จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ76.16%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 Steady0
คะแนนเสียง 146,790 70,871
% 57.42 27.72

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รวมทั้งจังหวัดจันทบุรี)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 146,790 57.42% เพิ่มขึ้น35.01%
พลังประชาชน 70,871 27.72% ลดลง27.19%
ชาติไทย 1,862 0.73% ลดลง13.46%
อื่น ๆ 36,137 14.13% เพิ่มขึ้น5.64%
ผลรวม 255,660 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
57.42%
พลังประชาชน
  
27.72%
ชาติไทย
  
0.73%
อื่น ๆ
  
14.13%

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ พลังประชาชน อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 146,790 57.42% 70,871 27.72% 37,999 14.86% 255,660 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ผลรวม 146,790 57.42% 70,871 27.72% 37,999 14.86% 255,660 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดจันทบุรี)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 3 3 เพิ่มขึ้น3 100.00%
พลังประชาชน 3 0 Steady 0.00%
ไทยรักไทย ลดลง3 0.00%
อื่น ๆ 21 0 Steady 0.00%
ผลรวม 27 3 Steady 100.00%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 129,733 48.88% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 122,136 46.02% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 105,719 39.83% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 5[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 5 ประกอบไปด้วยจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตราด และจังหวัดปทุมธานี

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 5
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 197,933 5.26
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 267,825 7.12
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 42,774 1.14
ประชาธิปัตย์ (4) 1,497,587 39.82
พลังเกษตรกร (5) 30,088 0.80
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 20,515 0.55
ประชาราช (9) 179,181 4.76
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,286,161 34.19
ชาติไทย (13) 117,252 3.12
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 54,141 1.44
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 16,466 0.44
ประชากรไทย (18) 13,063 0.35
ประชามติ (19) 8,097 0.22
ไทเป็นไท (20) 12,839 0.34
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23) 8,236 0.22
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 9,182 0.24
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,761,340 90.92
บัตรเสีย 230,304 5.57
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 145,149 3.51
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,136,793 74.36
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,563,067 100.00

ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 5[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 5 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคประชาธิปัตย์ ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ
สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์
พันเอก วินัย สมพงษ์
ภุชงค์ รุ่งโรจน์
พรรคพลังประชาชน วิรุฬ เตชะไพบูลย์
สมพล เกยุราพันธุ์
อัสนี เชิดชัย
พรรครวมใจไทยชาติพัฒนา พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร
พรรคเพื่อแผ่นดิน ปุระพัฒน์ วิเศษจินดาวัฒนา
พรรคประชาราช เสนาะ เทียนทอง

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดจันทบุรี[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดจันทบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 6,652 2.60
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 3,909 1.53
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 3,420 1.34
ประชาธิปัตย์ (4) 146,790 57.42
พลังเกษตรกร (5) 1,014 0.40
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8) 662 0.26
ประชาราช (9) 10,064 3.94
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 70,871 27.72
ชาติไทย (13) 1,862 0.73
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 2,246 0.88
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 2,319 0.91
ประชากรไทย (18) 1,339 0.52
ประชามติ (19) 2,045 0.80
ไทเป็นไท (20) 1,393 0.55
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23) 500 0.20
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 574 0.23
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 255,660 89.95
บัตรเสีย 19,059 6.71
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 9,479 3.34
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 284,198 76.16
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 373,156 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดจันทบุรีทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดจันทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ธวัชชัย อนามพงษ์ (1)✔ 129,733 48.88
ประชาธิปัตย์ ยุคล ชนะวัฒน์ปัญญา (2) 122,136 46.02
ประชาธิปัตย์ พงศ์เวช เวชชาชีวะ (3)* 105,719 39.83
พลังประชาชน ประวัฒน์ อุตโมท (19)✔ 79,734 30.04
พลังประชาชน บุญเกื้อ บุญหยง (20) 53,103 20.01
ประชาราช ประพันธ์ จึงสกุลวัฒนา (16) 44,588 16.80
พลังประชาชน พลเรือโท ธีรพันธ์ ทิมประเสริฐ (21) 44,425 16.74
ประชาราช วณัฐพงศ์ ชนะสิทธิ์ (17) 42,187 15.90
ประชาราช พราหมณ์ มุกดาสนิท (18) 24,670 9.30
รวมใจไทยชาติพัฒนา ว่าที่ร้อยตรี ธีรพงษ์ คำรอด (4) 15,215 5.73
มัชฌิมาธิปไตย ว่าที่พันตำรวจตรี ฐนภัทร กิตติวงศา (12) 12,730 4.80
มัชฌิมาธิปไตย พลตำรวจตรี พยุง ตรงสวัสดิ์ (10)* 11,928 4.49
เพื่อแผ่นดิน พันตำรวจเอก ณรงค์ จันทรัศมี (9) 4,272 1.61
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย สุรศักดิ์ ศิริชาตรี (15) 3,749 1.41
มัชฌิมาธิปไตย ธีระ บำรุงพนิชถาวร (11) 3,644 1.37
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย มาลี พร้อมพรรค (13) 3,590 1.35
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย วรนุช คงรอด (14) 3,452 1.30
รวมใจไทยชาติพัฒนา สง่า เจริญรัตน์พิทักษ์ (5) 3,412 1.29
รวมใจไทยชาติพัฒนา ธนยศ บุญโยประการ (6) 2,925 1.10
เพื่อแผ่นดิน ชำนาญ ธรรมสุทธศีล (7) 2,454 0.93
เพื่อแผ่นดิน ชยันต์ เนรัญชร (8) 2,231 0.84
ประชามติ ถนอม ทาเอี่ยม (22) 1,679 0.63
ประชามติ ประสิทธิ์ แก้วอินทร์ (23) 789 0.30
ประชามติ ประมุข อัตตโนรักษ์ (24) 596 0.23
ไทยร่ำรวย สมพร ยิ้มทะโชติ (26) 412 0.16
ไทยร่ำรวย สุพรรณ์ บุญเลิศ (27) 411 0.16
ไทยร่ำรวย ขวัญหทัย อู่ชะนะ (25) 282 0.11
บัตรดี 265,402 93.38
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 12,209 4.30
บัตรเสีย 6,588 2.32
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 284,199 76.16
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 373,156 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 December 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]