ชาวไทยในติมอร์-เลสเต
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ประชากรทั้งหมด | |
---|---|
ประมาณ 40 คน (ปี พ.ศ. 2560) | |
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ | |
ดิลี ![]() | |
ภาษา | |
ภาษาไทย, ภาษาอังกฤษ | |
ศาสนา | |
ศาสนาพุทธ |
ชาวไทยในประเทศติมอร์-เลสเต คือกลุ่มชาวไทยที่พำนักอยู่ในประเทศติมอร์-เลสเต โดยมีชุมชนชาวไทยในกรุงดิลี และเข้ามาประกอบธุรกิจขนาดย่อม[1] อาทิ ร้านอาหารไทย[2] สปานวดแผนไทย[3] และบางส่วนทำหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจไทยเข้ามาปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพร่วมภายใต้องค์การสหประชาชาติจำนวนหนึ่งด้วย
ตั้งแต่ พ.ศ. 2550 มีชาวไทยที่อาศัยอยู่ในดิลีเมืองหลวงของประเทศติมอร์-เลสเต มีประมาณ 60 คน (ไม่รวมเจ้าหน้าที่ปฏิบัติภารกิจสันติภาพร่วมกับสหประชาชาติ อีกจำนวน 35 คน)[4] ใน พ.ศ. 2551 มีคนไทยที่พำนักอยู่ในกรุงดิลี 49 คน และมีเจ้าหน้าที่ตำรวจไทยเข้ามาปฏิบัติภารกิจรักษาสันติภาพร่วมภายใต้องค์การสหประชาชาติอีกจำนวน 13 นาย[5] ใน พ.ศ. 2560 มีชาวไทยอาศัยอยู่ในดิลีราว 40 คน
ประชากรไทยในติมอร์-เลสเต | ||||
---|---|---|---|---|
ปี | จำนวน | หมายเหตุ | ||
2550 | 60 | |||
2551 | 49 | |||
2558 | 35[6] | |||
2559 | 35 | |||
2560 | 40[7] |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "The Coming of East Timor". Elite (ภาษาอังกฤษ). ธันวาคม 2558. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2561. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help) - ↑ http://archive.is/20120715005839/timor-leste-dili.blogspot.com/2008/09/blog-post_29.html
- ↑ http://timor-leste-dili.blogspot.com/2008/09/blog-post_268.html
- ↑ http://timor-leste-dili.blogspot.com/2007/09/blog-post_26.html
- ↑ http://timor-leste-dili.blogspot.com/2008/10/17-2551.html
- ↑ "เอกอัครราชทูต ณ กรุงดิลี เชิญชุมชนไทยในติมอร์-เลสเตพบปะสังสรรค์และร่วมประชุมหารือกัน". สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงดิลี. 23 มิถุนายน 2558. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2561. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help) - ↑ "แผนอพยพคนไทยกรณีฉุกเฉิน". สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงดิลี. 20 กรกฎาคม 2560. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2561. Check date values in:
|accessdate=, |date=
(help)