จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550
![]() | ||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||
8 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | ||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ผู้ใช้สิทธิ | 78.67% | |||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 8 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1 และ 2) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 3)
ภาพรวม[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]
คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 8[แก้]
กลุ่มจังหวัดที่ 8 ประกอบไปด้วยจังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดพังงา จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดกระบี่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดยะลา
พรรค | คะแนนเสียง | ร้อยละ | |
---|---|---|---|
เพื่อแผ่นดิน (1) | 156,932 | 4.08 | |
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) | 61,688 | 1.60 | |
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) | 33,729 | 0.88 | |
ประชาธิปัตย์ (4) | 3,086,262 | 80.17 | |
พลังเกษตรกร (5) | 26,029 | 0.68 | |
รักเมืองไทย (6) | – | – | |
แรงงาน (7) | – | – | |
เกษตรกรไทย (8) | – | – | |
ประชาราช (9) | 26,472 | 0.69 | |
นิติศาสตร์ไทย (10) | – | – | |
พัฒนาประชาธิปไตย (11) | – | – | |
พลังประชาชน (12) | 319,984 | 8.31 | |
ชาติไทย (13) | 57,589 | 1.50 | |
ดำรงไทย (14) | – | – | |
มัชฌิมาธิปไตย (15) | 17,999 | 0.47 | |
ชาติสามัคคี (16) | – | – | |
ความหวังใหม่ (17) | 13,108 | 0.34 | |
ประชากรไทย (18) | 6,801 | 0.18 | |
ประชามติ (19) | 6,382 | 0.17 | |
ไทเป็นไท (20) | 14,823 | 0.39 | |
พลังแผ่นดินไท (21) | 6,440 | 0.17 | |
มหาชน (22) | – | – | |
คุณธรรม (23) | – | – | |
ราษฎรรักไทย (24) | 5,297 | 0.14 | |
กฤษไทยมั่นคง (25) | – | – | |
อยู่ดีมีสุข (26) | – | – | |
ไทยร่ำรวย (27) | 6,587 | 0.17 | |
เอกราช (28) | – | – | |
พลังแผ่นดิน (29) | – | – | |
สังคมธิปไตย (30) | – | – | |
นำวิถี (31) | 3,480 | 0.09 | |
บัตรดี | 3,849,602 | 92.19 | |
บัตรเสีย | 240,163 | 5.75 | |
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 86,016 | 2.06 | |
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง | 4,175,781 | 77.96 | |
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง | 5,356,089 | 100.00 |
ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 8[แก้]
แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 8 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้
- พรรคประชาธิปัตย์ 8 คน
- พรรคพลังประชาชน 1 คน
- พรรคเพื่อแผ่นดิน 1 คน
พรรคการเมือง | รายชื่อผู้สมัคร | |
---|---|---|
พรรคประชาธิปัตย์ | ชวน หลีกภัย | |
บัญญัติ บรรทัดฐาน | ||
ไตรรงค์ สุวรรณคีรี | ||
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์ | ||
ชำนิ ศักดิเศรษฐ์ | ||
นิพนธ์ บุญญามณี | ||
พีรยศ ราฮิมมูลา | ||
เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ | ||
พรรคพลังประชาชน | อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ | |
พรรคเพื่อแผ่นดิน | มานพ ปัตนวงศ์ |
คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดสงขลา[แก้]
พรรค | คะแนนเสียง | ร้อยละ | |
---|---|---|---|
เพื่อแผ่นดิน (1) | 21,773 | 3.30 | |
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) | 5,213 | 0.79 | |
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) | 5,348 | 0.81 | |
ประชาธิปัตย์ (4) | 564,163 | 85.49 | |
พลังเกษตรกร (5) | 2,490 | 0.38 | |
รักเมืองไทย (6) | – | – | |
แรงงาน (7) | – | – | |
เกษตรกรไทย (8) | – | – | |
ประชาราช (9) | 1,572 | 0.24 | |
นิติศาสตร์ไทย (10) | – | – | |
พัฒนาประชาธิปไตย (11) | – | – | |
พลังประชาชน (12) | 31,136 | 4.72 | |
ชาติไทย (13) | 18,321 | 2.78 | |
ดำรงไทย (14) | – | – | |
มัชฌิมาธิปไตย (15) | 2,535 | 0.38 | |
ชาติสามัคคี (16) | – | – | |
ความหวังใหม่ (17) | 1,591 | 0.24 | |
ประชากรไทย (18) | 792 | 0.12 | |
ประชามติ (19) | 682 | 0.10 | |
ไทเป็นไท (20) | 2,210 | 0.34 | |
พลังแผ่นดินไท (21) | 651 | 0.10 | |
มหาชน (22) | – | – | |
คุณธรรม (23) | – | – | |
ราษฎรรักไทย (24) | 414 | 0.06 | |
กฤษไทยมั่นคง (25) | – | – | |
อยู่ดีมีสุข (26) | – | – | |
ไทยร่ำรวย (27) | 588 | 0.09 | |
เอกราช (28) | – | – | |
พลังแผ่นดิน (29) | – | – | |
สังคมธิปไตย (30) | – | – | |
นำวิถี (31) | 461 | 0.07 | |
บัตรดี | 659,940 | 93.03 | |
บัตรเสีย | 36,850 | 5.19 | |
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 12,609 | 1.78 | |
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง | 709,399 | 78.67 | |
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง | 901,757 | 100.00 |
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]
สัญลักษณ์ | |
* | ส.ส. ที่ได้รับเลือกในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสงขลา อำเภอสทิงพระ อำเภอกระแสสินธุ์ อำเภอระโนด อำเภอรัตภูมิ อำเภอบางกล่ำ อำเภอควนเนียง และอำเภอสิงหนคร
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสงขลา | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | ประพร เอกอุรุ (14)* | 199,210 | 76.79 | ||
ประชาธิปัตย์ | วินัย เสนเนียม (13)* | 191,037 | 73.64 | ||
ประชาธิปัตย์ | เจือ ราชสีห์ (15)* | 182,039 | 70.18 | ||
พลังประชาชน | กิตติพัฒน์ แก้วมณี (4) | 31,897 | 12.30 | ||
พลังประชาชน | สมนิตย์ ประทุมวรรณ (5) | 10,734 | 4.14 | ||
พลังประชาชน | ธนชาติ แสงประดับ ธรรมโชติ (6) | 10,589 | 4.08 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | ดลเหลาะ หล๊ะติหมะ (16) | 10,189 | 3.93 | ||
ประชาราช | วิสุทธิ์ ภักดี (12) | 9,803 | 3.78 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | สุหนัน หมัดเจริญ (17) | 6,848 | 2.64 | ||
ประชากรไทย | วีระวัฒน์ พรหมคง (3) | 6,071 | 2.34 | ||
เพื่อแผ่นดิน | ราเชษฐ อารี (19) | 5,219 | 2.01 | ||
ประชากรไทย | จรัญ วงศ์กระจ่าง (1) | 5,100 | 1.97 | ||
เพื่อแผ่นดิน | รัชพล เสวตรนิสากร (20) | 5,093 | 1.96 | ||
ประชากรไทย | ปรีชา คงมา (2) | 5,035 | 1.94 | ||
ประชามติ | ชัยวุฒิ ช่วงมี (32) | 3,068 | 1.18 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | วันชัย จันทร์สุข (18) | 3,022 | 1.17 | ||
พลังเกษตรกร | เสรี ชุมทอง (24) | 2,298 | 0.89 | ||
พัฒนาประชาธิปไตย | ไพจิตร จันทรโชติ (7) | 2,275 | 0.88 | ||
ประชามติ | ประยุทธ สุวรรณโณ (31) | 2,206 | 0.85 | ||
พัฒนาประชาธิปไตย | อาวุธ สะอาดแก้ว (9) | 2,111 | 0.81 | ||
ประชาราช | หมัดหน๊อด มะหมัด (11) | 2,076 | 0.80 | ||
ประชาราช | วิรัตน์ หิรัญสาย (10) | 2,043 | 0.79 | ||
เพื่อแผ่นดิน | กฤษณพล เจริญวิริยะภาพ (21) | 1,940 | 0.75 | ||
พัฒนาประชาธิปไตย | อมรา ชัยศรี (8) | 1,358 | 0.52 | ||
พลังเกษตรกร | ธรรมรัตน์ เสน่หา (23) | 1,240 | 0.48 | ||
ไทเป็นไท | สุขสันติ์ บริเพ็ชร์ (30) | 1,070 | 0.41 | ||
พลังเกษตรกร | เสริม สายอ๋อง (22) | 865 | 0.33 | ||
ไทยร่ำรวย | ธิรัคร เพชรพงศ์ (25) | 650 | 0.25 | ||
ไทเป็นไท | ศุภชัย สิทธิมาก (29) | 625 | 0.24 | ||
ประชามติ | เจริญกิจ มีศิริ (33) | 573 | 0.22 | ||
ไทยร่ำรวย | ภูวดล เพชรพงศ์ (27) | 422 | 0.16 | ||
ไทเป็นไท | มาโนช โดะโอย (28) | 400 | 0.15 | ||
ไทยร่ำรวย | นงนภัส สุทธกรณ์ (26) | 352 | 0.14 | ||
บัตรดี | 259,408 | 93.48 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 12,119 | 4.37 | – | ||
บัตรเสีย | 5,977 | 2.15 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 277,504 | 78.04 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 355,591 | 100.00 | — | ||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง |
เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]
เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอหาดใหญ่ อำเภอสะเดา และอำเภอคลองหอยโข่ง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสงขลา | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | ถาวร เสนเนียม (1)* | 195,678 | 81.18 | ||
ประชาธิปัตย์ | วิรัตน์ กัลยาศิริ (2)* | 193,232 | 80.16 | ||
ประชาธิปัตย์ | ลาภศักดิ์ ลาภาโรจน์กิจ (3)* | 181,826 | 75.43 | ||
มัชฌิมาธิปไตย | ฉัตรชัย ชูแก้ว (4) | 17,491 | 7.26 | ||
พลังประชาชน | ทวีเกียรติ รองสวัสดิ์ (7) | 13,702 | 5.68 | ||
พลังประชาชน | อรรถชาญ เชาวน์วานิชย์ (8) | 13,101 | 5.44 | ||
พลังประชาชน | สุรเชษฐ์ ชินวุฒิวงศ์ (9) | 12,061 | 5.00 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | สนธยา หมัดหมัน (10) | 5,766 | 2.39 | ||
มัชฌิมาธิปไตย | มาวิน มากจังหวัด (5) | 4,478 | 1.86 | ||
ประชาราช | ร้อยเอก ชัยคม แก้วนุกูล (14) | 3,421 | 1.42 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | ธาราดร พรหมสุทธิ์ (11) | 3,189 | 1.32 | ||
มัชฌิมาธิปไตย | เจษฎาพงศ์ ชูแก้ว (6) | 2,973 | 1.23 | ||
ประชาราช | วิษณุ บุหงา (15) | 2,642 | 1.10 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | เอกชัย ถาวรวงศ์ (12) | 2,528 | 1.05 | ||
ประชาราช | ชาญยุทธ หิรัญสาย (13) | 2,404 | 1.00 | ||
ประชากรไทย | ขนบ ชูคดี (18) | 2,296 | 0.95 | ||
ประชากรไทย | ร้อยตำรวจตรี พลประสิทธิ์ ยอดนพภา (16) | 1,084 | 0.45 | ||
ประชากรไทย | บรรชา ยอดหวาน (17) | 939 | 0.39 | ||
พลังเกษตรกร | ประเสริฐ ละอองจิต (19) | 866 | 0.36 | ||
พลังเกษตรกร | พจน์มาลย์ กาญจนสุวรรณ (20) | 598 | 0.25 | ||
พลังเกษตรกร | ทรงชัย จิรโชติกาจร (21) | 534 | 0.22 | ||
ไทยร่ำรวย | เนาวรัตน์ สุวรรณรัตน์ (23) | 393 | 0.16 | ||
ไทยร่ำรวย | พงศ์ปัญญา เลี่ยวนโรปกรณ์ (22) | 256 | 0.11 | ||
ไทยร่ำรวย | ภาสกร เด่นอุดม (24) | 187 | 0.08 | ||
บัตรดี | 241,052 | 92.75 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 13,288 | 5.11 | – | ||
บัตรเสีย | 5,553 | 2.14 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 259,893 | 76.48 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 339,823 | 100.00 | — | ||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง |
เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]
เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอนาหม่อม อำเภอนาทวี อำเภอสะบ้าย้อย อำเภอจะนะ และอำเภอเทพา
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสงขลา | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | ศิริโชค โสภา (3)* | 93,390 | 57.06 | ||
ประชาธิปัตย์ | นาราชา สุวิทย์ (4)* | 86,517 | 52.86 | ||
เพื่อแผ่นดิน | พันตำรวจเอก สุรินทร์ ปาลาเร่ (1) | 58,399 | 35.68 | ||
เพื่อแผ่นดิน | อับดุลอาซิซ สาเม๊าะ (2) | 27,062 | 16.54 | ||
พลังประชาชน | สุรศักดิ์ มณี (6) | 14,018 | 8.57 | ||
พลังประชาชน | อับดนเลาะ สาแมแน็ง (5) | 4,484 | 2.74 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | การิยา หวังมะ (8) | 1,259 | 0.77 | ||
พลังเกษตรกร | ถาวร อุบล (12) | 1,009 | 0.62 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | พิเชฎษ์ เพ็งสม (7) | 869 | 0.53 | ||
ไทยร่ำรวย | ไพศาล หวังจิตต์ (13) | 809 | 0.49 | ||
ประชามติ | ณัฐชัย เอียดหัด (10) | 660 | 0.40 | ||
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย | ฉัตรชัย มหารชพงศ์ (18) | 555 | 0.34 | ||
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย | ดวงเดือน รัตนพรหมมา (17) | 543 | 0.33 | ||
ไทเป็นไท | เกลื่อม หน่อแดง (16) | 458 | 0.28 | ||
พลังเกษตรกร | อุมาด สางอย (11) | 413 | 0.25 | ||
ไทเป็นไท | ไพริน โดะโอย (15) | 347 | 0.21 | ||
ประชามติ | ถวัลย์ศักดิ์ ประสิทธิ์นุ้ย (9) | 326 | 0.20 | ||
ไทยร่ำรวย | อารีย์ หมัดอาหลี (14) | 295 | 0.18 | ||
บัตรดี | 163,662 | 95.15 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 4,253 | 2.47 | – | ||
บัตรเสีย | 4,089 | 2.38 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 172,004 | 83.36 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 206,343 | 100.00 | — | ||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง | |||||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง |
ดูเพิ่ม[แก้]
- จังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548
- การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา เขต 1 แทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2552
อ้างอิง[แก้]
- ↑ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". สืบค้นเมื่อ 13 December 2019.