จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดศรีสะเกษในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ75.98%
  First party Second party Third party
 
มฌ
พรรค พลังประชาชน ชาติไทย มัชฌิมาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 7 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น7 Steady0 เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 443,865 16,679 6,320
% 68.05 2.56 0.97

  Fourth party
 
พรรค ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0
คะแนนเสียง 73,166
% 11.22

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 4[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 4 ประกอบไปด้วยจังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 6 จังหวัด

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 4
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 345,672 9.70
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 65,583 1.84
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 681,617 19.12
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 35,809 1.00
ประชาราช (9) 54,590 1.53
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11) 40,633 1.14
พลังประชาชน (12) 2,039,964 57.24
ชาติไทย (13) 105,883 2.97
ดำรงไทย (14) 11,477 0.32
มัชฌิมาธิปไตย (15) 81,947 2.30
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 26,945 0.76
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 29,724 0.83
ไทเป็นไท (20) 22,799 0.64
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 7,221 0.20
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 14,252 0.40
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,564,116 91.47
บัตรเสีย 252,728 6.49
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 79,314 2.04
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 3,896,158 72.62
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,365,305 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 4[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 4 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคพลังประชาชน สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี
ชัย ชิดชอบ
เพิ่มพูน ทองศรี
อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์
พลตำรวจเอก วิรุฬห์ พื้นแสน
พฤฒิชัย วิริยะโรจน์
พรรคประชาธิปัตย์ วิฑูรย์ นามบุตร
ดนัย นพสุวรรณวงศ์
พรรคเพื่อแผ่นดิน วัลลภ ไทยเหนือ
พรรคชาติไทย วีระศักดิ์ โควสุรัตน์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดศรีสะเกษ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 33,294 5.10
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 16,848 2.58
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 73,166 11.22
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 7,371 1.13
ประชาราช (9) 19,325 2.96
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11) 9,612 1.47
พลังประชาชน (12) 443,865 68.05
ชาติไทย (13) 16,679 2.56
ดำรงไทย (14) 991 0.15
มัชฌิมาธิปไตย (15) 6,320 0.97
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 4,486 0.69
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 9,487 1.45
ไทเป็นไท (20) 6,779 1.04
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 1,410 0.22
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29) 2,654 0.41
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 652,287 90.84
บัตรเสีย 53,268 7.42
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 12,481 1.74
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 718,036 75.98
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 945,060 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองศรีสะเกษ อำเภอกันทรารมย์ อำเภอราษีไศล อำเภอยางชุมน้อย อำเภอบึงบูรพ์ อำเภอพยุห์ อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ และอำเภอศิลาลาด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน ธเนศ เครือรัตน์ (7)* 117,525 48.53
ชาติไทย สิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ (19) 107,351 44.33
พลังประชาชน ปวีณ แซ่จึง (9)* 105,231 43.45
พลังประชาชน สุรชาติ ชาญประดิษฐ์ (8) 102,556 42.35
เพื่อแผ่นดิน ณรงค์สิทธิ์ เครือรัตน์ (18) 60,632 25.04
ชาติไทย วิลัดดา อินฉัตร (20) 44,942 18.56
ประชาราช พิทยา บุญเฉลียว (13)* 26,181 10.81
รวมใจไทยชาติพัฒนา ธาดา ลิมปิจำนงค์ (12) 12,762 5.27
ชาติไทย กัณพงศ์ แซ่จึง (21) 9,174 3.79
ประชาธิปัตย์ ยงยุทธ บุตรศรี (1) 8,678 3.58
ประชาธิปัตย์ พินิต ศิริวัฒนชัยศิลป์ (2) 5,335 2.20
ประชาธิปัตย์ กาญจนา สมใจ (3) 4,898 2.02
เพื่อแผ่นดิน เชาวลิต ศิลารักษ์ (17) 3,837 1.58
ประชามติ ทัตธน ทองเฟื่อง (6) 2,624 1.08
เพื่อแผ่นดิน กมล แสงเดช (16) 2,226 0.92
มัชฌิมาธิปไตย ชิต เจริญประเสริฐ (22) 2,124 0.88
ประชามติ โสภณ วรธรรมปัญญา (4) 2,006 0.83
มัชฌิมาธิปไตย ศรีรัฏน์ ช่างเพ็ชร์ (23) 1,992 0.82
รวมใจไทยชาติพัฒนา พันตำรวจโท ชุมพร พลศักดิ์ (10) 1,932 0.80
รวมใจไทยชาติพัฒนา จำรัส อัศดร (11) 1,443 0.60
ประชามติ เชิดศักดิ์ สัทธรรมนุวงศ์ (5) 1,343 0.56
ไทเป็นไท ณัฎฐิณี ชมภูพื้น (29) 1,080 0.45
ประชาราช วิโรจน์ ผ่องราษี (14) 1,033 0.43
ประชาราช สุตา พรมดวง (15) 1,010 0.42
ไทเป็นไท ว่าที่ร้อยตรี ฤทธิเดช วรงค์ (28) 642 0.27
ไทเป็นไท ภรภัน ศรีสระคู (30) 621 0.26
ไทยร่ำรวย ธนนิจ นันทะเสน (26) 350 0.15
ไทยร่ำรวย ธีรสุวัฒน์ ศักดิ์เสถียร (27) 325 0.13
มัชฌิมาธิปไตย รังสรรค์ พรหมภา (24) 292 0.12
ไทยร่ำรวย นิคม มักสิก (25) 244 0.10
บัตรดี 242,191 95.62
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,621 2.61
บัตรเสีย 4,496 1.77
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 253,308 79.05
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 320,433 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอขุขันธ์ อำเภออุทุมพรพิสัย อำเภอปรางค์กู่ อำเภอห้วยทับทัน อำเภอภูสิงห์ อำเภอวังหิน และอำเภอเมืองจันทร์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน วีระพล จิตสัมฤทธิ์ (11)* 97,349 44.05
พลังประชาชน พรศักดิ์ เจริญประเสริฐ (10)** 88,828 40.19
พลังประชาชน ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง (12)** 78,817 35.66
รวมใจไทยชาติพัฒนา มาลินี อินฉัตร (20)* 72,526 32.82
รวมใจไทยชาติพัฒนา วีระศักดิ์ ตั้งพูนผลสวัสดิ์ (21) 69,799 31.58
รวมใจไทยชาติพัฒนา สวัสดิ์ สืบสายพรหม (19)✔ 63,496 28.73
ประชาราช มานพ จรัสดำรงนิตย์ (16)* 60,891 27.55
มัชฌิมาธิปไตย ไพโรจน์ วงศ์พรหม (5) 9,325 4.22
ประชาธิปัตย์ กชกร อินทมี (9) 4,862 2.20
เพื่อแผ่นดิน ปัญญา สารเสนา (13) 4,044 1.83
ประชาธิปัตย์ มาโนชญ์ นรมาศ (8) 3,242 1.47
นำวิถี สุทิน ศรบุญทอง (22) 3,141 1.42
ประชามติ สุวงค์ วงษ์ปลั่ง (1) 2,934 1.33
ประชาธิปัตย์ อนงนาฎ อุโลก (7) 2,706 1.22
ประชามติ บุญยัง ศรีปัญญา (2) 2,581 1.17
เพื่อแผ่นดิน ภัทรพร ทองสุทธิ์ (15) 2,091 0.95
ประชามติ พินิต พิศุทธิวงษ์ชัย (3) 2,070 0.94
ประชาราช บุญเกิด เพ็งอุดม (18) 2,043 0.92
ประชาราช จิราวดี จึงวรานนท์ (17) 1,900 0.86
มัชฌิมาธิปไตย ปรเมศวร์ จึงวัฒนานนท์ (4) 1,826 0.83
ไทเป็นไท สิทธิโชค จันคณา (29) 1,592 0.72
มัชฌิมาธิปไตย มณัฐชัย ถาวร (6) 1,391 0.63
เพื่อแผ่นดิน ยรรยง พิทยาพล (14) 1,274 0.58
ไทยร่ำรวย กิจติวัฒน์ ตัณฑกูล (26) 1,122 0.51
นำวิถี วิจิตร์ ดวนใหญ่ (23) 1,048 0.47
นำวิถี ดาวฤทธิ์ ดวนใหญ่ (24) 991 0.45
ไทเป็นไท จรรยา จันทร์แจ่ม (30) 898 0.41
ไทยร่ำรวย ภาณุพงศ์ ตัณฑกูล (25) 816 0.37
ไทยร่ำรวย อัคณีรักษ์ รัตนะวัน (27) 390 0.18
ไทเป็นไท ฐิติพันธุ์ เพ็ญอัมพร (28) 282 0.13
บัตรดี 221,002 95.71
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,855 2.10
บัตรเสีย 5,058 2.19
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 230,915 73.90
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 312,453 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบไปด้วยอำเภอกันทรลักษ์ อำเภอขุนหาญ อำเภอไพรบึง อำเภอโนนคูณ อำเภอศรีรัตนะ และอำเภอเบญจลักษ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
มัชฌิมาธิปไตย อุดมลักษณ์ เพ็งนรพัฒน์ (4) 107,338 48.32
พลังประชาชน ธีระ ไตรสรณกุล (9) 100,435 45.21
พลังประชาชน วิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ (7)* 97,649 43.95
เพื่อแผ่นดิน ภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ (1)✔ 88,483 39.83
พลังประชาชน อมรเทพ สมหมาย (8)* 72,067 32.44
เพื่อแผ่นดิน ดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ (2)✔ 52,283 23.53
เพื่อแผ่นดิน จรุงศักดิ์ อัศวเมธาพันธ์ (3) 10,634 4.79
ประชามติ วิริยะ อินพานิช (12) 9,548 4.30
มัชฌิมาธิปไตย โชคทวี เสาสิริ (6) 4,411 1.99
ประชาธิปัตย์ กิติศักดิ์ พ้นภัย (17) 4,163 1.87
ประชาธิปัตย์ ผิน ผิวเหลือง (18) 4,111 1.85
ประชาธิปัตย์ จุไรรัตน์ สังข์แก้ว (16) 3,638 1.64
มัชฌิมาธิปไตย ไพลอด สายแก้ว (5) 2,649 1.19
ประชามติ ธีรธรรม ดาสี (10) 1,438 0.65
ประชามติ จ่าสิบตรี ศักดิ์วรินทร์ ศรีภักดิ์ (11) 1,416 0.64
รวมใจไทยชาติพัฒนา พรศรี เจริญศรี (14) 1,348 0.61
รวมใจไทยชาติพัฒนา เพญ พินิจอักษร (15) 1,223 0.55
รวมใจไทยชาติพัฒนา กิติภัทร์ อนันต์เมธากุล (13) 1,026 0.46
ไทยร่ำรวย จ่าสิบเอก สิทธิ์ เคนนาดี (19) 979 0.44
ไทยร่ำรวย วัชรพงษ์ ชมภูวงค์ (21) 835 0.38
ไทยร่ำรวย ปิฐาสิทธิ์ ศรีสิงห์ (20) 601 0.27
สยามสันติ วันชัย บุญเสนอ (22) 586 0.26
สยามสันติ ณีรนุช ผิวผัน (23) 522 0.24
ไทเป็นไท นงนุช ไกรษี (25) 517 0.23
ไทเป็นไท ดาวรุ่ง พร้อมพรม (26) 306 0.14
ไทเป็นไท สมภาร อินตะนัย (27) 302 0.14
สยามสันติ ไพทูล ธรรมรส (24) 291 0.13
บัตรดี 222,165 94.99
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,056 2.59
บัตรเสีย 5,650 2.42
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 233,871 74.92
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 312,174 100.00
มัชฌิมาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]