ข้ามไปเนื้อหา

รายพระนามจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมกุล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จักรวรรดิโมกุลในศตวรรษที่ 18

จักรพรรดิโมกุล ก่อตั้งขึ้นในช่วงต้นศตวรรษที่ 16 ถึงกลางศตวรรษที่ 19 ซึ่งปกครองในจักรวรรดิโมกุลบนอนุทวีปอินเดีย ซึ่งปัจจุบันกลายเป็นประเทศอินเดีย, ปากีสถาน, อัฟกานิสถาน และบังกลาเทศ. พวกโมกุลแยกมาจากราชวงศ์ตีมูร์แห่งเติรโก-มองโกล (Turco-Mongol) ที่มีเชื้อสายจากเอเชียกลาง โดยจักรพรรดิบาบูร์ ทรงเป็นลูกหลานของตีมูร์ (รู้จักกันในตะวันตกว่า แทมเมอร์เลนด์ (Tamerlane)) และทรงร่วมกับเจงกีส ข่านในตอนที่ตีมูร์แต่งงานกับเจ้าหญิงตระกูลเจงกิซิด. (Genghisid)

จักรวรรดิโมกุลช่วงหลังที่มีบรรพบุรุษเป็นชาวอินเดียราชพุทธ (Rajput) และเปอร์เซียจากการแต่งงานของจักรพรรดิที่ประสูติในราชพุทธกับเจ้าหญิงเปอร์เซีย[1][2] ตัวอย่างเช่น จักรพรรดิอักบัร ทรงเป็นลูกครึ่งเปอร์เซ๊ย (มารดาพระองค์มีเชื้อสายเป็นชาวเปอร์เซีย), จักรพรรดิชะฮันคีร์ทรงเป็นลูกครึ่งราชพุทธ และหนึ่งส่วนสี่ของเปอร์เซีย และจักรพรรดิชาห์ชะฮัน ทรงเป็นหนึ่งส่วนสามของราชพุทธ[3]

ในสมัยการปกครองตามหลักชะรีอะฮ์ของจักรพรรดิออรังเซพ จักรวรรดิโมกุลครองทรัพย์สินไปกว่า 25% ของหุ้นส่วนโลกตาม GDP โดยควบคุมทั้งอนุทวีปอินเดีย โดยขยายจากจิตตะกอง ไปทางตะวันออกสุดที่คาบูล ทางตะวันตกสุดที่แคว้นบาโลชิสถาน ทางเหนือสุดที่รัฐชัมมูและกัศมีร์ และทางใต้สุดที่แม่น้ำคะเวรี (Kaveri River)[4] ประชากรในจักรวรรดิเวลานั้นอยู่ที่ระหว่าง 110 และ 150 ล้านคน (หนึ่งส่วนสี่ของประชากรโลกในสมัยนั้น) ในพื้นที่มากกว่า 4 ล้านตารางกิโลเมตร (1.2 ล้านตารางไมล์)[5] อำนาจของจักรวรรดิลดลงอย่างมากในศตวรรษที่ 18 และบาฮาดูร์ ชาฮ์ที่ 2 จักรพรรดิองค์สุดท้าย ถูกปลดในปีค.ศ.1857 ด้วยการสถาปนาบริติชราช.[6]

รายพระนามจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโมกุล

[แก้]
  • ช่องสีเงินหมายถึงจักรพรรดิที่มาจากราชวงศ์ซูรี ปกครองทางตอนเหนือของอินเดีย.
พระบรมสาทิสลักษณ์ พระนามเมื่อราชาภิเษก พระนามเดิม ประสูติ รัชสมัย สวรรคต หมายเหตุ
จักรพรรดิบาบูร์
بابر
ซาฮีร์-อุด-ดิน มูฮัมมัด บาบูร์
ظہیر الدین محمد
23 กุมภาพันธ์ 1483 30 เมษายน 1526 – 26 ธันวาคม 1530 26 ธันวาคม 1530 (พระชนม์ 47)
จักรพรรดิหุมายุน
ہمایوں
นาซีร์ อุด-ดิน โมฮัมมัด หุมายุน
نصیر الدین محمد ہمایوں
(รัชสมัยแรก)
17 มีนาคม 1508 26 ธันวาคม 1530 – 17 พฤษภาคม 1540 27 มกราคม 1556 (พระชนม์ 47)
เชอร์ชาห์สุรี
شیر شاہ سوری
ฟารีด ข่าน
فرید خان
1486 17 พฤษภาคม 1540 – 22 พฤษภาคม 1545[7] 22 พฤษภาคม 1545
อิสลามชาห์สุรี
اسلام شاہ سوری
จาลาล ข่าน
جلال خان
? 26 พฤษภาคม 1545 – 22 พฤศจิกายน 1554[8] 22 พฤศจิกายน 1554
จักรพรรดิหุมายุน
ہمایوں
นาซีร์ อุด-ดิน โมฮัมมัด หุมายุน
نصیر الدین محمد ہمایوں
(รัชกาลที่ 2)
17 มีนาคม 1508 22 กุมภาพันธ์ 1555 – 27 มกราคม 1556 27 มกราคม 1556 (age 47)
จักรพรรดิอักบัรที่ 1
اکبر اعظم
ญะลาล อุดดีน มุฮัมมัด อักบัร
جلال الدین محمد اکبر
14 ตุลาคม 1542 27 มกราคม 1556 – 27 ตุลาคม 1605 27 ตุลาคม 1605 (พระชนม์ 63)
จักรพรรดิชะฮันคีร์
جہانگیر
นูรุดดีน สะลีม ชะฮันคีร์
نور الدین محمد سلیم
20 กันยายน 1569 15 ตุลาคม 1605 – 8 พฤศจิกายน 1627 8 พฤศจิกายน 1627 (พระชนม์ 58)
จักรพรรดิชาห์ชะฮันที่ 1
شاہ جہان اعظم
ชาฮาบุดดีน มุฮัมมัด คุรรัม
شہاب الدین محمد خرم
5 มกราคม 1592 8 พฤศจิกายน 1627 – 2 สิงหาคม 1658 22 มกราคม 1666 (พระชนม์ 74)
จักรพรรดิออรังเซพที่ 1
عالمگیر
อาบุล มูซัฟฟาร์ มูฮี-อุด-ดิน โมฮัมมัด ออรังเซพ
محی الدین محمداورنگزیب
4 พฤศจิกายน 1618 31 กรกฎาคม 1658 – 3 มีนาคม 1707 3 มีนาคม 1707 (พระชนม์ 88)
จักรพรรดิอาซัม ชาห์ อับดุล ฟาอิซ คัตบุตดีน มูฮัมหมัด อาซัม 28 มิถุนายน 1653 14 มีนาคม 1707 – 8 มิถุนายน 1707 8 มิถุนายน 1707 (พระชนม์ 53)
จักรพรรดิบาฮาดูร์ ชาห์ที่ 1 คุธบุดดีน มูฮัมหมัด มูอัซซาม 14 ตุลาคม 1643 19 มิถุนายน 1707 – 27 กุมภาพันธ์ 1712

(4 years, 253 days)

27 กุมภาพันธ์ 1712 (พระชนม์ 68) ทรงผูกมิตรกับผู้นับถือศาสนาซิกข์ในปัญจาบ
จักรพรรดิจาฮานดาร์ ชาห์ มาอาซุดดีน จาฮานดาร์ ชาห์ บาฮาดูร์ 9 May 1661 27 กุมภาพันธ์ 1712 – 11 กุมภาพันธ์ 1713

(0 years, 350 days)

12 กุมภาพันธ์ 1713 (พระชนม์ 51) Highly influenced by his Grand Vizier Zulfikar Khan.
จักรพรรดิฟารุกซียะห์ ฟารุกซียะห์ 20 สิงหาคม 1685 11 มกราคม 1713 – 28 กุมภาพันธ์ 1719

(6 years, 48 days)

29 เมษายน 1719 (พระชนม์ 33) Granted a firman to the East India Company in 1717 granting them duty-free trading rights for Bengal, strengthening their posts in east coast.
จักรพรรดิราฟี อุด ดาราจัต ราฟี อุด ดาราจัต 30 พฤศจิกายน 1699 28 กุมภาพันธ์ – 6 มิถุนายน 1719

(0 years, 98 days)

9 June 1719 (พระชนม์ 19) เกิดกบฏ พี่น้องซัยยิด .
จักรพรรดิชาห์ชะฮันที่ 2 ราฟี อุดดอเลาะห์ มิถุนายน 1696 6 มิถุนายน 1719 – 19 กันยายน 1719

(0 years, 105 days)

19 กันยายน 1719 (พระชนม์ 23) ----
จักรพรรดิมูฮัมหมัด ชาห์ โรชาน อัคทาร์ บาฮาดูร์ 17 สิงหาคม 1702 27 กันยายน 1719 – 26 เมษายน 1748

(28 years, 212 days)

26 April 1748 (พระชนม์ 45) พี่น้องซัยยิดก่อกบฏ. เกิดสงครามระยะยาวกับพวกมราฐะส่งผลให้เสีย เดกกัน และ มัลวะ ในภายหลัง Suffered the invasion of Nadir Shah of Persia in 1739. ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์สุดท้ายที่มีพระราชอำนาจปกครองจักรวรรดิอย่างแท้จริง
อาเหม็ด ชาห์ บาฮาดูร์ อาเหม็ด ชาห์ บาฮาดูร์ 23 ธันวาคม 1725 26 เมษายน 1748 – 2 มิถุนายน 1754

(6 years, 37 days)

1 January 1775 (พระชนม์ 49) จักรวรรดิโมกุลแพ้ในยุทธการสิกานการาบาต
จักรพรรดิออรังเชพที่ 2 อาซิสอุดดีน 6 มิถุนายน 1699 2 มิถุนายน 1754 – 29 พฤศจิกายน 1759

(5 years, 180 days)

29 November 1759 (พระชนม์ 60) เป็นหุ่นเชิดของวิเชียร์ อิมัด อัล มรรค
จักรพรรดิชาห์ชะฮันที่ 3 มูฮี อัล มิลัต 1711 10 ธันวาคม 1759 – 10 ตุลาคม 1760 1772 มีการรวมตัวของเจ้าเมืองในเบงกอล, พิหาร, และโอดิชา, เกิดเหตุ ยุทธการบูซาร์. ไฮเดอร์ อาลี ตั้งตนเป็น สุลต่าน แห่ง ไมซอเร ในปี 1761;
จักรพรรดิชาห์ อาลัมที่ 2 อาลี กอฮาร์ 25 มิถุนายน 1728 24 ธันวาคม 1759 – 19 พฤศจิกายน 1806 (46 years, 330 days) 19 พฤศจิกายน 1806 (พระชนม์ 78) The execution of Tipu Sultan of Mysore in 1799
จักรพรรดิอักบัรที่ 2 ไมร์ซา อักบาร์ 22 เมษายน 1760 19 พฤศจิกายน 1806 – 28 กันยายน 1837 28 กันยายน 1837 (พระชนม์ 77) Titular figurehead under British protection.
จักรพรรดิบาฮาดูร์ ชาห์ที่ 2 อะบู ซาฟาร์ ศิลาจุดดิน มูอัมหมัด บาฮาดูร์ ชาห์ ซาฟาร์ 24 ตุลาคม 1775 28 กันยายน 1837 – 14 กันยายน 1857 (19 years, 351 days) 7 พฤศจิกายน 1862 จักรพรรดิพระองค์สุดท้าย. ถูกปลดโดยอังกฤษและถูกเนรเทศไปที่ พม่า หลังจากเกิดกบฏซีปอย

หมายเหตุ:จักรพรรดิจักรวรรดิโมกุลมีคติพหุภรรยา ทรงมีพระชายามากมายฮาเร็ม เพื่อให้มีรัชทายาท จึงเป็นการยากที่จะระบุจำนวนพระราชโอรสธิดาในจักรพรรดิแต่ละพระองค์ [9]

ผังราชวงศ์โมกุล.

รัฐถัดไป

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Jeroen Duindam (2015), Dynasties: A Global History of Power, 1300–1800, page 105, Cambridge University Press
  2. Mohammada, Malika (January 1, 2007). The Foundations of the Composite Culture in India. Akkar Books. p. 300. ISBN 978-8-189-83318-3.
  3. Dirk Collier (2016). The Great Mughals and their India. Hay House. p. 15.
  4. Chandra, Satish. Medieval India: From Sultanate To The Mughals. p. 202.
  5. Richards, John F. (January 1, 2016). Johnson, Gordon; Bayly, C. A. (บ.ก.). The Mughal Empire. The New Cambridge history of India: 1.5. Vol. I. The Mughals and their Contemporaries. Cambridge: Cambridge University Press. pp. 1, 190. doi:10.2277/0521251192. ISBN 978-0521251198.
  6. Spear 1990, pp. 147–148
  7. Majumdar, R.C. (ed.) (2007). The Mughul Empire, Mumbai: Bharatiya Vidya Bhavan, ISBN 81-7276-407-1, p.83
  8. Majumdar, R.C. (ed.) (2007). The Mughul Empire, Mumbai: Bharatiya Vidya Bhavan, ISBN 81-7276-407-1, pp.90–93
  9. Dalrymple, William (2006). The Last Mughal. London: Bloomsbury Publishing Plc. p. 44. ISBN 978-1-4088-0092-8.

สารานุกรม

[แก้]
  • Majumdar, R. C. (ed.), The History and Culture of the Indian People, Volume VI, The Delhi Sultanate, Bombay, 1960; Volume VII, The Mughal Empire, Bombay, 1973.

ข้อมูลอื่น

[แก้]