จังหวัดนครสวรรค์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550
![]() | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
7 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ผู้ใช้สิทธิ | 73.00% | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 7 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 2 และ 3)
ภาพรวม[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]
คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 2[แก้]
กลุ่มจังหวัดที่ 2 ประกอบไปด้วยจังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดพิจิตร จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดลพบุรี จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดอุทัยธานี ทั้งหมด 9 จังหวัด
พรรค | คะแนนเสียง | ร้อยละ | |
---|---|---|---|
เพื่อแผ่นดิน (1) | 237,357 | 6.34 | |
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) | 121,143 | 3.24 | |
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) | – | – | |
ประชาธิปัตย์ (4) | 1,251,995 | 33.45 | |
พลังเกษตรกร (5) | – | – | |
รักเมืองไทย (6) | – | – | |
แรงงาน (7) | – | – | |
เกษตรกรไทย (8) | – | – | |
ประชาราช (9) | 77,279 | 2.06 | |
นิติศาสตร์ไทย (10) | – | – | |
พัฒนาประชาธิปไตย (11) | – | – | |
พลังประชาชน (12) | 1,717,141 | 45.87 | |
ชาติไทย (13) | 188,473 | 5.03 | |
ดำรงไทย (14) | – | – | |
มัชฌิมาธิปไตย (15) | 66,627 | 1.78 | |
ชาติสามัคคี (16) | – | – | |
ความหวังใหม่ (17) | 25,417 | 0.68 | |
ประชากรไทย (18) | – | – | |
ประชามติ (19) | 18,752 | 0.50 | |
ไทเป็นไท (20) | 17,909 | 0.48 | |
พลังแผ่นดินไท (21) | – | – | |
มหาชน (22) | – | – | |
คุณธรรม (23) | – | – | |
ราษฎรรักไทย (24) | – | – | |
กฤษไทยมั่นคง (25) | – | – | |
อยู่ดีมีสุข (26) | – | – | |
ไทยร่ำรวย (27) | 10,338 | 0.28 | |
เอกราช (28) | – | – | |
พลังแผ่นดิน (29) | 11,011 | 0.29 | |
สังคมธิปไตย (30) | – | – | |
นำวิถี (31) | – | – | |
บัตรดี | 3,743,442 | 91.35 | |
บัตรเสีย | 248,711 | 6.07 | |
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 105,865 | 2.58 | |
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง | 4,098,021 | 71.79 | |
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง | 5,708,145 | 100.00 |
ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 2[แก้]
แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 2 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้
- พรรคพลังประชาชน จำนวน 5 คน
- พรรคประชาธิปัตย์ จำนวน 3 คน
- พรรคเพื่อแผ่นดิน จำนวน 1 คน
- พรรคชาติไทย จำนวน 1 คน
คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดนครสวรรค์[แก้]
พรรค | คะแนนเสียง | ร้อยละ | |
---|---|---|---|
เพื่อแผ่นดิน (1) | 18,238 | 3.56 | |
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) | 27,961 | 5.46 | |
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) | – | – | |
ประชาธิปัตย์ (4) | 217,140 | 42.44 | |
พลังเกษตรกร (5) | – | – | |
รักเมืองไทย (6) | – | – | |
แรงงาน (7) | – | – | |
เกษตรกรไทย (8) | – | – | |
ประชาราช (9) | 13,865 | 2.71 | |
นิติศาสตร์ไทย (10) | – | – | |
พัฒนาประชาธิปไตย (11) | – | – | |
พลังประชาชน (12) | 167,021 | 32.64 | |
ชาติไทย (13) | 31,021 | 6.06 | |
ดำรงไทย (14) | – | – | |
มัชฌิมาธิปไตย (15) | 24,777 | 4.84 | |
ชาติสามัคคี (16) | – | – | |
ความหวังใหม่ (17) | 2,933 | 0.57 | |
ประชากรไทย (18) | – | – | |
ประชามติ (19) | 3,309 | 0.65 | |
ไทเป็นไท (20) | 2,434 | 0.48 | |
พลังแผ่นดินไท (21) | – | – | |
มหาชน (22) | – | – | |
คุณธรรม (23) | – | – | |
ราษฎรรักไทย (24) | – | – | |
กฤษไทยมั่นคง (25) | – | – | |
อยู่ดีมีสุข (26) | – | – | |
ไทยร่ำรวย (27) | 1,846 | 0.36 | |
เอกราช (28) | – | – | |
พลังแผ่นดิน (29) | 1,129 | 0.22 | |
สังคมธิปไตย (30) | – | – | |
นำวิถี (31) | – | – | |
บัตรดี | 511,674 | 90.94 | |
บัตรเสีย | 37,212 | 6.61 | |
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 13,768 | 2.45 | |
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง | 562,654 | 73.00 | |
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง | 770,766 | 100.00 |
ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]
สัญลักษณ์ | |
* | ส.ส. ที่ได้รับเลือกในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา |
† | ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์ |
✔ | เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว |
ตัวหนา | ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง |
เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองนครสวรรค์ อำเภอพยุหะคีรี อำเภอท่าตะโก อำเภอโกรกพระ และอำเภอชุมแสง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครสวรรค์ | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | สมควร โอบอ้อม (10)✔ | 73,444 | 31.02 | ||
ประชาธิปัตย์ | สงกรานต์ จิตสุทธิภากร (11) | 63,548 | 26.84 | ||
ประชาราช | สมชัย เจริญชัยฤทธิ์ (15)* | 58,877 | 24.87 | ||
ชาติไทย | ทรงศักดิ์ ส่งเสริมอุดมชัย (16) | 57,736 | 24.39 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | เกษม ปานอุดมลักษณ์ (9)* | 57,508 | 24.29 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | ภิญโญ นิโรจน์ (7)✔ | 55,895 | 23.61 | ||
ประชาราช | ดาบตำรวจ จำเริญ วรทอง (13) | 48,367 | 20.43 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | ดิสทัต คำประกอบ (8) | 45,847 | 19.37 | ||
ประชาธิปัตย์ | สัญญพงษ์ จิระธนประเสริฐ (12) | 45,191 | 19.09 | ||
พลังประชาชน | เผด็จ ชวนานนท์ (19) | 25,453 | 10.75 | ||
พลังประชาชน | ธนรัชต์ วิเชียรรัตน์ (20) | 25,171 | 10.63 | ||
มัชฌิมาธิปไตย | ประสิทธิ์ พิทูรกิจจา (1)✔ | 22,645 | 9.57 | ||
พลังประชาชน | วิชัย ทองทรงกฤษณ์ (21) | 21,084 | 8.91 | ||
ประชามติ | ปัญญา คล้ายแจ้ง (4) | 6,932 | 2.93 | ||
ประชาราช | นำพล กันทะวงศ์ (14) | 3,447 | 1.46 | ||
ชาติไทย | ร้อยตำรวจโท สุรัตน์ชัย เฉลยคาม (17) | 3,428 | 1.45 | ||
ชาติไทย | ร้อยตำรวจตรี สันติ อินทร์ไทยวงศ์ (18) | 2,743 | 1.16 | ||
มัชฌิมาธิปไตย | ภพ ทองเปลว (3) | 2,507 | 1.06 | ||
ประชามติ | วชิรธร ศรีสินทนุ (6) | 2,243 | 0.95 | ||
พลังเกษตรกร | อารมย์ จำนงค์ไว (22) | 1,171 | 0.49 | ||
พลังเกษตรกร | เลื่อน พุ่มมาลา (23) | 785 | 0.33 | ||
ไทยร่ำรวย | จีรนันท์ คุ้มสอาด (25) | 764 | 0.32 | ||
ไทยร่ำรวย | จ่าสิบเอก ยรรยง ศรีไพร (26) | 682 | 0.29 | ||
พลังเกษตรกร | อารีย์ ปานพรม (24) | 627 | 0.26 | ||
ไทยร่ำรวย | อานันต์ ทิวาลัย (27) | 541 | 0.23 | ||
บัตรดี | 236,748 | 92.90 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 10,887 | 4.27 | – | ||
บัตรเสีย | 7,218 | 2.83 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 254,853 | 74.22 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 343,361 | 100.00 | — | ||
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย | |||||
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย | |||||
ประชาราช ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย |
เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]
เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอบรรพตพิสัย อำเภอลาดยาว อำเภอเก้าเลี้ยว อำเภอแม่วงก์ อำเภอแม่เปิน และอำเภอชุมตาบง
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนครสวรรค์ | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ชาติไทย | นิโรธ สุนทรเลขา (5)* | 61,119 | 41.70 | ||
พลังประชาชน | สัญชัย วงษ์สุนทร (1)* | 55,925 | 38.15 | ||
ชาติไทย | สุภัตรา วิมลสมบัติ (6) | 53,530 | 36.52 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | ประสาท ตันประเสริฐ (11)✔ | 49,935 | 34.07 | ||
ประชาธิปัตย์ | สำรอง เยี่ยงยงค์ (9) | 12,532 | 8.55 | ||
พลังประชาชน | บรรจบ นิลเนตร์ (2) | 10,118 | 6.90 | ||
ประชาธิปัตย์ | ล้อมเดช ซ่อนกลิ่น (10) | 9,135 | 6.23 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | วิรุฬห์ บำรุงสรณ์ (12) | 5,293 | 3.61 | ||
ประชาราช | จิรพันธุ์ ไกรศรี (4) | 4,391 | 3.00 | ||
ประชาราช | ประสงค์ อินทร์ขุน (3) | 1,344 | 0.92 | ||
เพื่อแผ่นดิน | ปริญญา มาลัยทอง (15) | 1,253 | 0.85 | ||
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย | วัชรพงศ์ ชำนาญเวช (13) | 1,081 | 0.74 | ||
มัชฌิมาธิปไตย | ดาบตำรวจ ธงชัย วจีสัจจะ (7) | 954 | 0.65 | ||
มัชฌิมาธิปไตย | ชง อยู่พุ่ม (8) | 652 | 0.44 | ||
เพื่อแผ่นดิน | นพสิทธิ์ ฉัตรมณีจิรสิน (16) | 533 | 0.36 | ||
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย | วิรัตน์ เปี่ยมเสถียร (14) | 347 | 0.24 | ||
ไทยร่ำรวย | แตง อุทิศธรรมสกุล (18) | 251 | 0.17 | ||
ไทยร่ำรวย | จารุชา วินิจสร (17) | 234 | 0.16 | ||
บัตรดี | 146,576 | 93.98 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 3,624 | 2.32 | – | ||
บัตรเสีย | 5,770 | 3.70 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 155,970 | 72.39 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 215,448 | 100.00 | — | ||
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย | |||||
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย |
เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]
เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบไปด้วยอำเภอหนองบัว อำเภอไพศาลี อำเภอตากฟ้า และอำเภอตาคลี
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดนครสวรรค์ | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ชาติไทย | พีระเดช ศิริวันสาณฑ์ (3) | 68,384 | 48.50 | ||
มัชฌิมาธิปไตย | พันตำรวจตรี นุกูล แสงศิริ (7) | 48,165 | 34.16 | ||
พลังประชาชน | พรพิศิษฐ์ แจ่มใส (1) | 36,123 | 25.62 | ||
มัชฌิมาธิปไตย | เมธี ฉัตรจินดารัตน์ (8)* | 31,373 | 22.25 | ||
ประชาธิปัตย์ | สมชาย เพ็ชรจินดา (9) | 22,387 | 15.88 | ||
ประชาธิปัตย์ | พัชรีรัตน์ ภัทรธีรทิพย์ (10) | 17,461 | 12.38 | ||
พลังประชาชน | อุปถัมภ์ อินสุธา (2) | 12,013 | 8.52 | ||
ชาติไทย | จักรภัทร วงษ์วานิชย์ (4) | 4,983 | 3.53 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | ชาญ สร้อยจำปา (12) | 3,717 | 2.64 | ||
พรรคพลังเกษตรกร | กุหลาบ ขุนเกลี้ยง (15) | 2,526 | 1.79 | ||
ไทเป็นไท | ตุลยากร แย้มสอาด (13) | 1,646 | 1.17 | ||
ประชามติ | ณรงค์ชัย สายหยุด (5) | 1,096 | 0.78 | ||
รวมใจไทยชาติพัฒนา | ชัยรัตน์ ศุภวารี (11) | 1,051 | 0.75 | ||
ประชามติ | ปสาน ศักดิ์ทอง (6) | 852 | 0.60 | ||
ไทยร่ำรวย | เสาวณีย์ มีแสง (17) | 697 | 0.49 | ||
ไทเป็นไท | ณฐมน แย้มสอาด (14) | 441 | 0.31 | ||
ไทยร่ำรวย | สุเชต วรพงษ์ (18) | 352 | 0.25 | ||
พรรคพลังเกษตรกร | ประจวบ ยอดย้อย (16) | 319 | 0.23 | ||
บัตรดี | 140,998 | 92.87 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 4,946 | 3.26 | – | ||
บัตรเสีย | 5,882 | 3.87 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 151,826 | 71.63 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 211,957 | 100.00 | — | ||
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย | |||||
มัชฌิมาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย |
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. Check date values in:
|accessdate=
(help)