ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดเชียงใหม่ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550

← พ.ศ. 2549 (โมฆะ) 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2554 →

11 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ83.16%
  First party Second party Third party
 
รจท
พรรค พลังประชาชน เพื่อแผ่นดิน รวมใจไทยชาติพัฒนา
ที่นั่งก่อนหน้า 0 พรรคใหม่ พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 9 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น9 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1
คะแนนเสียง 479,162 38,351 15,212
% 55.50 4.44 1.76

  Fourth party
 
พรรค ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า 0
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0
คะแนนเสียง 267,487
% 30.98

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

สุรยุทธ์ จุลานนท์
อิสระ (คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ)

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

สมัคร สุนทรเวช
พลังประชาชน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2550 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง[1] มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 11 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2549 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 1-3) และ 2 คน (สำหรับเขตเลือกตั้งที่ 4)

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รวมทั้งจังหวัดเชียงใหม่)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
พลังประชาชน 479,162 55.50% ลดลง14.04%
ประชาธิปัตย์ 267,487 30.98% เพิ่มขึ้น13.39%
อื่น ๆ 116,675 13.52% เพิ่มขึ้น0.65%
ผลรวม 863,324 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนเปรียบเทียบจากผลคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อเมื่อปี พ.ศ. 2548
  • คะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนพรรคพลังประชาชนเปรียบเทียบจากผลรวมคะแนนเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชน (เดิม) และพรรคไทยรักไทย
คะแนนเสียง
พลังประชาชน
  
55.50%
ประชาธิปัตย์
  
30.98%
อื่น ๆ
  
13.52%

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง พลังประชาชน ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 163,971 60.90% 87,467 32.49% 17,811 6.61% 269,249 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 2 159,412 59.02% 78,806 29.18% 31,894 11.80% 270,112 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 3 84,706 48.07% 65,788 37.33% 25,703 14.60% 176,197 100.00% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
รวมใจไทยชาติพัฒนา ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
เขต 4 71,073 48.10% 35,426 23.97% 41,267 27.93% 147,766 100.00% เพื่อแผ่นดิน ได้ที่นั่ง
พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
ผลรวม 479,162 55.50% 267,487 30.98% 116,675 13.52% 863,324 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดเชียงใหม่)

[แก้]
พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
ที่นั่ง
จน. +/– %
พลังประชาชน 11 9 เพิ่มขึ้น9 81.82%
รวมใจไทยชาติพัฒนา 11 1 เพิ่มขึ้น1 9.09%
เพื่อแผ่นดิน 11 1 เพิ่มขึ้น1 9.09%
ไทยรักไทย ลดลง10 0.00%
อื่น ๆ 75 0 Steady 0.00%
ผลรวม 108 11 เพิ่มขึ้น1 100.00%
ที่นั่ง
พลังประชาชน
  
81.82%
รวมใจไทยชาติพัฒนา
  
9.09%
เพื่อแผ่นดิน
  
9.09%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]
เขตการเลือกตั้ง ลำดับ คะแนนที่ได้รับ ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง %
เขต 1 1 135,701 51.29% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 124,225 46.95% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
3 116,234 43.93% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 2 1 135,098 49.80% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 124,984 46.04% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
3 118,648 43.73% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
เขต 3 1 75,716 42.34% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง
2 68,792 38.47% รวมใจไทยชาติพัฒนา ได้ที่นั่ง
3 56,506 31.60% พลังประชาชน ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
เขต 4 1 55,538 37.52% เพื่อแผ่นดิน ได้ที่นั่ง
2 51,304 34.66% พลังประชาชน ได้ที่นั่ง

ผลการเลือกตั้งแบบสัดส่วน

[แก้]

คะแนนรวมทั้งหมดในกลุ่มจังหวัดที่ 1

[แก้]

กลุ่มจังหวัดที่ 1 ประกอบไปด้วยจังหวัดเชียงราย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดพะเยา จังหวัดน่าน จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน จังหวัดแพร่ จังหวัดสุโขทัย จังหวัดตาก และจังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 11 จังหวัด

 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 1
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 142,706 3.73
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 62,949 1.65
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 50,108 1.31
ประชาธิปัตย์ (4) 1,358,310 35.55
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6) 58,819 1.54
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9)
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 1,897,077 49.65
ชาติไทย (13) 64,534 1.69
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 78,965 2.07
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 22,028 0.58
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 15,732 0.41
ไทเป็นไท (20) 25,251 0.66
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23) 18,665 0.49
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 8,731 0.23
เอกราช (28) 6,904 0.18
พลังแผ่นดิน (29) 10,221 0.27
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 3,821,000 90.49
บัตรเสีย 272,639 6.46
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 128,966 3.05
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 4,222,602 80.40
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 5,251,918 100.00

ผู้สมัครที่ได้รับการเลือกตั้งในกลุ่มจังหวัดที่ 1

[แก้]

แต่ละกลุ่มจังหวัดมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มละ 10 คน สำหรับกลุ่มจังหวัดที่ 1 แบ่งออกเป็นตามสัดส่วนคะแนนดังนี้

พรรคการเมือง รายชื่อผู้สมัคร
พรรคพลังประชาชน ยงยุทธ ติยะไพรัช
สมชาย วงศ์สวัสดิ์
สมพงษ์ อมรวิวัฒน์
พันตำรวจโท กานต์ เทียนแก้ว
สัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์
พรรคประชาธิปัตย์ เทอดพงษ์ ไชยนันทน์
สามารถ ราชพลสิทธิ์
พลเอก พิชาญเมธ ม่วงมณี
สุรสิทธิ์ ตรีทอง
พรรคเพื่อแผ่นดิน สุรเดช ยะสวัสดิ์

คะแนนรวมเฉพาะจังหวัดเชียงใหม่

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบสัดส่วน จังหวัดเชียงใหม่
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อแผ่นดิน (1) 38,351 4.44
รวมใจไทยชาติพัฒนา (2) 15,212 1.76
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (3) 9,339 1.08
ประชาธิปัตย์ (4) 267,487 30.98
พลังเกษตรกร (5)
รักเมืองไทย (6) 11,381 1.32
แรงงาน (7)
เกษตรกรไทย (8)
ประชาราช (9)
นิติศาสตร์ไทย (10)
พัฒนาประชาธิปไตย (11)
พลังประชาชน (12) 479,162 55.50
ชาติไทย (13) 9,140 1.06
ดำรงไทย (14)
มัชฌิมาธิปไตย (15) 11,324 1.31
ชาติสามัคคี (16)
ความหวังใหม่ (17) 5,650 0.65
ประชากรไทย (18)
ประชามติ (19) 3,201 0.37
ไทเป็นไท (20) 3,462 0.40
พลังแผ่นดินไท (21)
มหาชน (22)
คุณธรรม (23) 3,771 0.44
ราษฎรรักไทย (24)
กฤษไทยมั่นคง (25)
อยู่ดีมีสุข (26)
ไทยร่ำรวย (27) 1,687 0.20
เอกราช (28) 1,685 0.20
พลังแผ่นดิน (29) 2,472 0.29
สังคมธิปไตย (30)
นำวิถี (31)
บัตรดี 863,324 90.33
บัตรเสีย 58,689 6.14
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 33,778 3.53
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 955,791 83.16
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 1,149,288 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองเชียงใหม่ อำเภอสันกำแพง อำเภอสารภี และอำเภอหางดง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน ชินณิชา วงศ์สวัสดิ์ (19) 135,701 51.29
พลังประชาชน สุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล (20)✔ 124,225 46.95
พลังประชาชน กฤษดาภรณ์ เสียมภักดี (21) 116,234 43.93
ประชาธิปัตย์ จักรวาล วรรณวงค์ (12) 66,061 24.97
ประชาธิปัตย์ ศุรพงศ์ พงศ์เดชขจร (11) 59,340 22.43
ประชาธิปัตย์ ปรีชา ผ่องเจริญกุล (10)✔ 56,459 21.34
เพื่อแผ่นดิน ปิยะพงษ์ ธัญญศรีสังข์ (16) 41,892 15.83
มัชฌิมาธิปไตย บุษบา ยอดบางเตย (4) 36,256 13.70
ชาติไทย วิภาวัลย์ วรพุฒิพงค์ (2) 28,770 10.87
รวมใจไทยชาติพัฒนา ชาตรี เชื้อมโนชาญ (14) 11,043 4.17
รวมใจไทยชาติพัฒนา ประพันธ์ บูรณุปกรณ์ (15) 10,751 4.06
มัชฌิมาธิปไตย อุดม สุวิทย์ศักดานนท์ (6) 7,957 3.01
เพื่อแผ่นดิน นิกร ยาอินตา (17) 6,519 2.46
เพื่อแผ่นดิน อำนาจ ไชยซาววงศ์ (18) 6,515 2.46
ชาติไทย ชรินรัตน์ พุทธปวน (1)✔ 6,258 2.37
มัชฌิมาธิปไตย อนุสรณ์ คุณานุสรณ์ (5) 5,255 1.99
รวมใจไทยชาติพัฒนา พีระยุทธ ปิ่นแก้วศักดิ์ (13) 4,203 1.59
ชาติไทย นราชัย บุญจวง (3) 3,497 1.32
เอกราช กริณย์พร ไชยยาพิบูล (9) 2,757 1.04
ประชามติ เมธา โสระธิวา (22) 2,400 0.91
เอกราช ประยูร มณีมอญ (7) 1,315 0.50
ประชากรไทย ว่าที่ร้อยตรี วินัย วินัยสถาพร (29) 1,061 0.40
ประชามติ อิสระพงศ์ พงศ์ไพสิทธิ์ (23) 937 0.35
เอกราช ประสิทธิ์ มณีมอญ (8) 851 0.32
ประชากรไทย นงนุช กมล (30) 664 0.25
ไทยร่ำรวย สำราญ จินา (26) 643 0.24
ไทยร่ำรวย มานะ แอคะรัจน์ (25) 494 0.19
ประชามติ พลโชค เจริญราษฎร์ (24) 481 0.18
ไทเป็นไท พันเอก อุดร อ่อนนิ่ม (31) 478 0.18
ไทยร่ำรวย กฤตภาส สรชาตินิติกร (27) 446 0.17
ไทเป็นไท นที มณีกุล (33) 416 0.16
ประชากรไทย ภูสวัสดิ์ สุขเลี้ยง (28) 351 0.13
ไทเป็นไท ครรชิต วงศาโรจน์ (32) 321 0.12
บัตรดี 264,572 89.11
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 26,687 8.99
บัตรเสีย 5,629 1.90
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 296,888 82.89
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 358,176 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอพร้าว อำเภอแม่ออน อำเภอดอยสะเก็ด อำเภอสันทราย อำเภอแม่ริม อำเภอสะเมิง อำเภอแม่วาง และอำเภอสันป่าตอง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน บุญทรง เตริยาภิรมย์ (4)* 135,098 49.80
พลังประชาชน วิทยา ทรงคำ (5)* 124,984 46.04
พลังประชาชน นพคุณ รัฐผไท (6)* 118,648 43.73
เพื่อแผ่นดิน กิ่งกาญจน์ ณ เชียงใหม่ (1)✔ 89,263 32.90
ประชาธิปัตย์ พลตำรวจตรี ประเสริฐ จันทราพิพัฒน์ (13) 63,405 23.37
เพื่อแผ่นดิน อุดม วรวัลย์ (2)✔ 46,008 16.96
ประชาธิปัตย์ สุทัศน์ สุทัศนรักษ์ (14) 44,572 16.43
ประชาธิปัตย์ อรุณ ธนะหมี (15) 38,340 14.13
เพื่อแผ่นดิน สุจิตร ณ วิชัย (3) 25,236 9.30
รวมใจไทยชาติพัฒนา พิไลพรรณ แสนพรหม (12) 14,796 5.45
มัชฌิมาธิปไตย ขวัญชัย สกุลทอง (16) 9,451 3.48
มัชฌิมาธิปไตย สมประสงค์ อุดมศรี (17) 3,961 1.46
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย ทวี มะโนกิจ (7) 3,572 1.32
รวมใจไทยชาติพัฒนา ประพันธ์ ติ๊บถา (10) 3,190 1.18
มัชฌิมาธิปไตย ธีรวัฒน์ ใจนันตา (18) 2,587 0.95
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย สิทธัญ วงค์ปั๋น (9) 2,444 0.90
รวมใจไทยชาติพัฒนา สุรเชษฐ์ บุญเทพ (11) 2,396 0.88
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย ดวงรัตน์ จินาเหมย (8) 2,242 0.83
ประชามติ บุญเลิศ สินธุมัด (19) 1,702 0.63
ประชามติ สุภารัตน์ กลิ่นถาวร (20) 1,503 0.55
ประชามติ โสภณ อรุณเนตร์ (21) 1,239 0.46
ไทเป็นไท สรรทนากร มีมงคล (29) 1,028 0.38
ประชากรไทย สนามชัย ชื่นฤทัย (25) 912 0.34
เอกราช บุญเลิศ ตันตยานุสรณ์ (31) 861 0.32
ไทยร่ำรวย อรุณ ธิสา (24) 782 0.29
ไทยร่ำรวย กมล เขื่อนจินดาวงศ์ (23) 752 0.28
เอกราช วรกร มงคลรัตนรังสี (33) 749 0.28
ไทยร่ำรวย ทองสุข เสริฐแก้ว (22) 729 0.27
ประชากรไทย จรูญ กันทา (26) 661 0.24
เอกราช สงคราม อุ่มบางตลาด (32) 574 0.21
ไทเป็นไท ราชันย์ กำแพงแก้ว (28) 492 0.18
ประชากรไทย พรหมมินทร์ หมวกเครือ (27) 439 0.16
บัตรดี 271,302 90.53
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 21,440 7.15
บัตรเสีย 6,965 2.32
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 299,707 84.80
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 353,441 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

เขตเลือกตั้งที่ 3

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบไปด้วยอำเภอแม่อาย อำเภอฝาง อำเภอไชยปราการ อำเภอเชียงดาว อำเภอเวียงแหง และอำเภอแม่แตง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังประชาชน จุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ (16)* 75,716 42.34
รวมใจไทยชาติพัฒนา ไกร ดาบธรรม (10) 68,792 38.47
พลังประชาชน ประสิทธิ์ วุฒินันชัย (18) 56,506 31.60
พลังประชาชน โสภณ โกชุม (17) 55,300 30.92
เพื่อแผ่นดิน เรืองเดช ณ ลำพูน (4) 38,737 21.66
ประชาธิปัตย์ ยงยุทธ สุวภาพ (13)✔ 33,898 18.95
มัชฌิมาธิปไตย สันติ ตันสุหัช (7)* 27,779 15.53
ประชาธิปัตย์ วิทยา ตรียกุล (14) 24,871 13.91
ประชาธิปัตย์ บัณฑูรย์ เตียวกุล (15) 21,254 11.88
รวมใจไทยชาติพัฒนา สุนิษา บัวเจ็ดธรรม (12) 10,706 5.99
รวมใจไทยชาติพัฒนา มานะ แพรสกุล (11)✔ 9,716 5.43
เอกราช วุฒิวัฒน์ นิติกุลวรรักษ์ (1) 7,822 4.37
เพื่อแผ่นดิน ชยดล พรหมมะจักร (6) 6,009 3.36
มัชฌิมาธิปไตย มนัส โนรี (8) 4,882 2.73
เพื่อแผ่นดิน ทวี ชัยยา (5) 4,329 2.42
เอกราช จักรธร วิลาสประภัสสร (3) 4,185 2.34
มัชฌิมาธิปไตย วิทวัต ตันสุหัช (9) 3,767 2.11
เอกราช เต็ง ทรงกิตติกุล (2) 3,684 2.06
ไทยร่ำรวย เกื้อกูล อินตุ้ย (19) 2,315 1.29
ไทยร่ำรวย คมกฤศ ณ ลำปาง (20) 1,207 0.67
ไทเป็นไท ธนวัฒน์ เงาส่อง (24) 1,116 0.62
ไทยร่ำรวย สนิท ตาธง (21) 1,035 0.58
ไทเป็นไท อโนทัย ทรงกิตติกุล (22) 890 0.50
ไทเป็นไท ประจวบ รับทองสุขสกุล (23) 884 0.49
บัตรดี 178,843 92.02
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,493 3.85
บัตรเสีย 8,037 4.13
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 194,373 79.68
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 243,935 100.00
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
รวมใจไทยชาติพัฒนา ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

เขตเลือกตั้งที่ 4

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบไปด้วยอำเภอแม่แจ่ม อำเภอจอมทอง อำเภอดอยหล่อ อำเภอฮอด อำเภอดอยเต่า และอำเภออมก๋อย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อแผ่นดิน นรพล ตันติมนตรี (7) 55,538 37.52
พลังประชาชน สุรพล เกียรติไชยากร (5)* 51,304 34.66
มัชฌิมาธิปไตย พลตรี อินทรัตน์ ยอดบางเตย (1) 50,553 34.15
พลังประชาชน ถาวร เกียรติไชยากร (6) 40,874 27.61
ประชาธิปัตย์ สมศักดิ์ โมรีชาติ (3) 21,036 14.21
มัชฌิมาธิปไตย อำนวย ยศสุข (2)✔ 16,433 11.10
ประชาธิปัตย์ ปฐม หล้าพระบาง (4) 13,180 8.90
ประชามติ วรเชษฐ์ บัวสุข (12) 4,986 3.37
รวมใจไทยชาติพัฒนา อนันต์ แย้มไพบูลย์ (15) 3,965 2.68
เพื่อแผ่นดิน ณัฐพล โล่ห์บุญทรัพย์ (8) 2,840 1.92
รวมใจไทยชาติพัฒนา สังวรณ์ จินใจ (16) 1,577 1.07
ไทเป็นไท นงนุช คำปวน (17) 1,103 0.75
ความหวังใหม่ สปัน ปฏิกา (9) 1,055 0.71
ไทยร่ำรวย สุวิทย์ เอี่ยมรัศมี (14) 812 0.55
ไทยร่ำรวย สรณ์สิริ เพิ่มวงศ์วาน (13) 769 0.52
ประชามติ ว่าที่ร้อยตรี เกษมกฤช จงกิจดีดี (11) 752 0.51
ความหวังใหม่ คณิต คณานุศักดิ์ (10) 744 0.50
ไทเป็นไท พนอม นาสมจิตร (18) 713 0.48
บัตรดี 148,015 89.73
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,534 3.35
บัตรเสีย 11,418 6.92
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 164,967 85.15
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 193,736 100.00
เพื่อแผ่นดิน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย
พลังประชาชน ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2550". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-06. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]