จังหวัดปัตตานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดปัตตานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

4 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ77.63%
  First party Second party Third party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ เพื่อแผ่นดิน พลังประชาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 4 พรรคใหม่ 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2 เพิ่มขึ้น2 Steady0
คะแนนเสียง 151,176 23,232 45,949
% 55.78 8.57 16.95

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 4 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 โดยแต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 8[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 8 ประกอบไปด้วยจังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดพังงา จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดกระบี่ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดยะลา

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 8
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 156,932 4.08
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 61,688 1.60
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 33,729 0.88
ประชาธิปัตย์ (4) 3,086,262 80.17
พลังเกษตรกร (5) 26,029 0.68
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 26,472 0.69
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 319,984 8.31
ชาติไทย (13) 57,589 1.50
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 17,999 0.47
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 13,108 0.34
ประชากรไทย (18) 6,801 0.18
ประชามติ (19) 6,382 0.17
ไทเป็นไท (20) 14,823 0.39
พลังแผ่นดินไท (21) 6,440 0.17
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24) 5,297 0.14
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 6,587 0.17
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31) 3,480 0.09
บัตรดี 3,849,602 92.19
บัตรเสีย 240,163 5.75
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 86,016 2.06
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,175,781 77.96
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,356,089 100.00

ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 8[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 8 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคประชาธิปัตย์ ชวน หลีกภัย
บัญญัติ บรรทัดฐาน
ไตรรงค์ สุวรรณคีรี
จุรินทร์ ลักษณวิศิษฎ์
ชำนิ ศักดิเศรษฐ์
นิพนธ์ บุญญามณี
พีรยศ ราฮิมมูลา
เฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์
พรรคพลังประชาชน อารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
พรรคเพื่อแผ่นดิน มานพ ปัตนวงศ์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดปัตตานี[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดปัตตานี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 23,232 8.57
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 14,284 5.27
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 6,120 2.26
ประชาธิปัตย์ (4) 151,176 55.78
พลังเกษตรกร (5) 8,989 3.32
รักเมืองไทย (6)
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9) 2,657 0.98
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 45,949 16.95
ชาติไทย (13) 7,629 2.82
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 2,311 0.85
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 2,166 0.80
ประชากรไทย (18) 924 0.34
ประชามติ (19) 1,185 0.44
ไทเป็นไท (20) 1,016 0.38
พลังแผ่นดินไท (21) 986 0.36
มหาชน (22)
คุณธรรม (23)
ราษฎรรักไทย (24) 683 0.25
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 1,179 0.44
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31) 552 0.20
บัตรดี 271,038 89.31
บัตรเสีย 23,839 7.85
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,629 2.84
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 303,506 76.63
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 396,050 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองปัตตานี อำเภอหนองจิก อำเภอโคกโพธิ์ อำเภอแม่ลาน และอำเภอยะหริ่ง (ยกเว้นตำบลจะรัง ตำบลสาบัน ตำบลตอหลัง ตำบลตันหยงจึงงา ตำบลบาโลย ตำบลตันหยงดาลอ ตำบลมะนังยง และตำบลหนองแรต)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดปัตตานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อันวาร์ สาและ (5)* 57,986 41.00
ประชาธิปัตย์ อิสมาแอล เบญอิบรอฮีม (6)* 47,764 33.77
เพื่อแผ่นดิน สมมุติ เบ็ญจลักษณ์ (13) 44,603 31.54
พลังประชาชน เด่น โต๊ะมีนา (7)✔ 32,091 22.69
เพื่อแผ่นดิน มูฮำมัดอารีฟีน จะปะกิยา (14)✔ 25,708 18.18
รวมใจไทยชาติพัฒนา แวอาแซ เซ็งยี (4) 11,495 8.13
พลังประชาชน พันตำรวจโท เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง (8)✔ 10,006 7.08
รวมใจไทยชาติพัฒนา มูฮำมัด หะยีแวฮามะ (3) 9,072 6.41
ความหวังใหม่ เจ๊ะอุมา สาเมาะ (12) 2,423 1.71
ประชากรไทย สาเละ หะยีสามะ (2) 2,376 1.68
ประชามติ ปรีชา จันทร (15) 2,354 1.66
ประชากรไทย มูหามัด หะยีหามะ (1) 2,123 1.50
มัชฌิมาธิปไตย ฉัตรชัย เจะปอ (18) 1,629 1.15
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย ชนินทร์ เศียรอินทร์ (9) 1,327 0.94
มัชฌิมาธิปไตย ครอแม ลิงอกือจิ (17) 1,107 0.78
ประชามติ ชัยวัฒน์ มูนะ (16) 1,103 0.78
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย สุรัตน์ มุกดารัตน์ (10) 904 0.64
ความหวังใหม่ สอมะ สมานพิทักษ์ (11) 788 0.56
ไทยร่ำรวย อับดุลเราะห์มาน บัสตี (19) 606 0.43
ไทเป็นไท นงนวล นุ่มผ่อง (21) 510 0.36
ไทเป็นไท วันชัย ไชยศร (22) 488 0.35
ไทยร่ำรวย มาหามะ สะแลมัน (20) 377 0.27
บัตรดี 141,432 91.37
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 6,985 4.51
บัตรเสีย 6,376 4.12
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 154,793 76.77
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 201,641 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอยะรัง อำเภอมายอ อำเภอทุ่งยางแดง อำเภอกะพ้อ อำเภอไม้แก่น อำเภอสายบุรี อำเภอปะนาเระ และอำเภอยะหริ่ง (เฉพาะตำบลจะรัง ตำบลสาบัน ตำบลตอหลัง ตำบลตันหยงจึงงา ตำบลบาโลย ตำบลตันหยงดาลอ ตำบลมะนังยง และตำบลหนองแรต)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดปัตตานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อแผ่นดิน นิมุคตาร์ วาบา (5) 52,977 38.31
เพื่อแผ่นดิน ยุซรี ซูสารอ (6) 40,165 29.04
ประชาธิปัตย์ ซาตา อาแวกือจิ (4)* 38,922 28.14
พลังประชาชน สมมารถ เจ๊ะนา (2)✔ 34,971 25.29
ประชาธิปัตย์ ว่าที่ร้อยตรี โมฮามัดยาสรี ยูซง (3)* 34,888 25.23
พลังประชาชน มุข สุไลมาน (1)✔ 32,563 23.55
ไทยร่ำรวย มะกอเซ็ง อาลี (12) 1,835 1.33
มัชฌิมาธิปไตย อิบรอฮิม ยานยา (15) 1,594 1.15
รวมใจไทยชาติพัฒนา ระวี เจะนุ (7) 1,190 0.86
ประชามติ กัมปนาท แก้วดำรงชัย (13) 1,159 0.84
รวมใจไทยชาติพัฒนา มะซาปรี หะยีดือเร๊ะ (8) 941 0.68
ประชาราช อภิเชษฐ์ เจะเล็ง (22) 789 0.57
เอกราช อิรฟาน วาจิ (10) 732 0.53
ไทยร่ำรวย อาแว เจ๊ะมะ (11) 609 0.44
มัชฌิมาธิปไตย ยูซุฟ ดอเลาะ (16) 609 0.44
ความหวังใหม่ ตูแวมะรูดิง กาแบ (17) 591 0.43
เอกราช ชาญวิทย์ กาซอ (9) 567 0.41
ประชากรไทย อูกูอัลฮาดีด อาแด (20) 556 0.40
ความหวังใหม่ นิมุ ไฮปิยา (18) 472 0.34
ประชามติ อิสมาแอล เจะฮะ (14) 414 0.30
ประชากรไทย มูหะมะ เกะรา (19) 408 0.30
ประชาราช อิบรอเฮง โตะฮีแล (21) 286 0.21
บัตรดี 138,295 92.99
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,776 3.21
บัตรเสีย 5,653 3.80
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 148,724 76.50
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 194,409 100.00
เพื่อแผ่นดิน ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
เพื่อแผ่นดิน ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 December 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]