จังหวัดชลบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดชลบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ71.35%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 8 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น8 Steady0
คะแนนเสียง 319,411 136,102
% 56.89 24.24

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่เพิ่มขึ้นจากเดิม 1 ที่นั่งจากการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2548 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รวมทั้งจังหวัดชลบุรี)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 319,411 56.89% เพิ่มขึ้น28.62%
พลังประชาชน 136,102 24.24% ลดลง37.89%
อื่น ๆ 105,915 18.87% เพิ่มขึ้น9.27%
ผลรวม 561,428 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
56.89%
พลังประชาชน
  
24.24%
อื่น ๆ
  
18.87%

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 135,248 61.44% 42,198 19.17% 42,688 19.39% 220,134 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 2 97,071 49.24% 65,672 33.31% 34,389 17.45% 197,132 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 3 87,092 60.41% 28,232 19.58% 28,838 20.00% 144,162 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 319,411 56.89% 136,102 24.24% 105,915 18.87% 561,428 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดชลบุรี)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 8 8 เพิ่มขึ้น8 100.00%
พลังประชาชน 8 0 Steady 0.00%
ชาติไทย 8 0 Steady 0.00%
ไทยรักไทย ลดลง7 0.00%
อื่น ๆ 38 0 Steady 0.00%
ผลรวม 62 8 เพิ่มขึ้น1 100.00%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 108,106 48.58% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 101,686 45.73% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 96,118 43.23% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 2 1 67,666 35.28% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 64,785 33.78% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 64,590 33.68% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
เขต 3 1 72,640 46.07% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 58,926 37.37% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 5[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 5 ประกอบไปด้วยจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด และจังหวัดปทุมธานี

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 5
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 197,933 5.26
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 267,825 7.12
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 42,774 1.14
ประชาธิปัตย์ (4) 1,497,587 39.82
พลังเกษตรกร (5) 30,088 0.80
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 20,515 0.55
ประชาราช (9) 179,181 4.76
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,286,161 34.19
ชาติไทย (13) 117,252 3.12
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 54,141 1.44
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 16,466 0.44
ประชากรไทย (18) 13,063 0.35
ประชามติ (19) 8,097 0.22
ไทเป็นไท (20) 12,839 0.34
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23) 8,236 0.22
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 9,182 0.24
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,761,340 90.92
บัตรเสีย 230,304 5.57
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 145,149 3.51
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,136,793 74.36
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,563,067 100.00

ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 5[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 5 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคประชาธิปัตย์ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ
สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์
พันเอก วินัย สมพงษ์
ภุชงค์ รุ่งโรจน์
พรรคพลังประชาชน วิรุฬ เตชะไพบูลย์
สมพล เกยุราพันธุ์
อัสนี เชิดชัย
พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร
พรรคเพื่อแผ่นดิน ปุระพัฒน์ วิเศษจินดาวัฒนา
พรรคประชาราช เสนาะ เทียนทอง

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดชลบุรี[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดชลบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 11,883 2.12
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 5,633 1.00
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 3,532 0.63
ประชาธิปัตย์ (4) 319,411 56.89
พลังเกษตรกร (5) 4,309 0.77
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 5,099 0.91
ประชาราช (9) 4,330 0.77
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 136,102 24.24
ชาติไทย (13) 57,248 10.20
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 6,071 1.08
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 1,582 0.28
ประชากรไทย (18) 1,881 0.34
ประชามติ (19) 666 0.12
ไทเป็นไท (20) 1,526 0.27
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23) 1,135 0.20
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 1,020 0.18
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 561,428 90.72
บัตรเสีย 28,385 4.59
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 29,019 4.69
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 618,832 71.35
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 867,295 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองชลบุรี อำเภอพานทอง และอำเภอพนัสนิคม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ประมวล เอมเปีย (1) 108,016 48.58
ประชาธิปัตย์ บรรจบ รุ่งโรจน์ (2) 101,686 45.73
ประชาธิปัตย์ มานิตย์ ภาวสุทธิ์ (3) 96,118 43.23
ชาติไทย อัมรินทร์ ตั้งประกอบ (8)* 66,610 29.96
ชาติไทย สมชาย สหชัยรุ่งเรือง (7)✔ 64,136 28.85
ชาติไทย ว่าที่ร้อยตรี จิติล คุ้มครอง (9) 54,918 24.70
พลังประชาชน ธนะวัตร วัฒนวงษ์ภิญโญ (4) 38,737 17.42
พลังประชาชน สรายุทธ วงษ์แสงทอง (5) 30,945 13.92
พลังประชาชน เสน่ห์ สมศรี (6) 28,151 12.66
มัชฌิมาธิปไตย เสาวลักษณ์ สุริยาทิพย์ (10)✔ 6,895 3.10
มัชฌิมาธิปไตย สมชาย ศรีสุนทรโวหาร (12) 3,786 1.70
มัชฌิมาธิปไตย สรัลชา ศรีชลวัฒนา (11) 3,421 1.54
รวมใจไทยชาติพัฒนา นันทิวุฒิ โฆษะปัญญาธรรม (13) 2,317 1.04
รวมใจไทยชาติพัฒนา ธนารัชต์ ชวัลกูล (15) 1,061 0.48
รวมใจไทยชาติพัฒนา ปกครอง ผาสุขยืด (14) 986 0.44
ประชากรไทย ธัชพล อนันต์นาวีนุสรณ์ (18) 657 0.30
ไทยร่ำรวย ปริญญา วงศกรรุ่งโรจน์ (19) 643 0.29
ประชากรไทย สุทัศน์ ทาสี (17) 605 0.27
ประชากรไทย พันธุ์เทพ ทับทิมทอง (16) 548 0.25
ไทยร่ำรวย สถาพร มโนวรกุล (20) 418 0.19
ไทยร่ำรวย กันตพัฒน์ กลั่นสุวรรณ์ (21) 363 0.16
ไทเป็นไท ทิพากร เหลืองมหามงคล (22) 328 0.15
ไทเป็นไท ทินกร ด้วงเงิน (23) 263 0.12
ไทเป็นไท อรกัญญา กมลวรภัทร์ (24) 204 0.09
บัตรดี 222,343 91.96
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 14,735 6.09
บัตรเสีย 4,704 1.95
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 241,782 75.32
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 320,986 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอสัตหีบ อำเภอบางละมุง อำเภอเกาะสีชัง และอำเภอศรีราชา (เฉพาะตำบลศรีราชา ตำบลสุรศักดิ์ และตำบลทุ่งสุขลา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พจนารถ แก้วผลึก (1) 67,666 35.28
ประชาธิปัตย์ ฐนโรจน์ โรจนกุลเสฏฐ์ (2) 64,785 33.78
ประชาธิปัตย์ ไมตรี สอยเหลือง (3) 64,590 33.68
พลังประชาชน พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ (4)* 57,050 29.75
พลังประชาชน พลเรือเอก สุรพล จันทน์แดง (6) 53,053 27.66
พลังประชาชน ชัยศิริมงคล พิริยะภาพสกุล (5) 51,177 26.69
ชาติไทย ปรเมศวร์ งามพิเชษฐ์ (12) 48,672 25.38
ชาติไทย ชาญยุทธ เฮงตระกูล (11)* 42,296 22.06
ชาติไทย สันตศักย์ จรูญ งามพิเชษฐ์ (10)✔ 39,941 20.83
เพื่อแผ่นดิน พลเรือโท เชษฐ ไกมลฐิติ (13) 8,550 4.46
มัชฌิมาธิปไตย สุไอนี เพียรดี (9) 7,278 3.80
มัชฌิมาธิปไตย ธงชัย พิมพ์ชากุล (7)✔ 6,719 3.50
มัชฌิมาธิปไตย วิเชียร ตั้งธรรมสถิตย์ (8) 6,500 3.39
เพื่อแผ่นดิน พลเรือเอก วีระพันธ์ งอกงาม (15) 5,073 2.65
เพื่อแผ่นดิน พลเรือโท นิทัศน์ เพชรน้อย (14) 4,309 2.25
รวมใจไทยชาติพัฒนา กรกฎ ขวัญกิจไพศาล (16) 1,476 0.77
ประชากรไทย พลเรือตรี พัฒนะ จิรนันท์ (19) 1,362 0.71
รวมใจไทยชาติพัฒนา ธนัท ศุภพลทองโชติ (17) 1,258 0.66
ประชากรไทย สาวิตรี โสภณ (20) 1,180 0.62
รวมใจไทยชาติพัฒนา สมชาย ปริปุณณโภค (18) 898 0.47
ประชากรไทย สุรภี วัฒนสุนทร (21) 762 0.40
ไทยร่ำรวย จตุพร ประยูรหาญ (22) 455 0.24
ไทยร่ำรวย ธนดล พลสาร (23) 378 0.20
ไทยร่ำรวย ธรรมนูญ กังศิริกุล (24) 357 0.19
บัตรดี 191,779 87.43
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 22,907 10.44
บัตรเสีย 4,672 2.13
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 219,358 66.86
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 328,099 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอเกาะจันทร์ อำเภอบ่อทอง อำเภอหนองใหญ่ อำเภอบ้านบึง และอำเภอศรีราชา (ยกเว้นตำบลศรีราชา ตำบลสุรศักดิ์ และตำบลทุ่งสุขลา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สรวุฒิ เนื่องจำนงค์ (6) 72,640 46.07
ประชาธิปัตย์ พลตำรวจตรี วีระ อนันตกูล (5) 58,926 37.37
ชาติไทย อุทัย มณีรัตน์โรจน์ (7) 38,921 24.68
ชาติไทย จิรวุฒิ สิงห์โตทอง (8)** 35,629 22.59
พลังประชาชน ไชยเฉลิม พิทักษ์ผลิน (4) 25,277 16.03
พลังประชาชน เกษม เหลืองอ่อน (3) 18,651 11.83
มัชฌิมาธิปไตย พันตำรวจโท สนอง พรมไธสง (1) 5,451 3.46
มัชฌิมาธิปไตย พันตำรวจโท สรพล พิมพ์สกุล (2) 3,073 1.95
ไทยร่ำรวย ชูเกียรติ ถาวรเจริญทรัพย์ (12) 1,988 1.26
ประชากรไทย ราชวัติ สุเมธกุล (9) 1,344 0.85
ไทยเป็นไท ณรงค์วัฒน์ สำเร็จกิจสกุล (13) 1,150 0.73
ประชากรไทย นิภา หอรุ่งเรืองชัย (10) 717 0.46
ไทยร่ำรวย ไปรยา มโนวรกุล (11) 529 0.34
ไทยเป็นไท พงศ์กิตศ สำเร็จกิจสกุล (14) 386 0.25
บัตรดี 141,294 89.61
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 9,689 6.14
บัตรเสีย 6,709 4.25
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 157,692 72.27
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 218,210 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2019.