ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดนนทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ74.47%
  First party Second party
 
พรรค พลังประชาชน ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 4 2
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น4 เพิ่มขึ้น2
คะแนนเสียง 224,780 244,275
% 43.73 47.53

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนนทบุรี พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รวมทั้งจังหวัดนนทบุรี)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
พลังประชาชน 224,780 43.73% ลดลง17.91%
ประชาธิปัตย์ 244,275 47.53% เพิ่มขึ้น18.87%
อื่น ๆ 44,934 8.74% ลดลง0.96%
ผลรวม 513,989 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
พลังประชาชน
  
43.73%
ประชาธิปัตย์
  
47.53%
อื่น ๆ
  
8.74%

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง พลังประชาชน ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 112,744 44.39% 122,065 48.06% 19,173 7.55% 253,982 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 2 112,036 43.09% 122,210 47.00% 25,761 9.91% 260,007 100.00% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
ผลรวม 224,780 43.73% 244,275 47.53% 44,934 8.74% 513,989 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดนนทบุรี)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
พลังประชาชน 6 4 เพิ่มขึ้น4 66.67%
ประชาธิปัตย์ 6 2 เพิ่มขึ้น2 33.33%
ไทยรักไทย ลดลง6 0.00%
อื่น ๆ 57 0 Steady 0.00%
ผลรวม 69 6 Steady 100.00%
ที่นั่ง
พลังประชาชน
  
66.67%
ประชาธิปัตย์
  
33.33%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 118,216 48.07% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 112,431 45.72% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
3 109,108 40.37% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 2 1 93,654 36.99% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
2 92,786 36.65% ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่ง
3 92,395 36.49% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน

[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 6

[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 6 ประกอบไปด้วยกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ

 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 6
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 84,547 2.26
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 21,757 0.58
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 1,889,988 50.61
พลังเกษตรกร (5) 5,386 0.14
รักเมืองไทย (6) 3,379 0.09
แรงงาน (7) 4,323 0.12
เกษตรกรไทย (8) 3,765 0.10
ประชาราช (9) 19,019 0.51
นิติศาสตร์ไทย (10) 6,730 0.18
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,545,743 41.39
ชาติไทย (13) 64,290 1.72
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 46,584 1.25
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 6,990 0.19
ประชากรไทย (18) 8,299 0.22
ประชามติ (19) 4,639 0.12
ไทเป็นไท (20) 3,558 0.10
พลังแผ่นดินไท (21) 4,389 0.12
มหาชน (22) 2,248 0.06
คุณธรรม (23) 1,126 0.03
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25) 577 0.02
อยู่ดีมีสุข (26) 973 0.03
ไทยร่ำรวย (27) 3,269 0.09
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30) 1,216 0.03
นำวิถี (31) 1,644 0.04
บัตรดี 3,734,443 92.54
บัตรเสีย 130,865 3.24
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 170,341 4.22
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,035,649 70.63
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,713,878 100.00

ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 6

[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 6 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคประชาธิปัตย์ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
เจริญ คันธวงศ์
หม่อมราชวงศ์ สุขุมพันธุ์ บริพัตร
ผุสดี ตามไท
ประกอบ จิรกิติ
พรรคพลังประชาชน สมัคร สุนทรเวช
ร้อยตำรวจเอก เฉลิม อยู่บำรุง
มิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์
จตุพร พรหมพันธุ์
พรรคเพื่อแผ่นดิน หม่อมราชวงศ์กิติวัฒนา ไชยันต์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดนนทบุรี

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดนนทบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 8,063 1.57
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 2,805 0.55
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3)
ประชาธิปัตย์ (4) 244,275 47.53
พลังเกษตรกร (5) 596 0.12
รักเมืองไทย (6) 461 0.09
แรงงาน (7) 290 0.06
เกษตรกรไทย (8) 478 0.09
ประชาราช (9) 6,800 1.32
นิติศาสตร์ไทย (10) 1,849 0.36
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 224,780 43.73
ชาติไทย (13) 11,234 2.19
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 5,293 1.03
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 797 0.16
ประชากรไทย (18) 1,289 0.25
ประชามติ (19) 1,231 0.24
ไทเป็นไท (20) 949 0.18
พลังแผ่นดินไท (21) 776 0.15
มหาชน (22) 554 0.11
คุณธรรม (23) 181 0.04
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25) 129 0.03
อยู่ดีมีสุข (26) 192 0.04
ไทยร่ำรวย (27) 483 0.09
เอกราช (28)
พลังแผ่นดิน (29)
สังคมธิปไตย (30) 193 0.04
นำวิถี (31) 291 0.06
บัตรดี 513,989 91.71
บัตรเสีย 19,348 3.45
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 27,103 4.84
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 560,440 74.17
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 755,613 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนนทบุรี (ยกเว้นตำบลไทรม้า และตำบลบางรักน้อย) อำเภอบางกรวย และอำเภอบางใหญ่

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน อุดมเดช รัตนเสถียร (1)* 118,216 48.07
พลังประชาชน นิทัศน์ ศรีนนท์ (2)* 112,431 45.72
พลังประชาชน มานะศักดิ์ จันทร์ประสงค์ (3) 109,108 44.37
ประชาธิปัตย์ วิภาส สุชาติล้ำพงศ์ (11) 104,204 42.37
ประชาธิปัตย์ พิเศษ รวมทรัพย์ (10) 98,710 40.14
ชาติไทย วัชระ กรรณิการ์ (13) 21,492 8.74
มัชฌิมาธิปไตย ชายน้อย จอนแจ้ง (4) 19,747 8.03
มัชฌิมาธิปไตย รัชนีวรรณ อุ่นแพทย์ (5) 7,482 3.04
ชาติไทย ณัฐวัฒน์ กุลสังคหะธำรง (15) 6,117 2.49
ชาติไทย นาวาเอก ประจักษ์ วังกานนท์ (14) 5,407 2.20
รวมใจไทยชาติพัฒนา อรุณพร ประสงค์ชัยกุล (29) 4,251 1.73
รวมใจไทยชาติพัฒนา อำนาจ บุบผามาศ (28) 4,135 1.68
เพื่อแผ่นดิน มานะวรรธน์ บัวขาว (16) 3,893 1.58
มัชฌิมาธิปไตย สุรทิน ธีระศิลป์ (6) 3,276 1.33
ไทเป็นไท บุญส่ง จันทร์ท้วม (9) 3,034 1.23
เพื่อแผ่นดิน ยศวริศ ชูกล่อม (18) 2,417 0.98
เพื่อแผ่นดิน กงกรณ์ ลีลาภัทรี (17) 2,315 0.94
ไทเป็นไท สุเทพ เพ็ชรเพ็ง (7) 1,525 0.62
รวมใจไทยชาติพัฒนา นภศร บุญเหลือ (30) 1,437 0.58
ประชากรไทย กานต์รวี บุญเกาะ (20) 1,305 0.53
ประชากรไทย รื่นยศ โชคชัยเจริญพร (19) 1,180 0.48
ไทเป็นไท ณรักษ์เอก เรณูชาติ (8) 1,156 0.47
ประชากรไทย ชินธิป นวพงศกร (21) 847 0.34
ประชามติ พัลลภ คุณะวรรณธร (25) 704 0.29
เกษตรกรไทย ภัชฌนันท์ ปาเทอเรีย (31) 625 0.25
ประชามติ ยุทธนันท์ เชียงทอง (26) 454 0.18
ไทยร่ำรวย ลักขณา สำรวมดี (23) 410 0.17
ไทยร่ำรวย เมธี แซ่ว่อง (22) 375 0.15
ไทยร่ำรวย ร้อยตรี มานิตย์ สำรวมดี (24) 371 0.15
ประชามติ พงษ์ศักดิ์ สุวรรณมาโจ (27) 336 0.14
เกษตรกรไทย ร้อยตำรวจเอก พัฒนะชัย วรโนทัย (32) 307 0.12
เกษตรกรไทย เฉลิมพงษ์ ประเสริฐศักดา (33) 222 0.09
บัตรดี 245,920 88.59
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 25,239 9.09
บัตรเสีย 6,445 2.32
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 277,604 72.64
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 382,158 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองนนทบุรี (เฉพาะตำบลไทรม้า และตำบลบางรักน้อย) อำเภอปากเกร็ด อำเภอบางบัวทอง และอำเภอไทรน้อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สมบัติ สิทธิกรวงศ์ (13) 93,654 36.99
ประชาธิปัตย์ ทศพล เพ็งส้ม (14) 92,786 36.65
พลังประชาชน พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย (19)* 92,395 36.49
พลังประชาชน สนิท นวลละออ (20) 87,305 34.48
ประชาธิปัตย์ อภิสิทธิ์ ลี้กุลเจริญ (15) 83,858 33.12
พลังประชาชน สมบูรณ์ ศรีธุระวานิช (21) 82,647 32.64
ประชาราช วิเชียร เจริญนนทสิทธิ์ (12) 36,069 14.25
ประชาราช ฉลอง เรี่ยวแรง (11)* 34,664 13.69
ประชาราช สุชาติ บรรดาศักดิ์ (10)* 32,358 12.78
มัชฌิมาธิปไตย พลตำรวจตรี บุญเลิศ นันทวิสิทธิ์ (4) 13,689 5.41
เพื่อแผ่นดิน วิฑูลรย์ ศิริวิโรจน์ (16) 11,107 4.39
เพื่อแผ่นดิน อำนาจ เพ็ชร์สว่าง (18) 4,552 1.80
เพื่อแผ่นดิน ศิริพรรณ พันธุมะโอภาส (17) 4,173 1.65
ชาติไทย นุจรี ศิริสิงห์ (26) 3,983 1.57
ไทเป็นไท สิบตำรวจโท สมชาย ศรีเย็น (1) 3,570 1.41
ชาติไทย ยงยุทธ แก้วน้อย (27) 3,407 1.35
ชาติไทย พลตรี เศก ทองไถ้ผา (25) 3,303 1.30
มหาชน อนึ่ง สมบุญลาภ (9) 3,262 1.29
ไทเป็นไท สุรสีห์ เย็นเพ็ชร (3) 3,239 1.28
มัชฌิมาธิปไตย สุทธิ อุทานวรพจน์ (5) 3,102 1.23
รวมใจไทยชาติพัฒนา สมพงษ์ สิริศุภอักษร (22) 2,912 1.15
ไทเป็นไท ประดิษฐ ทองคำวิไล (2) 2,753 1.09
มัชฌิมาธิปไตย วิสูตร ศิลปวานิษย์ (6) 2,675 1.06
มหาชน ปรีชา วัฒโน (8) 1,726 0.68
ประชากรไทย บรรเทา สุโง๊ะ (29) 1,604 0.63
มหาชน พรหม มั่นเพียรจิตต์ (7) 1,523 0.60
รวมใจไทยชาติพัฒนา กรธวัช อยู่ยัง (23) 1,103 0.44
รวมใจไทยชาติพัฒนา เลิดคุณ ฉิมคล้าย (24) 864 0.34
ประชามติ ไกรสีห์ แก้ววิมล (35) 807 0.32
ประชากรไทย เกรียงไกร จันทร์หอมหวล (30) 566 0.22
ไทยร่ำรวย สุระพล คงว่าง (31) 454 0.18
ประชากรไทย ณัฐพล กิตติเดชาชัย (28) 371 0.15
ไทยร่ำรวย ชิต แสงทอง (33) 338 0.13
ประชามติ นาวาอากาศเอก วีระศักดิ์ เพชรจันทร (34) 338 0.13
ไทยร่ำรวย สุพัชร คงว่าง (32) 301 0.12
ประชามติ สงกรานต์ อัจฉริยะทรัพย์ (36) 284 0.11
บัตรดี 253,184 89.45
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 25,452 8.99
บัตรเสีย 4,422 1.56
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 283,058 75.79
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 373,455 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]