กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรุงเทพมหานครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2548 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

36 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ69.46%
  First party Second party Third party
 
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
Samak Sundaravej.JPG
Banharn Silpa-archa (cropped).jpg
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 4 32[a] 1
ที่นั่งที่ชนะ 27 9 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 23 ลดลง 23 ลดลง 1
คะแนนเสียง 1,422,308 1,085,724 41,084
% 53.08 40.52 1.53

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 12 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 36 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ลดลงจากเดิม 1 ที่นั่งจากการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548 โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน

ในการเลือกตั้งครั้งนี้ ประเภทแบ่งเขตเลือกตั้ง พรรคประชาธิปัตย์กวาดที่นั่งไปทั้งสิ้น 27 ที่นั่ง ในขณะที่พรรคพลังประชาชนได้ 9 ที่นั่ง ส่วนพรรคอื่นๆ ไม่ได้รับแม้แต่ที่นั่งเดียว สำหรับผลการเลือกตั้งที่รวบรวมในบทความนี้ เป็นการประกาศผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) [2]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รวมทั้งกรุงเทพมหานคร)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 1,422,308 53.08% เพิ่มขึ้น19.51%
พลังประชาชน 1,085,724 40.52% ลดลง17.10%
อื่น ๆ 171,718 6.40% ลดลง2.41%
ผลรวม 2,679,750 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
53.08%
พลังประชาชน
  
40.52%
อื่น ๆ
  
6.40%

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 120,222 59.07% 69,362 34.08% 13,955 6.86% 203,539 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 131,567 63.60% 62,433 30.18% 12,864 6.22% 206,864 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 3 120,820 54.26% 90,903 40.82% 10,958 4.92% 222,681 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 4 128,048 50.29% 106,725 41.91% 19,869 7.80% 254,642 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 5 107,760 43.35% 121,177 48.75% 19,641 7.90% 248,578 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 6 125,699 51.19% 103,471 42.14% 16,372 6.67% 245,542 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 7 122,988 51.22% 102,086 42.51% 15,053 6.29% 240,127 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 8 120,260 55.46% 81,747 37.70% 14,828 6.84% 216,835 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 9 120,513 56.32% 81,870 38.26% 11,582 5.41% 213,965 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 10 103,506 50.76% 87,687 43.00% 12,733 6.24% 203,926 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 11 110,426 50.50% 95,486 43.67% 12,747 5.83% 218,659 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 12 110,499 54.06% 82,777 40.50% 11,112 5.44% 204,388 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 1,422,308 53.08% 1,085,724 40.52% 171,718 6.40% 2,679,750 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งกรุงเทพมหานคร)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 36 27 เพิ่มขึ้น23 75.00%
พลังประชาชน 36 9 เพิ่มขึ้น9 25.00%
ชาติไทย 36 0 ลดลง1 0.00%
ไทยรักไทย ลดลง32 0.00%
อื่น ๆ 278 0 Steady 0.00%
ผลรวม 386 36 ลดลง1 100.00%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
75.00%
พลังประชาชน
  
25.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 116,707 58.36% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
2 112,270 56.14% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 109,974 54.99% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 1 126,566 62.06% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
2 124,808 61.20% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 122,534 60.08% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 3 1 113,146 51.26% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 111,866 50.68% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 108,492 49.15% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 4 1 113,280 44.70% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 111,726 44.09% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 110,413 43.57% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 5 1 112,876 46.07% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 110,963 45.29% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
3 105,367 43.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 6 1 108,944 44.67% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 107,058 43.90% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 102,126 41.88% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 7 1 108,613 44.94% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 102,247 42.30% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
3 101,007 41.79% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 8 1 105,457 48.96% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 104,236 48.39% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 98,111 45.55% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 9 1 111,134 56.25% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 108,440 54.89% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 107,762 54.54% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 10 1 92,401 45.80% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 87,019 43.13% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
3 86,359 42.81% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 11 1 99,745 46.08% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 98,561 45.54% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 94,946 43.87% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 12 1 110,636 54.59% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
2 109,992 54.27% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 107,901 53.24% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 6[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 6 ประกอบไปด้วยกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 6
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 84,547 2.26
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 21,757 0.58
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 1,889,988 50.61
พลังเกษตรกร (5) 5,386 0.14
รักเมืองไทย (6) 3,379 0.09
แรงงาน (7) 4,323 0.12
เกษตรกรไทย (8) 3,765 0.10
ประชาราช (9) 19,019 0.51
นิติศาสตร์ไทย (10) 6,730 0.18
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,545,743 41.39
ชาติไทย (13) 64,290 1.72
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 46,584 1.25
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 6,990 0.19
ประชากรไทย (18) 8,299 0.22
ประชามติ (19) 4,639 0.12
ไทเป็นไท (20) 3,558 0.10
พลังแผ่นดินไท (21) 4,389 0.12
มหาชน (22) 2,248 0.06
คุณธรรม (23) 1,126 0.03
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25) 577 0.02
อยู่ดีมีสุข (26) 973 0.03
ไทยร่ำรวย (27) 3,269 0.09
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30) 1,216 0.03
นำวิถี (31) 1,644 0.04
บัตรดี 3,734,443 92.54
บัตรเสีย 130,865 3.24
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 170,341 4.22
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,035,649 70.63
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,713,878 100.00

ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 6[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 6 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคประชาธิปัตย์ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
เจริญ คันธวงศ์
หม่อมราชวงศ์ สุขุมพันธุ์ บริพัตร
ผุสดี ตามไท
ประกอบ จิรกิติ
พรรคพลังประชาชน สมัคร สุนทรเวช
ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง
มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์
จตุพร พรหมพันธุ์
พรรคเพื่อแผ่นดิน หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ไชยันต์

คะแนนรวมเฉพาะกรุงเทพมหานคร[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กรุงเทพมหานคร
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 35,437 1.32
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 15,888 0.59
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 1,422,308 53.08
พลังเกษตรกร (5) 2,132 0.08
รักเมืองไทย (6) 1,676 0.06
แรงงาน (7) 2,000 0.07
เกษตรกรไทย (8) 2,340 0.09
ประชาราช (9) 9,306 0.35
นิติศาสตร์ไทย (10) 3,130 0.12
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,085,724 40.52
ชาติไทย (13) 41,084 1.53
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 36,075 1.35
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 2,980 0.11
ประชากรไทย (18) 5,236 0.20
ประชามติ (19) 2,781 0.10
ไทเป็นไท (20) 1,555 0.06
พลังแผ่นดินไท (21) 2,624 0.10
มหาชน (22) 1,201 0.04
คุณธรรม (23) 708 0.03
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25) 354 0.01
อยู่ดีมีสุข (26) 608 0.02
ไทยร่ำรวย (27) 2,283 0.09
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30) 812 0.03
นำวิถี (31) 1,084 0.04
บัตรดี 2,679,750 92.99
บัตรเสีย 83,667 2.90
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 118,375 4.11
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 2,881,972 69.46
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 4,148,974 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5เขต 6เขต 7เขต 8เขต 9เขต 10เขต 11เขต 12

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยเขตสัมพันธวงศ์ เขตดุสิต เขตพระนคร เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตบางรัก เขตปทุมวัน และเขตราชเทวี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ หม่อมหลวง อภิมงคล โสณกุล (4)* 116,707 58.36
ประชาธิปัตย์ อรอนงค์ กาญจนชูศักดิ์ (5) 112,270 56.14
ประชาธิปัตย์ เจิมมาศ จึงเลิศศิริ (6)* 109,974 54.99
พลังประชาชน ลีลาวดี วัชโรบล (13) 61,324 30.67
พลังประชาชน กมล บันไดเพชร (14) 58,437 29.22
พลังประชาชน ยุวลักษณ์ อภิธนาคุณ (15) 55,524 27.76
มัชฌิมาธิปไตย บุญสิทธิ์ ธรรมโรจน์พินิจ (8) 11,590 5.80
มัชฌิมาธิปไตย ประจวบ อึ้งภากรณ์ (7)* 9,065 4.53
ชาติไทย อรัญ พันธุมจินดา (12) 8,881 4.44
มัชฌิมาธิปไตย กฤษฎา สัจจกุล (9)* 7,865 3.93
เพื่อแผ่นดิน โพยมราษี ฤกษ์สำราญ (1) 3,579 1.79
เพื่อแผ่นดิน ชาติพร อัสสรัตน์ (2) 2,899 1.45
เพื่อแผ่นดิน วรัญญู สุจิวรพันธ์พงศ์ (3) 2,893 1.45
ชาติไทย มโน เมตตานันโท เลาหวณิช (10) 2,811 1.41
ชาติไทย กุสุมามาลย์ ปัจฉิมสวัสดิ์ (11) 2,245 1.12
รวมใจไทยชาติพัฒนา หม่อมหลวง ณัฏฐพล เทวกุล (25) 1,403 0.70
ประชากรไทย สมโภช พุ่มน้อย (16) 1,225 0.61
ประชาราช ร้อยเอก เมตตา เต็มชำนาญ (19) 1,039 0.52
รวมใจไทยชาติพัฒนา กิตติมา สุทัศน์ ณ อยุธยา (27) 879 0.44
รวมใจไทยชาติพัฒนา เอกพัฒน์ วิเชียรแพทยาคม (26) 855 0.43
ประชากรไทย จ่าเอก สุนันชัย บุญรอด (17) 724 0.36
ประชากรไทย ถวิล พรตเจริญ (18) 621 0.31
ประชาราช วิภาดา เต็มชำนาญ (21) 515 0.26
ประชาราช พงษ์พจน์ หิรัญพฤกษ์ (20) 465 0.23
ประชามติ ดาบตำรวจ วิชัย กุลโพนเมือง (23) 374 0.19
ประชามติ ชัยยะเกียรติ ธนาทรัพย์เจริญ (22) 289 0.14
ไทยร่ำรวย อนันต์ บุญเดช (29) 258 0.13
ประชามติ เศรษฐ์ธนาฒย์ วัศยานันท์ (24) 249 0.12
ไทยร่ำรวย ว่าที่ร้อยตรีหญิง กัญจมา หนูโหยบ (28) 194 0.10
ไทยร่ำรวย ธนวัฒน์ สรลักษณ์ลิขิต (30) 132 0.07
ความหวังใหม่ ตั่ว แซ่โล้ว (32) 132 0.07
ความหวังใหม่ ธัญญารัตน์ พรพงศ์ศุภสิน (31) 130 0.07
ความหวังใหม่ ประภาพร ประสมพันธ์ (33) 87 0.04
บัตรดี 199,979 91.03
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 16,783 7.64
บัตรเสีย 2,932 1.33
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 219,694 66.23
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 331,731 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยเขตบางคอแหลม เขตสาทร เขตยานนาวา เขตคลองเตย และเขตวัฒนา

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ กรณ์ จาติกวณิช (13)* 126,566 62.06
ประชาธิปัตย์ สมเกียรติ ฉันทวานิช (14)✔ 124,808 61.20
ประชาธิปัตย์ อนุชา บูรพชัยศรี (15) 122,534 60.08
พลังประชาชน พงษ์พิสุทธิ์ จินตโสภณ (16)* 63,857 31.31
พลังประชาชน วิกรานต์ ศุภมงคล (17) 58,842 28.85
พลังประชาชน พันตำรวจเอก พณาเจือเพ็ชร์ กฤษณะราช (18) 56,171 27.54
ชาติไทย ชูวิทย์ เหล่าวรวิทย์ (12) 7,167 3.51
เพื่อแผ่นดิน นิทิต พุกกะณะสุต (4) 6,617 3.24
มัชฌิมาธิปไตย พิเชียร อำนาจวรประเสริฐ (1) 4,334 2.13
มัชฌิมาธิปไตย สุภาภรณ์ แสงทอง (2) 4,154 2.04
ชาติไทย อภิเกียรติ เจนพณิช (10) 3,941 1.93
มัชฌิมาธิปไตย อายุทธ์ จิรชัยประวิตร (3) 3,426 1.68
เพื่อแผ่นดิน ชัยพรพศิน ธนถาวรกิตติ์ (6) 2,944 1.44
เพื่อแผ่นดิน พงศ์สุธิดา โตเทียนศรี (5) 2,815 1.38
ชาติไทย ชาญวุฒิ ศุภพาณิชวงศ์ (11) 2,413 1.18
รวมใจไทยชาติพัฒนา กรด โรจนเสถียร (19) 1,955 0.96
รวมใจไทยชาติพัฒนา ร้อยเอกหม่อมหลวง เกียรติเกษม เกษมสันต์ (20) 1,854 0.91
รวมใจไทยชาติพัฒนา พิชัย กฤชไมตรี (21) 1,331 0.65
ประชากรไทย โอฬาร ตู้จินดา (7) 1,164 0.57
ประชากรไทย พิศาล เทพศิริ (9) 1,121 0.55
ประชากรไทย บุญร่วม สร้อยศรี (8) 1,005 0.49
ประชามติ จรูญเกียรติ ภัทรมนตรีสิน (22) 270 0.13
ประชามติ เอกฤทธิ์ เลี้ยงพาณิชย์ (23) 248 0.12
ประชามติ ธนัย ศักดิ์เทวินทร์ (24) 187 0.09
ไทยร่ำรวย ศุภวิทย์ โอวรารินท์ (25) 182 0.09
ไทยร่ำรวย สมเดช เชาวน์ดี (27) 172 0.08
ไทยร่ำรวย ยุทธ ยุทธนา (26) 149 0.07
บัตรดี 203,942 91.94
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,656 6.61
บัตรเสีย 3,208 1.45
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 221,806 65.02
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 341,116 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยเขตลาดพร้าว เขตดินแดง เขตห้วยขวาง และเขตวังทองหลาง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค (7)** 113,146 51.26
ประชาธิปัตย์ ธนา ชีรวินิจ (8) 111,866 50.68
ประชาธิปัตย์ สรรเสริญ สมะลาภา (9)✔ 108,492 49.15
พลังประชาชน ภูวนิดา คุนผลิน (17)* 91,756 41.57
พลังประชาชน ยุรนันท์ ภมรมนตรี (18)* 91,201 41.32
พลังประชาชน เฉลิมชัย มหากิจศิริ (16) 87,849 39.80
ชาติไทย จุมพล จันทร์จิระ (12) 4,808 2.18
ประชากรไทย ศักสิทธิ์ รามสูต (4) 3,703 1.68
มัชฌิมาธิปไตย รัตนาภรณ์ ธรรมโกศล (15) 3,420 1.55
เพื่อแผ่นดิน ธัญยธรณ์ เรืองอัครนันท์ (1) 3,193 1.45
เพื่อแผ่นดิน ปิติวัตติ์ แจ่มสว่างวรพงษ์ (2) 2,882 1.31
เพื่อแผ่นดิน พงษ์รพี บูรณสมภพ (3) 2,752 1.25
ประชากรไทย สุเมธ ลือพักตรา (6) 2,662 1.21
ชาติไทย พันตำรวจเอก อวยชัย ชุนาวรรณ (10) 2,536 1.15
ประชาราช วชิราภรณ์ อายุยืน (19) 2,314 1.05
มัชฌิมาธิปไตย ธนาพล ตันบุญเพิ่ม (13) 2,286 1.04
มัชฌิมาธิปไตย วัจนา สุทัศน์ ณ อยุธยา (14) 2,223 1.01
ชาติไทย สมชาย คุ้มพูล (11) 1,620 0.73
ประชากรไทย เอกสิทธิ์ หมวดทอง (5) 1,099 0.50
รวมใจไทยชาติพัฒนา พรศักดิ์ ศรีละมุล (25) 1,002 0.45
รวมใจไทยชาติพัฒนา บุญอนันต์ เปี่ยมพงศ์สานต์ (26) 901 0.41
รวมใจไทยชาติพัฒนา วีรยุทธ โพธารามิก (27) 860 0.39
ประชาราช ชุมสาย ศรียาภัย (20) 552 0.25
ประชาราช สันติ วิชัยพล (21) 370 0.17
ประชามติ มาโนช วีรานุกูล (22) 285 0.13
ไทยร่ำรวย ร้อยตำรวจเอก ประเสริฐ เหลืองอร่าม (28) 233 0.11
ไทยร่ำรวย สิรารมย์ ศรีคิรินทร์ (29) 216 0.10
ประชามติ วสันต์ หิรัญบูรณะ (23) 149 0.07
ประชามติ จักรกฤษณ์ โกสุจริต (24) 146 0.07
บัตรดี 220,731 93.05
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 13,910 5.86
บัตรเสีย 2,590 1.09
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 237,231 70.28
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 337,528 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 4

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยเขตพญาไท เขตบางซื่อ เขตหลักสี่ และเขตจตุจักร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ บุญยอด สุขถิ่นไทย (10) 113,280 44.70
ประชาธิปัตย์ อรรถวิชช์ สุวรรณภักดี (11) 111,726 44.09
ประชาธิปัตย์ สกลธี ภัททิยกุล (12) 110,413 43.57
พลังประชาชน ศุภมาส อิศรภักดี (8)* 96,504 38.08
พลังประชาชน เฉลิมชัย จีนะวิจารณะ (7)* 94,355 37.23
พลังประชาชน กวี ณ ลำปาง (9) 88,403 34.89
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชื่นชอบ คงอุดม (28) 29,472 11.63
รวมใจไทยชาติพัฒนา สัณชัย เองตระกูล (29) 12,685 5.01
รวมใจไทยชาติพัฒนา ธนัท โชคธนไพศาล (30) 10,238 4.04
พลังแผ่นดินไท ลีนา จังจรรจา (34) 9,473 3.74
ประชาราช สุรชาติ เทียนทอง (16) 9,444 3.73
มัชฌิมาธิปไตย ร้อยเอก รชฏ พิสิษฐบรรณกร (19)* 5,871 2.32
มัชฌิมาธิปไตย อภิญญา สุนทรสาธิต (21) 4,902 1.93
ชาติไทย อรรฆชัย ตระการศาสตร์ (4) 4,831 1.91
ชาติไทย ร้อยตำรวจเอก ศักดิ์ชัย จีรพรชัย (6) 2,654 1.05
ความหวังใหม่ จรัส สุพร (13) 2,580 1.02
เพื่อแผ่นดิน ร้อยตำรวจเอก ภูมินทร์ พึ่งสุจริต (1) 2,457 0.97
มัชฌิมาธิปไตย ธนกร วังบุญคงชนะ (20) 2,455 0.97
ประชาราช สันติ บุลสถาพร (17) 2,251 0.89
เพื่อแผ่นดิน ญาณกร วรากุลรักษ์ (3) 2,225 0.88
เพื่อแผ่นดิน สุวิชัย ศุภรานนท์ (2) 2,174 0.86
ประชาราช สุพจน์ ห่อนาค (18) 2,145 0.85
ชาติไทย พงศกร พรหมสุวรรณ (5) 2,133 0.84
ความหวังใหม่ กฤษฎา พรหมพิพัฒน์พร (14) 1,415 0.56
ความหวังใหม่ ประวิทย์ โพธิ์กระจ่าง (15) 1,191 0.47
ประชามติ ปารเมศ เอี่ยมศิลา (27) 1,124 0.44
ประชามติ อภิชาติ จักรศรีพร (26) 862 0.34
พลังแผ่นดินไท เทพ เวชวิสิฐ (36) 840 0.33
พลังแผ่นดินไท ปรีชา สันตินธรกุล (35) 650 0.26
ประชากรไทย ร้อยตำรวจตรี เสน่ห์ ชัยทร (22) 483 0.19
ประชากรไทย อาทิตย์ สิทธิเกษร (23) 477 0.19
ประชามติ วิเศษ แสงกาญจนวนิช (25) 432 0.17
ประชากรไทย ร้อยตรี สมศักดิ์ ฝากมิตร (24) 353 0.14
ไทยร่ำรวย สุวิทย์ นิ่มน้อย (31) 260 0.10
ไทยร่ำรวย ธัญกช พิทยานุกุล (33) 239 0.09
ไทยร่ำรวย วันชัย พรวิริยางกูร (32) 209 0.08
บัตรดี 253,408 92.63
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 16,874 6.17
บัตรเสีย 3,296 1.20
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 273,578 71.34
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 383,499 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 5

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยเขตบางเขน เขตสายไหม และเขตดอนเมือง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน อนุสรณ์ ปั้นทอง (14)* 112,876 46.07
พลังประชาชน นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ์ นาครทรรพ (13) 110,963 45.29
พลังประชาชน การุณ โหสกุล (15) 105,367 43.00
ประชาธิปัตย์ ก้องศักดิ์ ยอดมณี (2) 82,107 33.51
ประชาธิปัตย์ เรืออากาศเอก พิทักษ์ ฐานบัญชา (1) 81,652 33.32
ประชาธิปัตย์ วิทเยนทร์ มุตตามระ (3) 78,247 31.93
ชาติไทย จณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ (4)* 43,721 17.84
ชาติไทย ฉมาดล หงสกุล (5) 27,052 11.04
ชาติไทย ฐิติโชค กาญจนภักดี (6) 19,372 7.91
ความหวังใหม่ ฐปนวัฒน์ ที่รัก (12) 11,854 4.84
เพื่อแผ่นดิน เรืออากาศเอก วิชัย ราชานนท์ (19) 5,677 2.32
มัชฌิมาธิปไตย จิรภา แสนเกษม (8) 4,360 1.78
ประชากรไทย พันตำรวจโท สันธนะ ประยูรรัตน์ (16) 3,749 1.53
มัชฌิมาธิปไตย นาวาโท รวยลาภ เอี่ยมทอง (7)✔ 2,539 1.04
มัชฌิมาธิปไตย อัศวิน อภัยวงศ์ (9) 2,535 1.03
ประชากรไทย อดุลย์ เจนจรรยากุล (17) 1,867 0.76
เพื่อแผ่นดิน กนกพิชญ์ วิชญวรนันท์ (21) 1,478 0.60
เพื่อแผ่นดิน ธนวิชญ์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา (20) 1,349 0.55
ความหวังใหม่ ชาญสกล หิรัญรุจิพงศ์ (11) 1,282 0.52
ประชากรไทย สมหมาย ศรีสุทธิยางกูร (18) 1,093 0.45
ความหวังใหม่ วิเศษ ก่ำพงษ์ไทย (10) 918 0.37
ประชามติ ณัฐสิตาพัชร แก้วก่า (29) 418 0.17
แนวสังคมประชาธิปไตย สุชาวดีบ์ วิศาลธรกุล (23) 353 0.14
รวมใจไทยชาติพัฒนา หัสไชย ปรีชา (33) 332 0.14
รวมใจไทยชาติพัฒนา มารุต จันทรโสภา (32) 324 0.13
แนวสังคมประชาธิปไตย นาวาอากาศเอก อนุรักษ์ ศศิธร (22) 306 0.12
แนวสังคมประชาธิปไตย ธัญวรัตม์ คงสา (24) 273 0.11
ประชามติ พันตำรวจเอก ทิพย์ แก้วท่าไม้ (28) 264 0.11
พลังแผ่นดินไท ศรีวิชัย ศรีสุวรรณ (25) 246 0.10
พลังแผ่นดินไท สันติ แม้นเหมือน (27) 243 0.10
พลังแผ่นดินไท สุนทร ประเสริฐทองกร (26) 223 0.09
ประชามติ นาวาอากาศเอก ภัทรพล วามะนะบุตร (30) 219 0.09
ไทยร่ำรวย ไพรัช จินตนพันธุ์ (34) 207 0.08
ไทยร่ำรวย ณัฐวุฒิ ตันสถิรานันท์ (36) 163 0.07
ไทยร่ำรวย สุมาลี สุขทิพรัตน์ (35) 159 0.06
บัตรดี 245,021 91.82
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 18,166 6.81
บัตรเสีย 3,661 1.37
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 266,848 70.23
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 379,979 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 6[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 6

เขตการเลือกตั้งที่ 6 ประกอบด้วยเขตคลองสามวา เขตหนองจอก เขตคันนายาว และเขตบึงกุ่ม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 6 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สมัย เจริญช่าง (2)✔ 108,944 44.67
ประชาธิปัตย์ ทิวา เงินยวง (1)✔ 107,058 43.90
พลังประชาชน ไพโรจน์ อิสระเสรีพงษ์ (12) 102,126 41.88
ประชาธิปัตย์ เกรียงยศ สุดลาภา (3) 98,604 40.43
พลังประชาชน ภักดีหาญส์ หิมะทองคำ (11) 98,561 40.42
พลังประชาชน นลินี ทวีสิน (10) 93,305 38.26
เพื่อแผ่นดิน ธนการ ดำรงรัตน์ (13) 18,705 7.67
ชาติไทย ศิริโชค สิริวรรณภา (4) 15,844 6.50
เพื่อแผ่นดิน เนติภูมิ นวรัตน์ (15) 9,426 3.87
เพื่อแผ่นดิน ฐิตินันท์ เกียรติไพบูลย์ (14) 8,110 3.33
ชาติไทย อนันต์ ฤกษ์ดี (5) 4,960 2.03
ชาติไทย อารีวัฒน์ นวลปานวรชาติ (6) 3,924 1.61
ประชากรไทย อุดรพันธ์ เครือมูล (7) 3,784 1.55
มัชฌิมาธิปไตย อุมาพร สุวิบาย (17) 3,459 1.42
มัชฌิมาธิปไตย ศิริ หวังบุญเกิด (16)✔ 2,994 1.23
ประชากรไทย วีระ มูลมั่ง (9) 2,717 1.11
มัชฌิมาธิปไตย อนุมัติ ศาสนูปถัมภ์ (18) 2,335 0.96
ประชากรไทย สวรรค์ ขันทอง (8) 2,087 0.86
ประชาราช นุกูล หนูสังข์ (20) 1,947 0.80
ประชาราช คมพิศิษฐ์ ปิยธรรมชัย (19) 1,909 0.78
รวมใจไทยชาติพัฒนา จาตุรันต์ บุญเบ็ญจรัตน์ (25) 657 0.27
รวมใจไทยชาติพัฒนา สมชัย ชัยอารีย์กิจ (26) 615 0.25
ไทยร่ำรวย ธนบดี บินฮาซัน (30) 501 0.21
ประชามติ ว่าที่ร้อยตรี อมร พิกุลงาม (23) 485 0.20
ประชามติ รุจอานันท์ พงษ์ภัคธากาญจน์ (22) 425 0.17
รวมใจไทยชาติพัฒนา ธนวิน ชัยรัตน์ (27) 414 0.17
ไทยร่ำรวย ธเนศวร มหาธนินวงศ์ (29) 403 0.17
ประชามติ ภาวัต เหมะธุรินทร์ (24) 294 0.12
ไทยร่ำรวย ประกาศิต วรเวชเตชกุล (28) 251 0.10
บัตรดี 243,863 92.79
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 13,153 5.00
บัตรเสีย 5,813 2.21
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 262,829 71.89
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 365,620 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 7[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 7

เขตการเลือกตั้งที่ 7 ประกอบด้วยเขตมีนบุรี เขตบางกะปิ เขตสะพานสูง และเขตลาดกระบัง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 7 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน ดนุพร ปุณณกันต์ (20) 108,613 44.94
พลังประชาชน วิชาญ มีนชัยนันท์ (19)* 102,247 42.30
ประชาธิปัตย์ นาถยา เบ็ญจศิริวรรณ (8) 101,007 41.79
พลังประชาชน มงคล กิมสูนจันทร์ (21)* 96,712 40.01
ประชาธิปัตย์ สำราญ รอดเพชร (9) 94,942 39.28
ประชาธิปัตย์ ประพันธ์ คูณมี (7) 94,256 39.00
เพื่อแผ่นดิน ร้อยตำรวจเอก นิติภูมิ นวรัตน์ (10) 34,208 14.15
เพื่อแผ่นดิน ธเชษฐ นาวานิมิตกุล (12) 11,661 4.82
เพื่อแผ่นดิน เอกวัฒน์ หอมเศรษฐี (11) 7,130 2.95
ประชากรไทย ชิษณุพงศ์ รัตนพันธ์ (4) 5,936 2.46
มัชฌิมาธิปไตย ดิเรก สุมาลยศักดิ์ (1) 2,908 1.20
ชาติไทย สุรชัย นิวาสพันธุ์ (18) 2,841 1.18
รวมใจไทยชาติพัฒนา ฤทธิ์ลือชา คุ้มแพรวพรรณ (26) 2,503 1.04
รวมใจไทยชาติพัฒนา เฉลิมชัย ฉิมหิรัญ (25) 2,440 1.01
ประชากรไทย ประหยัด พงษ์พันธุ์งาม (6) 2,364 0.98
ประชาราช ว่าที่ร้อยตรีหญิง นุชนาฏ หุ่นอยู่ (22) 2,145 0.89
มัชฌิมาธิปไตย วิฑูรย์ แนวพานิช (2) 2,101 0.87
มัชฌิมาธิปไตย สุรศักดิ์ หมื่นนาอาน (3) 1,926 0.80
ชาติไทย อัครเดช ไวทยกุล (17) 1,834 0.76
ชาติไทย เอกฤทธิ เจียกขจร (16) 1,647 0.68
ประชากรไทย อภินันท์ จันทวรรณโณ (5) 1,576 0.65
ความหวังใหม่ อนุสรณ์ สมอ่อน (13) 1,436 0.59
ความหวังใหม่ คมขำ หาญพาณิชย์ (14) 1,095 0.45
ความหวังใหม่ ธเนศ หัศบำเรอ (15) 995 0.41
ไทยร่ำรวย อาหมัด อาดำ (29) 883 0.37
รวมใจไทยชาติพัฒนา สุรศักดิ์ ธีระศักดิ์ (27) 828 0.34
ประชาราช เนตรศาณี คำดี (23) 630 0.26
ไทยร่ำรวย สันติ มัดต่อเห็ด (30) 432 0.18
ประชาราช นิยม สิมะประเสริฐ (24) 347 0.14
ไทยร่ำรวย นาวาเอก วิชัย ศิลปะรายะ (28) 291 0.12
ประชามติ ชัยสิทธิ์ แสงศรี (31) 265 0.11
ประชามติ ชนินทร์ศักดิ์ ประภาษา (32) 163 0.07
ประชามติ ชโยดม กาญจนศักดิ์ (33) 154 0.06
บัตรดี 241,701 93.45
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 13,856 5.36
บัตรเสีย 3,087 1.19
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 258,644 70.29
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 367,946 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 8[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 8

เขตการเลือกตั้งที่ 8 ประกอบด้วยเขตประเวศ เขตสวนหลวง เขตบางนา และเขตพระโขนง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 8 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ คุณหญิง กัลยา โสภณพนิช (7)** 105,457 48.96
ประชาธิปัตย์ สามารถ มะลูลีม (8) 104,236 48.39
ประชาธิปัตย์ สุทธิ ปัญญาสกุลวงศ์ (9) 98,111 45.55
พลังประชาชน ศุภรัตน์ นาคบุญนำ (17) 80,433 37.34
พลังประชาชน วัฒนา เซ่งไพเราะ (16)* 74,696 34.68
พลังประชาชน พลตำรวจโท วิเชียรโชติ สุกโชติรัตน์ (18) 72,757 33.78
รวมใจไทยชาติพัฒนา พิจิตต รัตตกุล (31)✔ 14,009 6.50
เพื่อแผ่นดิน ภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์ (1)* 9,725 4.52
เพื่อแผ่นดิน ไพรินทร์ อะหมัดตอเฮด (2) 9,181 4.26
มัชฌิมาธิปไตย ธันวา ไกรฤกษ์ (12) 7,097 3.29
รวมใจไทยชาติพัฒนา เกษมสันต์ วีระกุล (33) 6,543 3.04
ประชากรไทย บัญญัติ ทองประสงค์ (4) 5,544 2.57
รวมใจไทยชาติพัฒนา จิรากรณ์ คชเสนี (32) 5,410 2.51
เพื่อแผ่นดิน นท เกริกฤทธิ์วณิช (3) 5,170 2.40
มัชฌิมาธิปไตย สมพร หลงจิ (11) 3,436 1.60
ประชากรไทย อิสระ อมรเวช (6) 3,156 1.47
ชาติไทย พรเทพ จันทรนิภ (15) 2,652 1.23
มัชฌิมาธิปไตย อภินันท์ เกตุษเฐียร (10) 2,386 1.11
ชาติไทย ศักดิ์ สุวรรณกูฏ (13) 2,321 1.08
ชาติไทย วิรัช นาโค (14) 2,160 1.00
กฤษไทยมั่นคง กฤศฌณพงศ์ นุสติพรลภัส (19) 1,828 0.85
ประชากรไทย บัญชา อำนาจรุ่งเจริญ (5) 1,688 0.78
กฤษไทยมั่นคง พรพิมล พัฒนะ (20) 560 0.26
กฤษไทยมั่นคง วัชรพงศ์ เจริญพร (21) 545 0.25
ไทยร่ำรวย วาสนา อาดำ (34) 423 0.20
ไทยร่ำรวย กอเซ็ม อรุณพูลทรัพย์ (35) 343 0.16
คุณธรรม เนติราษฎร์ นาคโฉม (30) 343 0.16
ประชาราช ธนพร ศิริบานเย็น (23) 335 0.16
คุณธรรม เสาวนีย์ ปะตาทายัง (28) 317 0.15
ประชาราช กิติศักดิ์ ชูติกมลธรรม (22) 305 0.14
ไทยร่ำรวย สอาด สุขถาวร (36) 299 0.14
คุณธรรม สมนึก สมศักดิ์ (29) 240 0.11
ประชามติ ประสิทธิ์ วัลดาว (27) 204 0.09
ประชามติ ศรีรณ ยำอางค์ (25) 200 0.09
ประชามติ สมทรัพย์ วงษกร (26) 173 0.08
ประชาราช วิธิพงศ์ จรรย์โกมล (24) 163 0.08
บัตรดี 215,391 92.66
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,218 6.12
บัตรเสีย 2,844 1.22
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 232,453 68.65
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 338,610 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 9[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 9

เขตการเลือกตั้งที่ 9 ประกอบด้วยเขตธนบุรี เขตคลองสาน เขตบางกอกใหญ่ และเขตจอมทอง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 9 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นันทพร วีรกุลสุนทร (14) 111,134 56.25
ประชาธิปัตย์ สุรันต์ จันทร์พิทักษ์ (13) 108,440 54.89
ประชาธิปัตย์ วิลาศ จันทร์พิทักษ์ (15)✔ 107,762 54.54
พลังประชาชน เอนก หุตังคบดี (4)* 86,691 43.88
พลังประชาชน ศิลัมพา เลิศนุวัฒน์ (5)* 81,060 41.03
พลังประชาชน สุวัฒน์ ม่วงศิริ (6)* 81,004 41.00
มัชฌิมาธิปไตย นภัทร ยมจินดา (12) 8,679 4.39
มัชฌิมาธิปไตย สุรชัย สมบัติเจริญ (10) 5,437 2.75
เพื่อแผ่นดิน กษิติ กมลนาวิน (1) 3,596 1.82
มัชฌิมาธิปไตย พิสุทธิ์ อังจันทร์เพ็ญ (11) 3,127 1.58
เพื่อแผ่นดิน สุปภาส ชัยประภา (3) 2,954 1.50
ประชากรไทย บุญฤทธิ์ ขวัญชุม (16) 2,442 1.24
เพื่อแผ่นดิน ธัญญ์นิธิ อักษรสิทธิ์จิรา (2) 1,996 1.01
ชาติไทย พลเรือเอก ชัย สุวรรณภาพ (7) 1,827 0.92
ชาติไทย บุญราย สทิวะวงศ์ (9) 1,552 0.79
ชาติไทย วิทยา เลิศฤทธิ์ (8) 1,468 0.74
ประชากรไทย จารุณี ตันวีระชัยสกุล (17) 666 0.34
รวมใจไทยชาติพัฒนา พลตำรวจตรี ชาตรี สุทัศน์ ณ อยุธยา (22) 458 0.23
ประชากรไทย ยศ เชี่ยวชาญกิจมั่น (18) 413 0.21
รวมใจไทยชาติพัฒนา ธนภัทร ธาตวากร (23) 411 0.21
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชาติชาย วิริยะพานิช (24) 382 0.19
ประชามติ ดนสวัสดิ์ ชาติเมธี (19) 332 0.17
ประชามติ ร้อยเอก ศิริเกษ กุลประเสริฐ (20) 294 0.15
ประชาราช พัฒนาชาติ สุริโยดร (29) 274 0.14
ประชามติ ดวงแก้ว คารินทา (21) 263 0.13
ประชาราช อภิชาติ บุญลือ (28) 226 0.11
ประชาราช อนุกูล พิรุณนีรฤทธิ์ (30) 207 0.10
พลังแผ่นดิน นงนาฎ เจนวิวัฒน์สกุล (32) 173 0.09
พลังแผ่นดิน เอกชนะ นนท์พละ (31) 169 0.09
ไทยร่ำรวย ธีระศักดิ์ โต๊ะชาลี (25) 151 0.08
ไทยร่ำรวย อัมรินทร์ สกุลนันทิพัฒน์ (27) 113 0.06
ไทยร่ำรวย มานพ อนุสรณ์สิทธิ์ (26) 111 0.06
พลังแผ่นดิน สุเทพ กฤษณชาญดี (33) 94 0.05
บัตรดี 197,569 91.74
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,605 6.78
บัตรเสีย 3,184 1.48
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 215,358 63.10
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 341,304 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 10[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 10

เขตการเลือกตั้งที่ 10 ประกอบด้วยเขตบางขุนเทียน เขตราษฎร์บูรณะ เขตทุ่งครุ และเขตบางบอน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 10 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ถวิล ไพรสณฑ์ (4)✔ 92,401 45.80
พลังประชาชน สากล ม่วงศิริ (15)* 87,019 43.13
พลังประชาชน สุวัฒน์ วรรณศิริกุล (13)* 86,359 42.81
ประชาธิปัตย์ ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ (5) 85,450 42.36
ประชาธิปัตย์ พันตำรวจเอก สวัสดิ์ จำปาศรี (6) 85,235 42.25
พลังประชาชน จารุวงศ์ เรืองสุวรรณ (14) 84,805 42.04
ชาติไทย สมชาติ ลอรัตนเรืองกิต (12) 14,064 6.97
ชาติไทย มงคล โค้ววัฒนะวงษ์รักษ์ (10) 8,254 4.09
มัชฌิมาธิปไตย พยงค์ ช้างเจริญ (7) 5,727 2.84
ชาติไทย ศักดา เมืองคำ (11) 4,651 2.31
มัชฌิมาธิปไตย ณรงค์ศักดิ์ วงศ์สังวาลย์ (9) 3,593 1.78
มัชฌิมาธิปไตย สกล ศุภกูล (8) 3,273 1.62
เพื่อแผ่นดิน ครรชิต สิงห์สุวรรณ์ (3) 2,875 1.43
เพื่อแผ่นดิน อุทิส ศิริวรรณ (1) 2,349 1.16
ประชากรไทย ประพจน์ โพธิภักดิ์ (16) 2,163 1.07
เพื่อแผ่นดิน ธนวรรธ ตั้งสินทรัพย์ศิริ (2) 1,901 0.94
รวมใจไทยชาติพัฒนา ปพน วงศ์ตระกูล (19) 1,278 0.63
รวมใจไทยชาติพัฒนา สุเทพ แสงเอี่ยม (21) 1,196 0.59
ประชากรไทย โชติพันธ์ ทัพรุ่ง (17) 971 0.48
รวมใจไทยชาติพัฒนา สุพร มณีเวทยพันธ์ (20) 673 0.33
ประชากรไทย ภูศิษฎ์ ยิ่งคงดี (18) 543 0.27
ประชามติ มุญจนา โคกดอน (23) 412 0.20
ประชามติ เจริญ โคกดอน (22) 272 0.13
ประชามติ จิรยุตต์ วงศ์สารเสริฐ (24) 261 0.13
ไทยร่ำรวย ธนวัฒน์ เดชผล (25) 175 0.09
ไทยร่ำรวย สวาท มูและ (26) 159 0.08
ไทยร่ำรวย สิริพจน์ อิสระรุ่งเจริญกุล (27) 124 0.06
บัตรดี 201,740 91.18
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 16,103 7.29
บัตรเสีย 3,383 1.53
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 220,956 70.50
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 313,292 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 11[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 11

เขตการเลือกตั้งที่ 11 ประกอบด้วยเขตภาษีเจริญ เขตบางแคและเขตหนองแขม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 11 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อรอนงค์ คล้ายนก (8) 99,745 46.08
ประชาธิปัตย์ โกวิทย์ ธารณา (7)✔ 98,561 45.54
พลังประชาชน สุธา ชันแสง (1)* 94,946 43.87
ประชาธิปัตย์ วัชระ เพชรทอง (9) 94,407 43.62
พลังประชาชน มานะ คงวุฒิปัญญา (2)* 93,301 43.11
พลังประชาชน แสวง ฤกษ์จรัล (3)* 91,903 42.46
มัชฌิมาธิปไตย นาวาเอก จตุพร โปร่งปรีชา (4) 10,113 4.67
ชาติไทย ฮารูน มูหมัดอาลี (13) 8,340 3.85
ประชาราช กฤษณะ ปิยะชื่นทองกุล (12) 5,433 2.51
มัชฌิมาธิปไตย ว่าที่ พันตรี นิพนธ์ ซิ้มประยูร (6) 5,171 2.39
มัชฌิมาธิปไตย พลตำรวจตรี รุ่งโรจน์ เภกะนันทน์ (5) 4,482 2.07
ชาติไทย สุทัศน์ เพ็ชรกูล (14) 3,309 1.53
ชาติไทย พูลลาภ ยังธินะ (15) 2,954 1.36
ประชาราช ธนะ สุขสินธารานนท์ (10) 1,357 0.63
ประชาราช อนุสรณ์ เต็มวงศ์ตระกูล (11) 1,348 0.62
เพื่อแผ่นดิน ทันฉลอง รุ่งวิทู (19) 1,167 0.54
เพื่อแผ่นดิน สมาน แสงอ่อน (20) 1,132 0.52
รวมใจไทยชาติพัฒนา กุลยา งามพรสุขสวัสดิ์ (26) 1,130 0.52
เพื่อแผ่นดิน วิศิษฐ์ ดีเป็นธรรม (21) 877 0.41
รวมใจไทยชาติพัฒนา พิทักษ์ สมพงษ์ (25) 851 0.39
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชัยวัฒน์ ไกรฤกษ์ (27) 775 0.36
ประชากรไทย อัศจรรย์ เณรฐานันท์ (17) 548 0.25
ประชากรไทย พิชัย ประมวลศิลป์ (16) 516 0.24
ประชากรไทย วลงกรณ์ จับใจ (18) 438 0.20
ประชามติ พีรพล เตชวัชรพงศ์ (22) 333 0.15
ความหวังใหม่ จงลักษณ์ ศรีสวัสดิ์ (29) 308 0.14
ไทยร่ำรวย จิระศักดิ์ สายวรรณะ (36) 275 0.13
ประชามติ วธัญญู ศักดิ์ศรีดีเลิศ (34) 273 0.13
ประชามติ อุทัย นามวงศ์ (23) 239 0.11
ความหวังใหม่ วิชาญ ทับซ้อน (28) 188 0.09
สยาม วิเชียร พลดร (31) 149 0.07
สยาม ไพศาล พุ่มมะเดื่อ (32) 141 0.07
ความหวังใหม่ จิรโรจน์ ทิพย์คุณาธรณ์ (30) 134 0.06
ไทยร่ำรวย ภูเบศ จิตร์สม (35) 114 0.05
ไทยร่ำรวย ปรัชญ์ปรีชา สุระวิโรจน์ (34) 107 0.05
สยาม นิเทศ ชัยชนะ (33) 88 0.04
บัตรดี 216,445 91.23
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 17,579 7.41
บัตรเสีย 3,219 1.36
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 237,243 70.65
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 335,804 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 12[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 12

เขตการเลือกตั้งที่ 12 ประกอบด้วยเขตทวีวัฒนา เขตบางพลัด เขตบางกอกน้อย และเขตตลิ่งชัน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 12 กรุงเทพมหานคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ องอาจ คล้ามไพบูลย์ (10)* 110,636 54.59
ประชาธิปัตย์ ชนินทร์ รุ่งแสง (12) 109,992 54.27
ประชาธิปัตย์ รัชดา ธนาดิเรก (11) 107,901 53.24
พลังประชาชน ปิติพงศ์ เต็มเจริญ (1)* 78,471 38.72
พลังประชาชน อริสมันต์ พงศ์เรืองรอง (3)** 77,565 38.27
พลังประชาชน สมพรต สาระโกเศศ (2) 77,115 38.05
มัชฌิมาธิปไตย อมร อมรรัตนานนท์ (4) 5,641 2.78
เพื่อแผ่นดิน ทัตภณ เกิดเจริญ (13) 3,632 1.79
มัชฌิมาธิปไตย พรรณทิพย์ ยอดวิเศษ (5) 3,150 1.55
มัชฌิมาธิปไตย สุกฤษฎ์ สุริยผล (6) 2,572 1.27
เพื่อแผ่นดิน สิทธิโชค คล้อยแสงอาทิตย์ (14) 2,347 1.16
ชาติไทย อภิวัฒน์ บัวพันธ์ (9) 2,221 1.10
ชาติไทย วีระ รอดพิทักษ์ (8) 1,902 0.94
ชาติไทย นรภัทร รัตนุ่มน้อย (7) 1,643 0.81
เพื่อแผ่นดิน ลิขิต มุกดา (15) 1,363 0.67
รวมใจไทยชาติพัฒนา บุญเกียรติ จิรังนิมิตสกุล (22) 484 0.24
รวมใจไทยชาติพัฒนา สัณหพจน์ สุขศรีเมือง (24) 447 0.22
ประชากรไทย ร้อยตำรวจเอก ชัยวัฒน์ ถาวรวงศานุวัตร (16) 427 0.21
ประชากรไทย อมลวรรณ วงศ์สิงห์แก้ว (18) 409 0.20
รวมใจไทยชาติพัฒนา เจษฎา วิสุทธิศักดิ์ชัย (23) 382 0.19
ประชากรไทย ร้อยตำรวจเอก ชิงชัย แดงบุดดา (17) 354 0.17
ประชาราช สมบูรณ์ จิตตั้งสมบูรณ์ (19) 278 0.14
ประชาราช อภิรักษ์ ช่วยช่วง (20) 220 0.11
ประชามติ ธเนศ สอนสิทธิ์ (29) 194 0.10
ประชาราช วรพงษ์ หนูรินทร์ (21) 193 0.10
ไทยร่ำรวย สุมณฑา สุภาพวานิช (25) 177 0.09
ไทยร่ำรวย ว่าที่ร้อยตรี อำพล สุภาพวานิช (26) 139 0.07
ประชามติ ขจร ชูแก้ว (30) 122 0.06
ไทยร่ำรวย ปิยะวิศว์ นารอง (27) 121 0.06
ประชามติ ธนยศ รุ่งเรืองชูเลิศ (28) 110 0.05
บัตรดี 202,684 92.35
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,139 6.44
บัตรเสีย 2,665 1.21
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 219,488 70.23
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 312,545 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. http://www.ect.go.th/newweb/upload/cms07/download/401-5753-0.rar เก็บถาวร 2016-03-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สรุปข้อมูลสถิติการใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. 23 ธันวาคม 2550

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน