ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยสยาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 113: บรรทัด 113:
|languages= [[ภาษาไทย]]
|languages= [[ภาษาไทย]]
}}
}}
'''ไทยสยาม''' ({{lang-en|Thai Siam}})<ref>Cheesman, P. (1988). ''Lao textiles: ancient symbols-living art. ''Bangkok, Thailand: White Lotus Co., Thailand.</ref><ref>Fox, M. (1997). ''A history of Laos.'' Cambridge, U.K.: Cambridge University Press.</ref><ref>Fox, M. (2008). ''Historical Dictionary of Laos (3rd ed.). ''Lanham: Scarecrow Press.</ref><ref>Goodden, C. (1999). ''Around Lan-na: a guide to Thailand's northern border region from Chiang Mai to Nan.'' Halesworth, Suffolk: Jungle Books.</ref><ref>Wijeyewardene, G. (1990). ''Ethnic groups across national boundaries in mainland Southeast Asia. ''Singapore: Institute of Southeast Asian Studies.</ref> โดยทั่วไปหมายถึง คือกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งพูด[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]] หรือมี '''เชื้อชาติไทยสยามผสมอยู่''' ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน[[ประเทศไทย]] และอาศัยกระจายอยู่ในประเทศอื่นทั่วโลก โดยคนไทยส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาพุทธ]] รองลงมาคือ [[ศาสนาอิสลาม]] และ [[ศาสนาคริสต์]] ในความหมายทางชาติพันธุ์ ใช้เฉพาะเจาะจงถึงคนไทยภาคกลาง หรือเดิมเรียกว่า ชาวสยาม แต่ในความหมายมุมกว้าง สามารถหมายความครอบคลุมถึง กลุ่มชาติพันธุ์ไทย อื่นๆ ทั้งนอกและในราชอาณาจักร เช่น ไทยใหญ่ ไทยลื้อ [[ไทยโคราช]] [[ไทยอีสาน]] [[ไทยโยเดีย]] หรือ [[ไทยเกาะกง]] เช่นกัน
'''ไทยสยาม''' ({{lang-en|Thai Siam}})<ref>Cheesman, P. (1988). ''Lao textiles: ancient symbols-living art. ''Bangkok, Thailand: White Lotus Co., Thailand.</ref><ref>Fox, M. (1997). ''A history of Laos.'' Cambridge, U.K.: Cambridge University Press.</ref><ref>Fox, M. (2008). ''Historical Dictionary of Laos (3rd ed.). ''Lanham: Scarecrow Press.</ref><ref>Goodden, C. (1999). ''Around Lan-na: a guide to Thailand's northern border region from Chiang Mai to Nan.'' Halesworth, Suffolk: Jungle Books.</ref><ref>Wijeyewardene, G. (1990). ''Ethnic groups across national boundaries in mainland Southeast Asia. ''Singapore: Institute of Southeast Asian Studies.</ref> โดยทั่วไปหมายถึง คือกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งพูด[[ภาษาไทย|ภาษาไทยกลาง]] หรือมี '''เชื้อชาติไทยสยามผสมอยู่''' ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน[[ประเทศไทย]] และอาศัยกระจายอยู่ในประเทศอื่นทั่วโลก โดยคนไทยส่วนใหญ่นับถือ[[ศาสนาพุทธ]] รองลงมาคือ [[ศาสนาอิสลาม]] และ [[ศาสนาคริสต์]] ในความหมายทางชาติพันธุ์ ใช้เฉพาะเจาะจงถึงคนไทยภาคกลาง หรือเดิมเรียกว่า ชาวสยาม แต่ในความหมายมุมกว้าง สามารถหมายความครอบคลุมถึง กลุ่มชาติพันธุ์ไทย อื่นๆ ทั้งนอกและในราชอาณาจักร เช่น [[ไทยใหญ่]] [[ไทลื้อ|ไทยลื้อ]] [[ไทยโคราช]] [[ไทยอีสาน]] [[ไทยโยเดีย]] หรือ [[ไทยเกาะกง]] เช่นกัน


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:39, 8 พฤษภาคม 2560

ไทยสยาม
Thai
Khon
คนไทยในพิธีพระราชทานเพลิงศพ
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
 ไทย ประมาณ 51–57.8 ล้านคน[1][2][3]
 สหรัฐ247,205[4] (2015)
 เกาหลีใต้92,417[5] (2016)
 ออสเตรเลีย67,070[6] (2015)
 ไต้หวัน64,360[7] (2016)
 เยอรมนี58,784[8] (2015)
 สหราชอาณาจักร54,000[9] (2012)
 มาเลเซีย51,000[9] (2012)
 สิงคโปร์47,700[9] (2012)
 ญี่ปุ่น45,379[10] (2015)
 สวีเดน38,792[11] (2015)
 ฝรั่งเศส30,000[9] (2012)
 ฮ่องกง28,336[9] (2012)
 อิสราเอล28,000[9] (2011)
 ลิเบีย24,600[9] (2011)
 เนเธอร์แลนด์19,513[12] (2016)
 นอร์เวย์17,518[13] (2016)
 ลาว15,497[14] (2015)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์14,232[9] (2012)
 ซาอุดีอาระเบีย11,240[9] (2012)
 แคนาดา10,015[15] (2006)
 สวิตเซอร์แลนด์9,058[16] (2015)
 เดนมาร์ก9,909[17] (2016)
 จีน8,618[9] (2012)
 นิวซีแลนด์8,500[9] (2012)
 ฟินแลนด์7,229[18] (2015)
 อิตาลี5,534[9] (2012)
 บรูไน5,466[9] (2012)
 เบลเยียม3,811[9] (2012)
 ออสเตรีย3,773[9] (2012)
ส่วนที่เหลือทั่วโลกประมาณ 47,000[19]
ภาษา
ภาษาไทย
ศาสนา
พระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง

ไทยสยาม (อังกฤษ: Thai Siam)[20][21][22][23][24] โดยทั่วไปหมายถึง คือกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งพูดภาษาไทยกลาง หรือมี เชื้อชาติไทยสยามผสมอยู่ ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในประเทศไทย และอาศัยกระจายอยู่ในประเทศอื่นทั่วโลก โดยคนไทยส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ รองลงมาคือ ศาสนาอิสลาม และ ศาสนาคริสต์ ในความหมายทางชาติพันธุ์ ใช้เฉพาะเจาะจงถึงคนไทยภาคกลาง หรือเดิมเรียกว่า ชาวสยาม แต่ในความหมายมุมกว้าง สามารถหมายความครอบคลุมถึง กลุ่มชาติพันธุ์ไทย อื่นๆ ทั้งนอกและในราชอาณาจักร เช่น ไทยใหญ่ ไทยลื้อ ไทยโคราช ไทยอีสาน ไทยโยเดีย หรือ ไทยเกาะกง เช่นกัน

ประวัติ

ดูรายละเอียดทฤษฎีที่ กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได ในอดีต เชื่อกันว่า ชนชาติไทย เป็นชาติพันธุ์บริสุทธิ์ และเป็นต้นกำเนิดของทุกชาติพันธุ์ ในกลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได ทฤษฎีดังกล่าวถูกยกขึ้นมาในสมัยชาตินิยม ของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งมีการเสนอว่า ชาวไทย (รวมใน ไท-กะได ทั้งหมด) อพยพมาจากเทือกเขาอัลไต มาตอนกลางของประเทศจีน สร้างอาณาจักรน่านเจ้าในบริเวณจีนตอนใต้ แล้วจึงอพยพลงมาทางตอนใต้สร้างเป็นอาณาจักรล้านนา และอาณาจักรสุโขทัย และ อาณาจักรอยุธยา ตามลำดับ ส่วนอีกทฤษฎีเชื่อว่าอพยพมาจากทางใต้ จากชวา สุมาตรา และคาบสมุทรมลายู แต่นักมานุษยวิทยาในปัจจุบันเชื่อกันว่า กลุ่มชาติพันธุ์ไท-กะได อยู่ที่บริเวณจีนตอนใต้ เรื่อยมาจนถึงรัฐฉาน (ประเทศพม่า) ประเทศไทยตอนบน และแอ่งที่ราบลุ่มภาคอีสาน เรื่อยไปยังประเทศลาว หลังจากนั้นจึงมีการอพยพเพิ่ม เช่นกลุ่มชาวอาหม ที่อพยพข้ามช่องปาดไก่ ไปยังอัสสัม และ ชาวไทแดงที่อพยพไปตั้งถิ่นฐานบริเวณอาณาจักรสิบสองจุไท

ก่อนหน้านี้ที่ประเทศไทยยังเป็นสยามอยู่ได้มีผู้คนจากหลากหลายเชื้อชาติมาอาศัยอยู่รวมกันอยู่เป็นเวลานานแล้ว อาทิ ชาวเปอร์เซียในแถบอยุธยา ชาวมักกะซาร์ ในเขตมักกะสัน ชาวจีน ฝรั่ง ลาว มอญ ฯลฯ จึงทำให้ปัจจุบันแทบจะไม่มีไทยแท้หลงเหลืออยู่ เนื่องจากการผสมกลมกลืนกันจากผู้คนต่างเชื้อชาติคนส่วนใหญ่จึงเป็นไทยสยามมากกว่าที่จะเป็นไทยแท้

กรณีนี้ สุจิตต์ วงษ์เทศ นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ ให้ความเห็นว่า บุคคลที่เป็นไทยสยามในทุกวันนี้ ไม่ใช่สายเลือดบริสุทธิ์ หากแต่เป็นเผ่าพันธุ์ที่มีการผสมกับกลุ่มชนพื้นเมืองและต่างถิ่น โดย สุจิตต์ ให้ความเห็นว่า หากจะศึกษาเรื่องประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ ต้องเลาะเส้นเขตแดนออกจากแผนที่เสียก่อน เพราะในอดีต ผู้คนมีการติดต่อสัญจรถึงกันโดยตลอด และเกิดพัฒนาการทางสังคมสืบเชื้อสายมาจนถึงปัจจุบัน ดังนั้น ไทยสยามจึงไม่ใช่ชาติพันธุ์ที่บริสุทธิ์ ที่อพยพลงมาจากเทือกเขาอัลไต หรือยูนนาน หรือหมู่เกาะทะเลใต้ อย่างที่นักวิชาการสายชาตินิยม หรือตำราเรียนสังคมศึกษา กล่าวไว้

คนเชื้อชาติ-สัญชาติไทยในต่างแดน

ประชากรชาวไทยสยามทั่วโลก

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. McCargo, D.; Hongladarom, K. (2004). "Contesting Isan‐ness: Discourses of politics and identity in Northeast Thailand" (PDF). Asian Ethnicity. 5 (2): 219. doi:10.1080/1463136042000221898.
  2. David Levinson (1998), Ethnic Groups Worldwide: A Ready Reference Handbook, Oryx Pres, p. 287, ISBN 1573560197
  3. Paul, Lewis M.; Simons, Gary F.; Fennig, Charles D. (2013), Ethnologue: Languages of the World, SIL International, ISBN 978-1-55671-216-6
  4. "U.S. Immigrant Population by Country of Birth, 2000-Present" (XLSX). migrationpolicy.org. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "Korea Immigration Service". immigration.go.kr. 3 กรกฎาคม 2559.
  6. "Estimated Resident Population by Country of Birth, 30 June 1992 to 2015". stat.data.abs.gov.au. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  7. "105.12Foreign Residents by Nationality (01/25/2017)". immigration.gov.tw. 31 ธันวาคม 2559.
  8. "Ausländische Bevölkerung 2008 bis 2015" (PDF). destatis.de. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  9. 9.00 9.01 9.02 9.03 9.04 9.05 9.06 9.07 9.08 9.09 9.10 9.11 9.12 9.13 9.14 "รายงานจำนวนประมาณการคนไทยในต่างประเทศ 2012" (PDF). consular.go.th. 5 มีนาคม 2555.
  10. "MOFA 2016 タイ王国". mofa.go.jp. 26 สิงหาคม 2559.
  11. "Utrikes födda i riket efter födelseland, ålder och kön. År 2000 - 2015". Statistics Sweden. 22 กุมภาพันธ์ 2559.
  12. "Bevolking; generatie, geslacht, leeftijd en herkomstgroepering". statline.cbs.nl. 15 กันยายน 2559.
  13. "Befolkningen etter innvandringskategori og landbakgrunn". ssb.no. สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |access-date= (help)
  14. "Table P4.8 Overseas Migrant Population 10 Years Old and Over by Country of Origin and Province of Current Residence" (PDF). lsb.gov.la. สืบค้นเมื่อ 14 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  15. "Ethnic origins, 2006 counts, for Canada, provinces and territories". statcan.ca. 6 ตุลาคม 2553.
  16. "Ständige ausländische Wohnbevölkerung nach Staatsangehörigkeit". bfs.admin.ch. 26 สิงหาคม 2559.
  17. "FOLK2 Folketal 1. januar efter køn, alder, herkomst, oprindelsesland og statsborgerskab (1980-2017)". statistikbanken.dk. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  18. "Utländska medborgare i Finland". stat.fi. 4 เมษายน 2559.
  19. "Trends in International Migrant Stock: Migrants by Destination and Origin" (XLSX). United Nations. 1 December 2015. สืบค้นเมื่อ 14 กรกฎาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  20. Cheesman, P. (1988). Lao textiles: ancient symbols-living art. Bangkok, Thailand: White Lotus Co., Thailand.
  21. Fox, M. (1997). A history of Laos. Cambridge, U.K.: Cambridge University Press.
  22. Fox, M. (2008). Historical Dictionary of Laos (3rd ed.). Lanham: Scarecrow Press.
  23. Goodden, C. (1999). Around Lan-na: a guide to Thailand's northern border region from Chiang Mai to Nan. Halesworth, Suffolk: Jungle Books.
  24. Wijeyewardene, G. (1990). Ethnic groups across national boundaries in mainland Southeast Asia. Singapore: Institute of Southeast Asian Studies.
  • ยรรยง จิระนคร (เจีย แยนจอง). คนไทไม่ใช่คนไทย แต่เป็นเครือญาติชาติภาษา. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มติน, 2548. ISBN 974-323-484-5