. 130–132; Titsingh, pp. 43–47.
  42. Brown, pp. 266–267; Varley, pp. 132–133; Titsingh, pp. 47–50.
  43. Brown, p. 267; Varley, pp. 133–134; Titsingh, pp. 50–52.
  44. Brown, p. 268; Varley, p. 135; Titsingh, pp. 52–56.
  45. Brown, pp. 268–269; Varley, pp. 135–136; Titsingh, pp. 56–58.
  46. Brown, pp. 268–269; Varley, pp. 135–136; Titsingh, pp. 58–59.
  47. Brown, pp. 269–270; Varley, pp. 136–137; Titsingh, pp. 59–60.
  48. Brown, pp. 270–271; Varley, pp. 137–140; Titsingh, pp. 60–63.
  49. Brown, p. 271; Varley, p. 140; Titsingh, pp. 63–65.
  50. Brown, p. 271–272; Varley, pp. 140–141; Titsingh, pp. 65–67.
  51. Brown, pp. 272–273; Varley, pp. 141–143; Titsingh, pp. 67–73.
  52. Brown, pp. 274–275; Varley, p. 143; Titsingh, pp. 73–75.
  53. Brown, p. 275; Varley, pp. 143–144; Titsingh, pp. 75–78.
  54. Brown, p. 276; Varley, pp. 144–147; Titsingh, pp. 78–81.
  55. Brown, p. 276–277; Varley, pp. 147–148; Titsingh, pp. 81–85.
  56. Brown, pp. 277–279; Varley, pp. 148–150; Titsingh, pp. 86–95.
  57. Brown, pp. 279–280; Varley, p. 151; Titsingh, pp. 96–97.
  58. Brown, pp. 280–282; Varley, pp. 151–164; Titsingh, pp. 97–102.
  59. Brown, p. 282–283; Varley, p. 164; Titsingh, pp. 103–106.
  60. Brown, pp. 283–284; Varley, pp. 164–165; Titsingh, pp. 106–112.
  61. Brown, pp. 285–286; Varley, p. 165; Titsingh, pp. 112–115.
  62. Brown, pp. 286–288; Varley, pp. 166–170; Titsingh, pp. 115–121.
  63. Brown, pp. 288–289; Varley, pp. 170–171; Titsingh, pp. 121–124.
  64. Brown, p. 289; Varley, pp. 171–175; Titsingh, pp. 124–125.
  65. Brown, p. 289–290; Varley, pp. 175–179; Titsingh, pp. 125–129.
  66. Brown, pp. 290–293; Varley, pp. 179–181; Titsingh, pp. 129–134.
  67. Brown, pp. 294–295; Varley, pp. 181–183; Titsingh, pp. 134–138.
  68. Brown, pp. 295–298; Varley, pp. 183–190; Titsingh, pp. 139–142.
  69. Brown, p. 298; Varley, pp. 190–191; Titsingh, pp. 142–143.
  70. Brown, pp. 299–300; Varley, pp. 191–192; Titsingh, pp. 144–148.
  71. Brown, pp. 300–302; Varley, p. 192; Titsingh, pp. 148–149.
  72. Brown, pp. 302–307; Varley, pp. 192–195; Titsingh, pp. 150–154.
  73. Brown, p. 307; Varley, p. 195; Titsingh, pp. 154–155.
  74. Brown, pp. 307–310; Varley, pp. 195–196; Titsingh, pp. 156–160.
  75. Brown, pp. 310–311; Varley, p. 197; Titsingh, pp. 160–162.
  76. Brown, pp. 311–314; Varley, pp. 197–198; Titsingh, pp. 162–166.
  77. Brown, pp. 314–315; Varley, pp. 198–199; Titsingh, pp. 166–168.
  78. Brown, pp. 315–317; Varley, pp. 199–202; Titsingh, pp. 169–171.
  79. Brown, pp. 317–320; Varley, p. 202; Titsingh, pp. 172–178.
  80. Brown, pp. 320–322; Varley, pp. 203–204; Titsingh, pp. 178–181.
  81. Brown, pp. 322–324; Varley, pp. 204–205; Titsingh, pp. 181–185.
  82. Brown, pp. 324–326; Varley, p. 205; Titsingh, pp. 186–188.
  83. Brown, p. 326–327; Varley, pp. 205–208; Titsingh, pp. 188–190.
  84. Brown, pp. 327–329; Varley, pp. 208–212; Titsingh, pp. 191–194.
  85. 85.0 85.1 Brown, pp. 329–330; Varley, p. 212; Titsingh, pp. 194–195.
  86. Brown, pp. 333–334; Varley, pp. 214–215; Titsingh, pp. 200–207.
  87. Brown, pp. 334–339; Varley, pp. 215–220; Titsingh, pp. 207–221.
  88. Brown, pp. 339–341; Varley, pp 220; Titsingh, pp. 221–230.
  89. Brown, pp. 341–343, Varley, pp. 221–223; Titsingh, pp. 230–238.
  90. Brown, pp. 343–344; Varley, pp. 223–226; Titsingh, pp. 236–238.
  91. Brown, pp. 344–349; Varley, pp. 226–227; Titsingh, pp. 238–241.
  92. Varley, p. 227; Titsingh, pp. 242–245.
  93. Varley, pp. 228–231; Titsingh, pp. 245–247.
  94. Varley, pp. 231–232; Titsingh, pp. 248–253.
  95. Varley, pp. 232–233; Titsingh, pp. 253–261.
  96. Varley, pp. 233–237; Titsingh, pp. 262–269.
  97. Varley, pp. 237–238; Titsingh, pp. 269–274.
  98. Varley, pp. 238–239; Titsingh, pp. 274–275.
  99. Varley, p. 239; Titsingh, pp. 275–278.
  100. Varley, pp. 239–241; Titsingh, pp. 278–281.
  101. Varley, pp. 241–269; Titsingh, pp. 281–286, and Titsingh, p. 290–294.
  102. Titsingh, pp. 286–289.
  103. Titsingh, pp. 294–298.
  104. Titsingh, pp. 298–301.
  105. Titsingh, pp. 302–309.
  106. Titsingh, pp. 310–316.
  107. Titsingh, pp. 317–327.
  108. Varley, pp. 269–270 Titsingh, p. .
  109. Titsingh, p. .
  110. [Titsingh, p. ]–320.
  111. Titsingh, pp. 320–327.
  112. Titsingh, pp. 327–331.
  113. Titsingh, pp. 331–351.
  114. Titsingh, pp. 352–364.
  115. Titsingh, pp. 364–372.
  116. Titsingh, pp. 372–382.
  117. Titsingh, pp. 382–402.
  118. Titsingh, pp. 402–409.
  119. Titsingh, pp. 410–411.
  120. Titsingh, pp. 411–412.
  121. Titsingh, pp. 412–413.
  122. Titsingh, p. 413.
  123. Titsingh, pp. 414–415.
  124. Titsingh, pp. 415–416.
  125. Titsingh, pp. 416–417.
  126. Titsingh, pp. 417–418.
  127. Titisngh, pp. 418–419.
  128. Titsingh, p. 419.
  129. Titsingh, pp. 419–420.
  130. Titsingh, pp. 420–421.
  131. Titsingh, p. 421.
  132. "Japan's Emperor thanks country, prays for peace before abdication". Nikkei Asian Review. สืบค้นเมื่อ 30 April 2019.

สารานุกรม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]