ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขผิดปกติในบทความคัดสรร/คุณภาพ การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 75: บรรทัด 75:
{{ความหมายอื่น|||ญี่ปุ่น (แก้ความกำกวม)|ญี่ปุ่น}}
{{ความหมายอื่น|||ญี่ปุ่น (แก้ความกำกวม)|ญี่ปุ่น}}


ร์และขีปนาวุธของประเทศเกาหลีเหนือ ภัยคุกคามข้ามชาติซึ่งมีเหตุจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีรวมทั้งการก่อการร้ายระหว่างประเทศและการโจมตีไซเบอร์ก็เพิ่มความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ<ref name="Japan's Security Policy">{{cite news |title= Japan's Security Policy |publisher= Ministry of Foreign Affairs of Japan |url=http://www.mofa.go.jp/policy/security/}}</ref> ประเทศญี่ปุ่นรวมทั้งกองกำลังป้องกันตนเองได้เข้ามีส่วนร่วมอย่างถึงที่สุดในความพยายามธำรงและฟื้นฟูสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
'''ประเทศญี่ปุ่น''' ({{ญี่ปุ่น|日本|Nihon/Nippon|นิฮง/นิปปง}}, ชื่ออย่างเป็นทางการ {{ญี่ปุ่น|日本国|Nihon-koku/Nippon-koku|นิฮงโกกุ/นิปปงโกกุ}}) เป็น[[รัฐเอกราช]]หมู่เกาะใน[[เอเชียตะวันออก]] ตั้งอยู่ใน[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]นอกฝั่งตะวันออกของแผ่นดินใหญ่เอเชีย ทางตะวันตกติดกับ[[คาบสมุทรเกาหลี]]และ[[ประเทศจีน]] โดยมี[[ทะเลญี่ปุ่น]]กั้น ส่วนทางทิศเหนือติดกับ[[ประเทศรัสเซีย]] มี[[ทะเลโอค็อตสค์]]เป็นเส้นแบ่งแดน

ตัวอักษร[[คันจิ]]ของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า "ถิ่นกำเนิดของ[[ดวงอาทิตย์]]" จึงทำให้มักได้ชื่อว่า "ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย" ประเทศญี่ปุ่นเป็นกลุ่มเกาะ[[กรวยภูเขาไฟสลับชั้น]]ซึ่งมีเกาะประมาณ [[รายชื่อเกาะของประเทศญี่ปุ่น|6,852 เกาะ]] เกาะใหญ่สุดคือ เกาะ[[ฮนชู]] [[ฮกไกโด]] [[คีวชู]] และ[[เกาะชิโกกุ|ชิโกกุ]] ซึ่งคิดเป็นพื้นที่แผ่นดินประมาณร้อยละ 97 ของประเทศญี่ปุ่น และมักเรียกว่าเป็นหมู่เกาะเหย้า (home islands) ประเทศแบ่งเป็น 47 [[จังหวัดของประเทศญี่ปุ่น|จังหวัด]]ใน 8 [[ภูมิภาคของญี่ปุ่น|ภูมิภาค]] โดยมีฮกไกโดเป็นจังหวัดเหนือสุด และ[[จังหวัดโอกินาวะ|โอกินาวะ]]เป็นจังหวัดใต้สุด ประเทศญี่ปุ่นมีประชากร 127 ล้านคน เป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็น[[รายชื่อประเทศเรียงตามจำนวนประชากร|อันดับ 10 ของโลก]] [[ชาวญี่ปุ่น]]เป็นร้อยละ 98.5 ของประชากรทั้งหมดของประเทศญี่ปุ่น ประมาณ 9.1 ล้านคนอาศัยอยู่ในกรุง[[โตเกียว]]<ref>{{cite web|title=「東京都の人口(推計)」の概要(平成26年2月1日現在) (2014)|url=http://www.metro.tokyo.jp/INET/CHOUSA/2014/02/60o2r100.htm|work=Tokyo Metropolitan Government (JPN)|accessdate=March 20, 2014}}</ref> เมืองหลวงของประเทศ

การวิจัยทางโบราณคดีระบุว่ามีมนุษย์อาศัยในญี่ปุ่นปัจจุบันครั้งแรกตั้งแต่[[ยุคหินเก่า]] การกล่าวถึงญี่ปุ่นเป็นลายลักษณ์อักษรครั้งแรกปรากฏในบันทึกของราชสำนักจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 1 ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากจีนในหลายด้าน เช่นภาษา การปกครองและวัฒนธรรม แต่ขณะเดียวกันก็มีการปรับเปลี่ยนให้เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จึงทำให้ญี่ปุ่นมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นมาจนปัจจุบัน อีกหลายศตวรรษต่อมา ญี่ปุ่นก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนำมาพัฒนาประเทศจนกลายเป็นประเทศที่ก้าวหน้าและมีอิทธิพลมากที่สุดใน[[เอเชียตะวันออก]] หลังจากแพ้[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ญี่ปุ่นก็มีการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองโดยการใช้รัฐธรรมนูญใหม่ใน พ.ศ. 2490

ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 ถึงปี 2411 ประเทศญี่ปุ่นถูกปกครองด้วยระบบทหาร[[ระบบเจ้าขุนมูลนาย|เจ้าขุนมูลนาย]][[โชกุน]]ซึ่งปกครองในพระปรมาภิไธยจักรพรรดิ ประเทศญี่ปุ่นเข้าสู่[[ซะโกะกุ|ระยะแยกอยู่โดดเดี่ยว]]อันยาวนานในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งยุติในปี 2396 เมื่อกองเรือสหรัฐ[[บะกุมะสึ|บังคับให้ประเทศญี่ปุ่นเปิดต่อโลกตะวันตก]] หลังความขัดแย้งและการก่อการกำเริบภายในเกือบสองทศวรรษ ราชสำนักจักรวรรดิได้อำนาจทางการเมืองคืนในปี 2411 ผ่านการช่วยเหลือของหลายตระกูลจาก[[โชชู]]และซัตสึมะ และมีการสถาปนาจักรวรรดิญี่ปุ่น ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ชัยใน[[สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง]] [[สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น]]และ[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ทำให้ประเทศญี่ปุ่นขยายจักรวรรดิระหว่างสมัยแสนยนิยมเพิ่มขึ้น [[สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง]]ปี 2480 ขยายเป็นบางส่วนของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ในปี 2484 ซึ่งยุติในปี 2488 นับแต่การลงมติเห็นชอบรัฐธรรมนูญฉบับบทวนวันที่ 3 พฤษภาคม 2490 ระหว่างการยึดครองของผู้บังคับบัญชาสูงสุดสำหรับประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร ประเทศญี่ปุ่นธำรงระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาและราชาธิปไตยภายใต้รัฐรรมนูญโดยมีจักรพรรดิเป็นประมุขแห่งรัฐและสภานิติบัญญํติจากการเลือกตั้ง เรียก [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ญี่ปุ่น)|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]

ประเทศญี่ปุ่นเป็นสมาชิก[[สหประชาชาติ]] [[OECD]] [[จี7]] [[จี8]] และ[[จี20]] และถือเป็น[[มหาอำนาจ]]<ref>{{cite web|url=http://www.the-american-interest.com/2015/01/04/the-seven-great-powers/|title=The Seven Great Powers|publisher=American-Interest|accessdate=July 1, 2015}}</ref><ref name="Balance of Power">{{cite book|author1=T. V. Paul|author2=James J. Wirtz|author3=Michel Fortmann|title=Balance of Power|publisher=State University of New York Press, 2005|year=2005|location=United States of America|pages=59, 282|isbn=0-7914-6401-6|url=https://www.google.com/books?id=9jy28vBqscQC&pg=PA59&dq="Great+power"}} ''Accordingly, the great powers after the Cold War are Britain, China, France, Germany, Japan, Russia, and the United States'' p.59</ref><ref name="Joshua Baron">{{cite book|last1=Baron|first1=Joshua|title=Great Power Peace and American Primacy: The Origins and Future of a New International Order|date=January 22, 2014|publisher=Palgrave Macmillan|location=United States|isbn=1-137-29948-7}}</ref> มีเศรษฐกิจใหญ่เป็น[[รายการประเทศเรียงตามผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (ราคาตลาด)|อันดับ 3 ของโลกตามจีดีพีราคาตลาด]] และอันดับ 4 ของโลกตามความเท่าเทียมของอำนาจซื้อ และยังเป็นผู้ส่งออกและนำเข้ารายใหญ่สุดอันดับ 4 ของโลกด้วย ประเทศญี่ปุ่นมีกำลังแรงงานทักษะสูงและถือเป็นประเทศที่มีการศึกษาสูงสุดประเทศหนึ่งของโลก โดยมีร้อยละของพลเมืองมีวุฒิการศึกษาขั้นตติยภูมิ (tertiary education) สูงสุดประเทศหนึ่งของโลก<ref name="OECD">{{cite web|title=OECD.Stat Education and Training > Education at a Glance > Educational attainment and labor-force status > Educational attainment of 25–64 year-olds|publisher=OECD|url=http://stats.oecd.org}}</ref> แม้ประเทศญี่ปุ่น[[มาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น|สละสิทธิประกาศสงคราม]] แต่ยังมี[[กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น|กองทหารสมัยใหม่]]และมีงบกองทัพมากเป็นอันดับ 8 ของโลก<ref>{{cite web|url=http://www.sipri.org/research/armaments/milex/resultoutput/15majorspenders|title=SIPRI Yearbook 2012–15 countries with the highest military expenditure in 2011|publisher=Sipri.org|accessdate=April 27, 2013|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20100328104327/http://www.sipri.org/research/armaments/milex/resultoutput/15majorspenders|archivedate=March 28, 2010|df=mdy-all}}</ref> ซึ่งใช้สำหรับบทบาทป้องกันตนเองและรักษาสันติภาพ ประเทศญี่ปุ่นเป็น[[ประเทศพัฒนาแล้ว]]ที่มีมาตรฐานการครองชีพและ[[ดัชนีการพัฒนามนุษย์]]สูง ประชากรมีความคาดหมายคงชีพสูงสุดและมีอัตราการเสียชีวิตทารกต่ำสุดอันดับ 3 ในโลก ประเทศญี่ปุ่นขึ้นชื่อเรื่อง[[ภาพยนตร์ญี่ปุ่น|ภาพยนตร์]]ที่เก่าแก่และกว้างขวาง [[อาหารญี่ปุ่น|อาหารหลากชนิด]]และการเข้ามีส่วนร่วมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปัจจุบัน<ref>{{cite web|url=http://apps.who.int/gho/data/node.main.688?lang=en|title=WHO Life expectancy |publisher=World Health Organization|date=June 1, 2013|accessdate=June 1, 2013}}</ref><ref name="Table A.17">{{cite web|title=Table A.17|url=https://www.un.org/esa/population/publications/wpp2006/WPP2006_Highlights_rev.pdf|work=United Nations World Population Prospects'', 2006 revision''|publisher=UN|accessdate=January 15, 2011}}</ref>

== ชื่อประเทศ ==
ในภาษาญี่ปุ่น ชื่อประเทศญี่ปุ่นเรียกว่า นิปปง (にっぽん) หรือ นิฮง (にほん) ซึ่งใช้[[คันจิ]]ตัวเดียวกันคือ '''日本''' คำว่า''นิปปง'' มักใช้ในกรณีที่เป็นทางการ ส่วนคำว่า ''นิฮง'' จะเป็นศัพท์ที่ใช้โดยทั่วไป

สันนิษฐานว่าประเทศญี่ปุ่นเริ่มต้นใช้ชื่อประเทศว่า "นิฮง/นิปปง (日本) " ตั้งแต่ช่วงปลาย[[พุทธศตวรรษที่ 12]] จนถึงกลาง[[พุทธศตวรรษที่ 13]]<ref>เช่น 熊谷公男 『大王から天皇へ 日本の歴史03』(講談社、2001) และ 吉田孝 『日本誕生』(岩波新書、1997)</ref><ref>เช่น 神野志隆光『「日本」とは何か』(講談社現代新書、2005)</ref> ตัวอักษร[[คันจิ]]ของชื่อญี่ปุ่นแปลว่า''ถิ่นกำเนิดของ[[ดวงอาทิตย์]]'' และทำให้ญี่ปุ่นมักถูกเรียกว่า''ดินแดนแห่งอาทิตย์อุทัย'' ชื่อนี้เกิดขึ้นในช่วงที่มีการติดต่อกับ[[ราชวงศ์สุย]]ของจีนและหมายถึงการที่ญี่ปุ่นอยู่ในทิศตะวันออกของจีน<ref>เช่น 網野善彦『「日本」とは何か』(講談社、2000)、神野志前掲書</ref> ก่อนที่ญี่ปุ่นจะมีความสัมพันธ์กับจีน ญี่ปุ่นเป็นที่รู้จักในชื่อยะมะโตะ<ref>{{cite web|url=http://www.lang.nagoya-u.ac.jp/proj/sosho/5/maeno.pdf|title=国号に見る「日本」の自己意識|author=前野みち子}}</ref>

ชื่อเรียกประเทศญี่ปุ่นในภาษาอื่น ๆ เช่น เจแปน ({{lang-en|Japan}}), ยาพัน ({{lang-de|Japan}}), ฌาปง ({{lang-fr|Japon}}), ฆาปอน ({{lang-es|Japón}}) รวมถึงคำว่า '''ญี่ปุ่น''' ในภาษาไทย น่าจะมาจากภาษาจีนฮกเกี้ยนหรือแต้จิ๋วที่ออกเสียงว่า "ยิดปุ่น" ([[หมิ่นหนาน|ฮกเกี้ยน]]) หรือ "หยิกปึ้ง" ([[สำเนียงแต้จิ๋ว|แต้จิ๋ว]]) ทั้งหมดล้วนแต่เป็นคำที่ถอดเสียงมาจากคำอ่านตัวอักษรจีน 日本国 ซึ่งอ่านว่า "จีปังกู" แต่ในสำเนียง[[แมนดาริน]]อ่านว่า รื่อเปิ่นกั๋ว ({{zh-all|t=日本国|p=Rìběn'guó}}) หรือย่อ ๆ ว่า รื่อเปิ่น ({{zh-all|t=日本|p=Rìběn}}) <ref>[http://www.google.com/dictionary?aq=f&langpair=en|zh-TW&q=Japan&hl=en Google Dictionary (อังกฤษ-จีน)]{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}} {{en icon}}</ref> ส่วนในภาษาที่ใช้ตัวอักษรจีนอื่น ๆ เช่นภาษาเกาหลี ออกเสียงว่า "อิลบน" ({{lang-ko|일본}}; 日本 ''Ilbon'') <ref>[http://www.google.com/dictionary?aq=f&langpair=en|ko&q=Japan&hl=en Google Dictionary (อังกฤษ-เกาหลี)]{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}} {{en icon}}</ref> และภาษาเวียดนาม ที่ออกเสียงว่า "เหญิ่ตบ๋าน" ({{lang-vi|Nhật Bản}}, 日本)<ref>ก่อนตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส เวียดนามใช้ตัวอักษรจีน</ref> จะเรียกประเทศญี่ปุ่นโดยออกเสียงคำว่า 日本 ด้วยภาษาของตนเอง

== ภูมิศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Satellite View of Japan 1999.jpg|thumb|ภาพ[[กลุ่มเกาะญี่ปุ่น]]ถ่ายจากดาวเทียม]]

ประเทศญี่ปุ่นมีเกาะรวม 6,852 เกาะ ทอดตามชายฝั่งแปซิฟิกของเอเชียตะวันออก ประเทศญี่ปุ่นรวมทุกเกาะตั้งอยู่ระหว่างละติจูด 24 องศา และ 46 องศาเหนือ และลองติจูด 122 องศา และ 146 องศาตะวันออก หมู่เกาะหลักไล่จากเหนือลงใต้ ได้แก่ [[ฮกไกโด]] [[ฮนชู]] [[ชิโกกุ]] และ[[คีวชู]] [[หมู่เกาะรีวกีว]]รวมทั้ง[[เกาะโอกินาวะ]]เรียงกันอยู่ทางใต้ของคีวชู รวมกันมักเรียกว่า [[กลุ่มเกาะญี่ปุ่น]]<ref>{{cite book|last=McCargo|first=Duncan|title=Contemporary Japan|year=2000|publisher=Macmillan|isbn=0-333-71000-2 |pages=8–11}}</ref>

พื้นที่ประมาณร้อยละ 73 ของประเทศญี่ปุ่นเป็นป่าไม้ ภูเขาและไม่เหมาะกับการใช้ทางการเกษตร อุตสาหกรรม หรือการอยู่อาศัย<ref>{{cite web|title=Japan|url=https://www.state.gov/r/pa/ei/bgn/4142.htm|publisher=US Department of State|accessdate=January 16, 2011}}</ref> ด้วยเหตุนี้ เขตอยู่อาศัยได้ซึ่งตั้งอยู่ในบริเวณชายฝั่งเป็นหลัก จึงมีความหนาแน่นของประชากรสูงมาก ประเทศญี่ปุ่นเป็น[[รายชื่อประเทศเรียงตามความหนาแน่นประชากร|ประเทศที่มีความหนาแน่นของประชากรสูงสุดของโลกประเทศหนึ่ง]]<ref>{{cite web |url=http://esa.un.org/unpp/ |title=World Population Prospects |publisher=''[[United Nations Department of Economic and Social Affairs|UN Department of Economic and Social Affairs]]'' |accessdate=March 27, 2007 |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070321013235/http://esa.un.org/unpp/ <!--Added by H3llBot--> |archivedate=March 21, 2007}}</ref>

เกาะต่าง ๆ ของประเทศญี่ปุ่นตั้งอยู่ในเขตภูเขาไฟบน[[วงแหวนไฟ|วงแหวนไฟแปซิฟิก]] รอยต่อสามโบะโซะ (Boso Triple Junction) นอกชายฝั่งญี่ปุ่นเป็นรอยต่อสามที่[[แผ่นอเมริกาเหนือ]] [[แผ่นแปซิฟิก]]และ[[แผ่นทะเลฟิลิปปิน]]บรรจบกัน ประเทศญี่ปุ่นเดิมติดกับชายฝั่งตะวันออกของ[[ทวีปยูเรเชีย]] แต่แผ่นเปลือกโลกที่มุดตัวลงดึงประเทศญี่ปุ่นไปทางตะวันออก เปิด[[ทะเลญี่ปุ่น]]เมื่อประมาณ 15 ล้านปีก่อน<ref>{{cite web|url=http://shinku.nichibun.ac.jp/jpub/pdf/jr/IJ1501.pdf|last=Barnes|first=Gina L.|title=Origins of the Japanese Islands|publisher=[[University of Durham]]|year=2003|accessdate=August 11, 2009}}</ref>

ประเทศญี่ปุ่นมีภูเขาไฟที่ยังมีพลังอยู่ 108 ลูก ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีภูเขาไฟใหม่เกิดขึ้นหลายลูก รวมทั้งโชวะ-ชินซันบนฮกไกโดและเมียวจิน-โชนอกหินบายองเนสในมหาสมุทรแปซิฟิก เกิดแผ่นดินไหวทำลายล้างซึ่งมักทำให้เกิด[[คลื่นสึนามิ]]ตามมาหลายครั้งทุกศตวรรษ<ref>{{cite web |url=http://volcano.und.edu/vwdocs/volc_images/north_asia/japan_tec.html |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070204064754/http://volcano.und.edu/vwdocs/volc_images/north_asia/japan_tec.html |archivedate=February 4, 2007 |title=Tectonics and Volcanoes of Japan |publisher=Oregon State University |accessdate=March 27, 2007}}</ref> [[แผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโต พ.ศ. 2466]] ทำให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 140,000 คน<ref>{{cite web|last=James |first=C.D. |title=The 1923 Tokyo Earthquake and Fire |url=http://nisee.berkeley.edu/kanto/tokyo1923.pdf |publisher=University of California Berkeley |accessdate=January 16, 2011 |year=2002 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070316050633/http://nisee.berkeley.edu/kanto/tokyo1923.pdf |archivedate=March 16, 2007 |df= }}</ref> แผ่นดินไหวใหญ่ล่าสุด ได้แก่ [[แผ่นดินไหวใหญ่ฮันชิง พ.ศ. 2538]] และ[[แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554|แผ่นดินไหวในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554]] ซึ่งมีขนาด 9.1 และทำให้เกิดคลื่นสึนามิขนาดใหญ่ ดัชนีความเสี่ยงโลกปี 2556 จัดให้ประเทศญี่ปุ่นมีความเสี่ยงภัยธรรมชาติสูงสุดอันดับที่ 15<ref name="2013 World Risk Report">[http://www.worldriskreport.com/uploads/media/WorldRiskReport_2013_online_01.pdf 2013 World Risk Report] {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20140816173655/http://www.worldriskreport.com/uploads/media/WorldRiskReport_2013_online_01.pdf |date=August 16, 2014 }}</ref>

=== ภูมิอากาศ ===
ภูมิอากาศของประเทศญี่ปุ่นเป็นแบบอบอุ่นเป็นหลัก แต่มีความแตกต่างกันมากตั้งแต่เหนือจดใต้ ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่นแบ่งออกเป็นหกเขตภูมิอากาศหลัก ได้แก่ ฮกไกโด ทะเลญี่ปุ่น ที่สูงภาคกลาง [[ทะเลเซโตะใน]] มหาสมุทรแปซิฟิกและ[[หมู่เกาะรีวกีว]]

เขตเหนือสุด ฮกไกโด มีภูมิอากาศแบบทวีปชื้นที่มีฤดูหนาวเย็นและยาวนาน และมีฤดูร้อนอุ่นมากถึงเย็น [[หยาดน้ำฟ้า]]ไม่หนัก แต่หมู่เกาะมักมีกองหิมะลึกในฤดูหนาว ในเขตทะเลญี่ปุ่นตรงชายฝั่งตะวันตกของฮนชู ลมฤดูหนาวจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือนำให้หิมะตกหนัก ในฤดูร้อน ภูมิภาคนี้เย็นกว่าเขตแปซิฟิก แม้บางครั้งมีอุณหภูมิร้อนจัดเนื่องจาก[[ลมเฟิน]] (foehn) เขตที่สูงภาคกลางเป็นภูมิอากาศแบบทวีปชื้นในแผ่นดินตรงแบบ มีความแตกต่างของอุณหภูมิมากระหว่างฤดูร้อนและฤดูหนาว ตลอดจนมีความแตกต่างระหว่างกลางวันกลางคืนมาก หยาดน้ำฟ้าเบาบาง แม้ฤดูหนาวปกติมีหิมะตก เขตภูเขา[[ชูโงกุ]]และ[[เกาะชิโกกุ]]กั้นทะเลในแผ่นดินเซโตะจากลมตามฤดูกาล ทำให้มีลมฟ้าอากาศไม่รุนแรงตลอดปี ชายฝั่งแปซิฟิกมีลักษณะภูมิอากาศแบบกึ่งเขตร้อนชื้นซึ่งมีฤดูหนาวไม่รุนแรง มีหิมะตกบางครั้ง และฤดูร้อนที่ร้อนชื้นเนื่องจากลมฤดูกาลจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ หมู่เกาะรีวกีวมีภูมิอากาศแบบกึ่งเขตร้อน โดยมีฤดูหนาวอบอุ่นและฤดูร้อนร้อน หยาดน้ำฟ้าหนักมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างฤดูฝน<ref name=autogenerated2>{{cite book|last=Karan|first=Pradyumna Prasad|title=Japan in the 21st century|year=2005|publisher=University Press of Kentucky|isbn=0-8131-2342-9|pages=18–21, 41|author2=Gilbreath, Dick}}</ref>

อุณหภูมิเฉลี่ยในฤดูหนาวในประเทศญี่ปุ่นอยู่ที่ 5.1 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยในฤดูร้อนอยู่ที่ 25.2 องศาเซลเซียส<ref>{{cite web|title=Climate|url=http://www.jnto.go.jp/eng/arrange/essential/climate.html|publisher=[[Japan National Tourism Organization|JNTO]]|accessdate=March 2, 2011}}</ref> อุณหภูมิสูงสุดที่เคยวัดได้ในประเทศญี่ปุ่นอยู่ที่ 41.0 องศาเซลเซียส ซึ่งมีบันทึกเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2556<ref>{{cite web|url=http://ds.data.jma.go.jp/tcc/tcc/news/press_20130813.pdf |title=Extremely hot conditions in Japan in midsummer 2013
|publisher=Tokyo Climate Center, Japan Meteorological Agency |date=August 13, 2013 |accessdate=August 3, 2017}}</ref> ฤดูฝนหลักเริ่มในต้นเดือนพฤษภาคมในโอกินาวะ และแนวฝนจะค่อย ๆ เคลื่อนขึ้นเหนือจนถึงฮกไกโดในปลายเดือนกรกฎาคม ในฮนชูส่วนใหญ่ ฤดูฝนเริ่มก่อนกลางเดือนมิถุนายนและกินเวลาประมาณหกสัปดาห์ ในปลายฤดูร้อนและต้นฤดูใบไม้ร่วง พายุไต้ฝุ่นมักนำพาฝนตกหนักมา<ref name="climate">{{cite web |url=http://www.jnto.go.jp/eng/arrange/essential/climate.html |title=Essential Info: Climate |publisher=[[Japan National Tourism Organization|JNTO]] |accessdate=April 1, 2007}}</ref>

=== ความหลากหลายทางชีวภาพ ===
[[ไฟล์:Jigokudani hotspring in Nagano Japan 001.jpg|thumb|left|[[ลิงกังญี่ปุ่น]]ที่[[Jigokudani Monkey Park|บ่อน้ำพุร้อนจิโกะคุดะนิ]]มีชื่อเสียงว่าเข้าสปาในฤดูหนาว]]
ประเทศญี่ปุ่นมีเขตชีวภาพป่าเก้าเขตซึ่งสะท้อนภูมิอากาศและภูมิศาสตร์ของหมู่เกาะญี่ปุ่น มีตั้งแต่ป่าใบกว้างชื้นกึ่งเขตร้อนในหมู่เกาะรีวกีวและ[[หมู่เกาะโอะงะซะวะระ]] จนถึงป่าผสมและใบกว้างเขตอุบอุ่นในเขตภูมิอากาศไม่รุนแรงในหมู่เกาะหลัก จนถึงป่าสนเขาเขตอบอุ่นในส่วนฤดูหนาวหนาวเย็นในเกาะทางเหนือ ประเทศญี่ปุ่นมีสัตว์ป่ากว่า 90,000 ชนิด รวมทั้ง[[หมีสีน้ำตาล]] [[ลิงกังญี่ปุ่น]] [[ทะนุกิ]] หนูนาญี่ปุ่นใหญ่ และ[[ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ญี่ปุ่น]] มีการตั้งเครือข่ายอุทยานแห่งชาติขนาดใหญ่เพื่อคุ้มครองพื้นที่สำคัญของพืชและสัตว์ตลอดจนเขตพื้นที่ชุ่มน้ำตาม[[อนุสัญญาแรมซาร์]]สามสิบเจ็ดแห่ง มีสี่แห่งลงทะเบียนใน[[รายการแหล่งมรดกโลกในประเทศญี่ปุ่น|รายการมรดกโลกของยูเนสโก]]

=== สิ่งแวดล้อม ===
ในช่วงการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วหลังสงครามโลกครั้งที่สอง นโยบายสิ่งแวดล้อมถูกรัฐบาลและบริษัทอุตสาหกรรมลดความสำคัญ ผลทำให้มี[[สี่โรคสิ่งแวดล้อมใหญ่ของประเทศญี่ปุ่น|มลภาวะสิ่งแวดล้อม]]แพร่หลายในคริสต์ทศวรรษ 1950 และ 1960 เพื่อสนองต่อความกังวลที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รัฐบาลจึงริเริ่มกฎหมายคุ้มครองสิ่งแวดล้อมหลายฉบับในปี 2513<ref>{{cite web|script-title=ja:日本の大気汚染の歴史 |url=http://www.erca.go.jp/taiki/history/ko_syousyu.html |publisher=Environmental Restoration and Conservation Agency |accessdate=March 2, 2014 |language=Japanese |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20110501085231/http://www.erca.go.jp/taiki/history/ko_syousyu.html |archivedate=May 1, 2011}}</ref> วิกฤตการณ์น้ำมันในปี 2516 ยังส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากประเทศญี่ปุ่นขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ<ref>{{cite web|last=Sekiyama|first=Takeshi|title=Japan's international cooperation for energy efficiency and conservation in Asian region|url=http://nice.erina.or.jp/en/pdf/C-SEKIYAMA.pdf|archiveurl=https://web.archive.org/web/20080216005103/http://nice.erina.or.jp/en/pdf/C-SEKIYAMA.pdf|archivedate=February 16, 2008|publisher=Energy Conservation Center|accessdate=January 16, 2011}}</ref> ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันได้แก่ มลภาวะทางอากาศในเมือง การจัดการขยะ ยูโทรฟิเคชันน้ำ การอนุรักษ์ธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การจัดการเคมีและความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์<ref>{{cite web|title=Environmental Performance Review of Japan|url=http://www.oecd.org/dataoecd/0/17/2110905.pdf|publisher=[[Organisation for Economic Co-operation and Development|OECD]]|accessdate=January 16, 2011}}</ref>

ประเทศญี่ปุ่นจัดอยู่ในอันดับที่ 39 ในดัชนีสมรรถนะสิ่งแวดล้อมปี 2559 ซึ่งวัดความผูกมัดของประเทศต่อความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม<ref>{{cite web|title=Environmental Performance Index: Japan|url=http://epi.yale.edu/country/japan|publisher=Yale University|accessdate=April 19, 2016}}</ref> ในฐานะเจ้าภาพและผู้ลงนาม[[พิธีสารเกียวโต]]ปี 2540 ประเทศญี่ปุ่นอยู่ภายใต้ข้อผูกพันตามสนธิสัญญาในการลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์และใช้วิธีการเพิ่มเติมในการรับมือการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ<ref>{{cite news |url=https://www.reuters.com/article/idUST191967 |title=Japan sees extra emission cuts to 2020 goal – minister |date=June 24, 2009 |agency=Reuters}}</ref>

== ประวัติศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น}}
=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์และประวัติศาสตร์โบราณ ===
[[ไฟล์:MiddleJomonVessel.JPG|thumb|150px|เครื่องปั้นดินเผายุคโจมง|left]]
วัฒนธรรม[[ยุคหินเก่า]]ประมาณ 30,000 ปีก่อน ค.ศ. เป็นหลักฐานการอยู่อาศัยของมนุษย์บนกลุ่มเกาะญี่ปุ่นครั้งแรกเท่าที่ทราบ หลังจากนั้นเป็น[[ยุคโจมง]]เมื่อประมาณ 14,000 ปีก่อน ค.ศ. ที่มีวัฒนธรรมนักล่าสัตว์หาของป่ากึ่งอยู่กับที่[[ยุคหินกลาง]]ถึง[[ยุคหินใหม่]] ซึ่งมีลักษณะโดยการอาศัยอยู่ในหลุมและเกษตรกรรมเรียบง่าย<ref>{{cite web|url=http://www.pitt.edu/~annj/courses/notes/jomon_genes.html|title=Jomon Genes|last=Travis|first=John|publisher=University of Pittsburgh|accessdate=January 15, 2011}}</ref> รวมทั้งบรรพบุรุษของ[[ชาวไอนุ]]และ[[ชาวยะมะโตะ]]ร่วมสมัยด้วย<ref>{{cite journal|last=Matsumara|first=Hirofumi; Dodo, Yukio|url=https://www.jstage.jst.go.jp/article/ase/117/2/117_080325/_article |title=Dental characteristics of Tohoku residents in Japan: implications for biological affinity with ancient Emishi|journal=Anthropological Science|year=2009|volume=117|issue=2|pages=95–105|doi=10.1537/ase.080325|last2=Dodo|first2=Yukio}}</ref><ref>{{cite journal|last=Hammer|first=Michael F.|url=http://www.nature.com/jhg/journal/v51/n1/abs/jhg20068a.html |title=Dual origins of the Japanese: common ground for hunter-gatherer and farmer Y chromosomes|journal=Journal of Human Genetics|year=2006|volume=51|issue=1|pages=47–58|doi=10.1007/s10038-005-0322-0|pmid=16328082|last2=Karafet|first2=TM|last3=Park|first3=H|last4=Omoto|first4=K|last5=Harihara|first5=S|last6=Stoneking|first6=M|last7=Horai|first7=S|display-authors=etal}}</ref> เครื่องดินเผาตกแต่งจากยุคนี้ยังเป็นตัวอย่างเครื่องดินเผาเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งที่ยังเหลือรอดในโลกด้วย ประมาณ 300 ปีก่อน ค.ศ. ชาวยะโยะอิเริ่มเข้าสู่หมู่เกาะญี่ปุ่น ผสมผสานกับโจมอน<ref>{{cite book|last=Denoon|first=Donald; Hudson, Mark|title=Multicultural Japan: palaeolithic to postmodern|publisher=Cambridge University Press|year=2001|isbn=0-521-00362-8|pages=22–23}}</ref> [[ยุคยะโยะอิ]]ซึ่งเริ่มตั้งแต่ประมาณ 500 ปีก่อน ค.ศ. มีการริเริ่มการปฏิวัติอย่างการทำนาข้าวเปียก<ref>{{cite web|title=Road of rice plant|url=http://www.kahaku.go.jp/special/past/japanese/ipix/5/5-25.html|archiveurl=https://web.archive.org/web/20110430010530/http://www.kahaku.go.jp/special/past/japanese/ipix/5/5-25.html|archivedate=April 30, 2011|publisher=[[National Science Museum of Japan]]|accessdate=January 15, 2011}}</ref> เครื่องดินเผาแบบใหม่<ref>{{cite web|title=Kofun Period|url=http://www.metmuseum.org/toah/hd/kofu/hd_kofu.htm|publisher=Metropolitan Museum of Art|accessdate=January 15, 2011}}</ref> และโลหะวิทยาที่รับมาจากจีนและเกาหลี<ref>{{cite web|title=Yayoi Culture|url=http://www.metmuseum.org/toah/hd/yayo/hd_yayo.htm|publisher=Metropolitan Museum of Art|accessdate=January 15, 2011}}</ref>

ญี่ปุ่นปรากฏครั้งแรกในประวัติศาสตร์ลายลักษณ์อักษรใน[[ฮั่นซู]] (บันทึกประวัติศาสตร์ฮั่น) ของจีน<ref>{{cite book |last=Takashi |first=Okazaki |last2=Goodwin |first2=Janet |title=The Cambridge history of Japan, Volume 1: Ancient Japan |year=1993 |publisher=Cambridge University Press |location=Cambridge |isbn=0-521-22352-0 |page=275 |chapter=Japan and the continent}}</ref> ตามบันทึกสามก๊ก ราชอาณาจักรทรงอำนาจที่สุดในกลุ่มเกาะญี่ปุ่นระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 3 เรียก ยะมะไตโกะกุ มีกาเผยแผ่[[ศาสนาพุทธ]] เข้าประเทศญี่ปุ่นจาก[[อาณาจักรแพ็กเจ]] (เกาหลีปัจจุบัน) และได้รับอุปถัมภ์โดย[[เจ้าชายโชโตะกุ]] และการพัฒนา[[ศาสนาพุทธในประเทศญี่ปุ่น|ศาสนาพุทธญี่ปุ่น]]ในเวลาต่อมาได้รับอิทธิพลจากจีนเป็นหลัก<ref>{{cite book |editor=Brown, Delmer M.|year=1993 |title=The Cambridge History of Japan |publisher=Cambridge University Press |pages=140–149}}</ref> แม้มีการต่อต้านในช่วงแรก แต่ศาสนาพุทธได้รับการส่งเสริมจากชนชั้นปกครองและได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางในช่วงต้น[[ยุคอะซุกะ]] (ค.ศ. 592–710)<ref>{{cite book |title=The Japanese Experience: A Short History of Japan |first=William Gerald|last=Beasley |publisher=University of California Press |year=1999 |page=42 |isbn=0-520-22560-0}}</ref>

[[ยุคนาระ]] (พ.ศ. 1253–1337) มีการกำเนิดรัฐญี่ปุ่นแบบรวมอำนาจปกครองโดยมีศูนย์กลางอยู่ที่ราชสำนักจักรพรรดิใน[[เฮโจเกียว]] ([[จังหวัดนาระ]]ปัจจุบัน) ยุคนาระเริ่มมีวรรณคดีตลอดจนการพัฒนาศิลปะและสถาปัตยกรรมที่ได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธ<ref>{{cite book |first=Conrad|last=Totman |year=2002 |title=A History of Japan |publisher=Blackwell |pages=64–79 |isbn=978-1-4051-2359-4}}</ref> การระบาดของ[[โรคฝีดาษ]]ในปี 1278–1280 เชื่อว่าฆ่าประชากรญี่ปุ่นไปมากถึงหนึ่งในสาม<ref>{{cite book|last=Hays|first=J.N.|title=Epidemics and pandemics: their impacts on human history|year=2005|publisher=[[ABC-CLIO]]|isbn=1-85109-658-2|page=31}}</ref> ในปี 1327 [[จักรพรรดิคัมมุ]]ย้ายเมืองหลวงจากนาระไป[[นะงะโอกะเกียว]] และ[[เฮอังเกียว]] ([[เกียวโต (นคร)|นครเกียวโต]]ปัจจุบัน) ในปี 1337

นับเป็นจุดเริ่มต้นของ[[ยุคเฮอัง]] (พ.ศ. 1337–1728) ซึ่งวัฒนธรรมญี่ปุ่นเฉพาะถิ่นชัดเจนกำเนิด โดยที่เห็นได้ชัดที่สุดคือ ศิลปะ กวีและร้อยแก้ว [[ตำนานเก็นจิ]]ของ[[มุราซากิ ชิคิบุ]] และ "[[คิมิงะโยะ]]" เนื้อร้องเพลงชาติประเทศญี่ปุ่นปัจจุบัน ก็มีการเขียนขึ้นในช่วงนี้<ref>{{cite book |first=Conrad|last=Totman |year=2002 |title=A History of Japan |publisher=Blackwell |pages=79–87, 122–123 |isbn=978-1-4051-2359-4}}</ref>

ศาสนาพุทธเริ่มแพร่ขยายระหว่าง[[ยุคเฮอัง]] ผ่านสองนิกายหลัก ได้แก่ เท็งไดและชินงน [[สุขาวดี (นิกาย)|สุขาวดี]] (โจโดะชู โจโดะชินชู) ได้รับความนิยมมากกว่าในครึ่งหลังของคริสต์ศตวรรษที่ 11

=== ยุคเจ้าขุนมูลนาย ===
[[ไฟล์:Mōko Shūrai Ekotoba 2.jpg|thumb|นักรบซะมุไรสู้รบกับมองโกลระหว่างการบุกครองญี่ปุ่นของมองโกล ([[Takezaki Suenaga|Suenaga]], 1836)]]
[[ไฟล์:Japan Kyoto Kinkakuji DSC00108.jpg|thumb|220px|[[วัดคิงกะกุ]] ในเมือง[[เกียวโต]]]]

ยุคเจ้าขุนมูลนายของญี่ปุ่นมีลักษณะจากการถือกำเนิดและการครอบงำของชนชั้นนักรบ[[ซะมุไร]] ใน พ.ศ. 1728 [[จักรพรรดิโกะ-โทะบะ]]ทรงแต่งตั้งซะมุไร [[มินะโมะโตะ โนะ โยะริโตะโมะ]] เป็น[[โชกุน]] หลังพิชิต[[ตระกูลไทระ]]ใน[[สงครามเก็มเป]] โยะริโตะโมะตั้งฐานอำนาจใน[[คะมะกุระ]] หลังเขาเสียชีวิต [[ตระกูลโฮโจ]]เถลิงอำนาจเป็น[[ชิกเก็ง|ผู้สำเร็จราชการให้โชกุน]] มีการเผยแผ่ศาสนาพุทธสำนักเซนจากจีนใน[[ยุคคะมะกุระ]] (พ.ศ. 1728–1876) และได้รับความนิยมในชนชั้นซะมุไร [[รัฐบาลโชกุนคะมะกุระ]]ขับไล่การบุกครองของมองโกลสองครั้งใน พ.ศ. 1817 และ 1824 แต่สุดท้ายถูก[[จักรพรรดิโกะ-ไดโงะ]]โค่นล้ม ส่วนจักรพรรดิโกะ-ไดโงะก็ถูก[[อะชิกะงะ ทะกะอุจิ]]พิชิตอีกทอดหนึ่งใน พ.ศ. 1879

อะชิกะงะ ทะกะอุจิตั้งรัฐบาลโชกุนในมุโระมะชิ จังหวัดเกียวโต เป็นจุดเริ่มต้นของ[[ยุคมุโระมะชิ]] (พ.ศ. 1879–2116) [[รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะ]]รุ่งเรืองในสมัยของ[[อะชิกะงะ โยะชิมิสึ]] และวัฒนธรรมที่ตั้งอยู่บนศาสนาพุทธแบบเซ็น (ศิลปะ[[มิยะบิ (ศิลปะ)|มิยะบิ]]) แพร่กระจาย ต่อมาศิลปะมิยะบิวิวัฒน์เป็นวัฒนธรรมฮิงะชิยะมะ และเจริญจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 (ประมาณพุทธศตวรรษที่ 21–22) อีกด้านหนึ่ง รัฐบาลโชกุนอะชิกะงะสมัยต่อมาไม่สามารถควบคุมขุนศึกเจ้าขุนมูลนาย ([[ไดเมียว]]) ได้ และเกิดสงครามกลางเมือง ([[สงครามโอนิน]]) ใน พ.ศ. 2010 เปิดฉาก[[ยุคเซ็งโงะกุ]] ("รณรัฐ") ยาวนานนับศตวรรษ

ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีพ่อค้าและ[[มิชชันนารี]][[คณะเยสุอิต]]จากประเทศโปรตุเกสเดินทางถึงญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก และเริ่มการค้าขายและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างญี่ปุ่นกับโลกตะวันตก ([[การค้านัมบัน]]) โดยตรง ทำให้[[โอะดะ โนะบุนะงะ]]ได้เทคโนโลยีและอาวุธปืนยุโรปซึ่งเขาใช้พิชิตไดเมียวคนอื่นหลายคน การรวบอำนาจของเขาเริ่ม[[ยุคอะซุชิโมะโมะยะมะ]] (พ.ศ. 2116–2146) หลังโนะบุนะงะถูก[[อะเกะชิ มิสึฮิเดะ]]ลอบฆ่าใน พ.ศ. 2125 [[โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ]] ผู้สืบทอดของโนะบุนะงะ รวมประเทศใน พ.ศ. 2133 และเปิดฉาก[[การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98)|บุกครองเกาหลี]] 2 ครั้งใน พ.ศ. 2135 และ 2140 แต่ไม่ประสบความสำเร็จ

หลังฮิเดะโยะชิถึงแก่อสัญกรรม [[โทะกุงะวะ อิเอะยะซุ]]ตั้งตนเองเป็นผู้สำเร็จราชการแทนบุตรของฮิเดะโยะชิและใช้ตำแหน่งให้ได้มาซึ่งการสนับสนุนทางการเมืองและการทหาร อิเอะยะซุเอาชนะไดเมียวต่าง ๆ ได้ใน[[ยุทธการที่เซะกิงะฮะระ]]ใน พ.ศ. 2143 ต่อมาใน พ.ศ. 2146 [[จักรพรรดิโกะ-โยเซ]]จึงทรงแต่งตั้งเขาเป็นโชกุน เขาตั้ง[[รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ]]ใน[[เอะโดะ]] (กรุง[[โตเกียว]]ปัจจุบัน) รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะออกมาตรการซึ่งรวมบุเกะโชะฮัตโตะเป็นจรรยาบรรณสำหรับควบคุมไดเมียวอัตตาณัติ และนโยบาย[[ซะโกะกุ]] ("ประเทศปิด") ใน พ.ศ. 2182 ซึ่งกินเวลานานสองศตวรรษครึ่งและเป็นยุคเอกภาพทางการเมืองที่เรียก [[ยุคเอะโดะ]] (พ.ศ. 2146–2411) การศึกษาศาสตร์ตะวันตก ที่เรียก [[รังงะกุ]] ยังคงมีต่อผ่านการติดต่อกับดินแดนแทรกของเนเธอร์แลนด์ที่[[เดจิมะ]]ใน[[นางาซากิ]] ยุคเอะโดะยังทำให้โคะกุงะกุ ("การศึกษาชาติ") หรือการศึกษาประเทศญี่ปุ่นโดยคนญี่ปุ่น เจริญด้วย

=== ยุคใหม่ ===
[[ไฟล์:Meiji tenno1.jpg|thumb|upright|left|[[สมเด็จพระจักรพรรดิเมจิ]] มีการฟื้นฟูการปกครองแบบจักรวรรดิในช่วงปลาย[[รัฐบาลโชกุนโทะกุงะวะ]]]]

วันที่ 31 มีนาคม 2397 [[แมทธิว ซี. เพอร์รี|พลเรือจัตวา แมทธิว ซี. เพอร์รี]] และ "[[เรือดำ]]" แห่งกองทัพเรือสหรัฐบังคับให้ญี่ปุ่นเปิดประเทศต่อโลกภายนอกด้วย[[สนธิสัญญาคานางาวะ]] สนธิสัญญาคล้ายกันกับประเทศตะวันตกในยุค[[บะกุมะสึ]]นำมาซึ่งวิกฤตทางเศรษฐกิจและการเมือง การลาออกของโชกุนนำสู่[[สงครามโบะชิง]] และการสถาปนารัฐรวมอำนาจปกครองที่เป็นเอกภาพในนามภายใต้จักรพรรดิ ([[การฟื้นฟูเมจิ]])<ref>{{cite book|title=JAPAN From Prehistory to Modern Times|author=John Whitney Hall|publisher =Charles E. Tuttle Company|page=262-264|date=1971}}</ref>

ประเทศญี่ปุ่นรับสถาบันการเมือง ตุลาการและทหารแบบตะวันตกและอิทธิพลทางวัฒนธรรมตะวันตกรวมเข้ากับวัฒนธรรมดั้งเดิมขปงะเรทศสำหรับการกลายเป็นอุตสาหกรรมสมัยใหม่ โดยผ่านกระบวนการกลายเป็นตะวันตกระหว่างการฟื้นฟูเมจิในปี 2411 คณะรัฐมนตรีจัดตั้งคณะองคมนตรี ริเริ่ม[[รัฐธรรมนูญเมจิ]] และเรียกประชุม[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ญี่ปุ่น)|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] การฟื้นฟูเมจิเปลี่ยนจักรวรรดิญี่ปุ่นให้เป็นมหาอำนาจอุตสาหกรรมซึ่งมุ่งใช้ความขัดแย้งทางทหารเพื่อขยายเขตอิทธิพลของตน หลังคว้าชัยใน[[สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง]] (พ.ศ. 2437–2438) และ[[สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น]] (พ.ศ. 2447–2448) ประเทศญี่ปุ่นเข้าควบคุมไต้หวัน เกาหลีและครึ่งใต้ของ[[เกาะซาฮาลิน]] ประชากรญี่ปุ่นเพิ่มจาก 35 ล้านคนในปี 2416 เป็น 70 ล้านคนในปี 2478

[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]]ทำให้ญี่ปุ่นซึ่งอยู่[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ผู้ชนะ สามารถขยายอำนาจและอาณาเขตในทวีปเอเชียต่อไปอีก ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีช่วง "ประชาธิปไตยไทโช" (พ.ศ. 2455–2469) แต่คริสต์ทศวรรษ 1920 (ประมาณพุทธทศวรรษ 2460) ประชาธิปไตยที่เปราะบางตกอยู่ภายใต้การเลื่อนทางการเมืองสู่[[ฟาสซิสต์]] มีการผ่านกฎหมายปราบปรามการเห็นต่างทางการเมืองและมีความพยายามรัฐประหารหลายครั้ง "[[ยุคโชวะ]]" ต่อมาอำนาจของกองทัพเริ่มเพิ่มขึ้นและนำญี่ปุ่นสู่การขยายอาณาเขตและการเสริมสร้างแสนยานุภาพ ตลอดจนเผด็จการเบ็ดเสร็จและ[[ลัทธิคลั่งชาติ]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของอุดมการณ์ฟาสซิสต์ ในปี 2474 ประเทศญี่ปุ่นบุกครองและยึดครอง[[แมนจูเรีย]] เมื่อนานาชาติประณามการครอบครองนี้ ประเทศญี่ปุ่นก็ลาออกจาก[[สันนิบาตชาติ]]ในปี 2476<ref>{{cite web|url=http://www.drc-jpn.org/AR-6E/sugiyama-e02.htm|title=Fundamental Issues underlying US-Japan Alliance: 2. Lytton Report and Anglo-Russo-Americana (ARA) Secret Treaty|publisher=Defense Research Center|author=Katsumi Sugiyama}}{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}}</ref> ในปี 2479 ญี่ปุ่นลงนาม[[กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น]]กับ[[นาซีเยอรมนี]] และ[[กติกาสัญญาไตรภาคี]]ในปี 2483 เข้าร่วมกับ[[ฝ่ายอักษะ]]<ref>{{cite web |url= http://www.friesian.com/pearl.htm |title= The Pearl Harbor Strike Force |author= Kelley L. Ross | publisher = friesian.com |accessdate=2007-03-27}}</ref> หลังพ่ายใน[[ข้อพิพาทชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น|สงครามชายแดนโซเวียต–ญี่ปุ่น]]ที่กินเวลาสั้น ๆ ประเทศญี่ปุ่นเจรจา[[กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น]] ซึ่งกินเวลาถึงปี 2488 เมื่อ[[การบุกครองแมนจูเรียของโซเวียต|สหภาพโซเวียตบุกครองแมนจูเรีย]]

[[ไฟล์:Nagasakibomb.jpg|thumb|right|[[การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ถล่มฮิโรชิมะและนางาซากิ|ระเบิดนิวเคลียร์แฟทแมนที่ถูกทิ้งลงนางาซากิ]]ในวันที่ 9 สิงหาคม 2488]]
ในยุค[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ญี่ปุ่นได้เสริมสร้างอำนาจทางการทหารให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น หลังจากญี่ปุ่นถูกกีดกันทางการค้าจากสหรัฐอเมริกา ต่อมาจึงได้เปิดฉากสงครามในแถบเอเชียแปซิฟิก (ซึ่งรู้จักกันทั่วไปในชื่อ [[สงครามมหาเอเชียบูรพา]]) ในวันที่ [[7 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2484]] โดย[[การโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์|การโจมตีฐานทัพเรือสหรัฐอเมริกาที่อ่าวเพิร์ล]] และการยาตราทัพเข้ามายัง[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ซึ่งส่วนใหญ่เป็นดินแดนอาณานิคมของสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักรและ[[เนเธอร์แลนด์]] ตลอดสงครามครั้งนั้น ญี่ปุ่นสามารถยึดครองประเทศต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้ทั้งหมด แต่หลังจากที่ญี่ปุ่นพ่ายแพ้ให้แก่สหรัฐอเมริกาในการรบทางน้ำในมหาสมุทรแปซิฟิกหลังจาก[[ยุทธนาวีแห่งมิดเวย์]] ([[พ.ศ. 2485]]) ญี่ปุ่นก็ตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบมากขึ้นเรื่อย ๆ แต่ก็ยังไม่ยอมแพ้แก่[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]โดยง่าย เมื่อต้องเผชิญหน้ากับ[[ระเบิดปรมาณู]]ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งถูกทิ้งที่[[เมืองฮิโรชิมา]]และ[[นางาซากิ]] (ในวันที่ [[6 สิงหาคม|6]] และ [[9 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2488]] ตามลำดับ) และ[[ปฏิบัติการพายุสิงหาคม|การรุกรานของสหภาพโซเวียต]] (วันที่ [[8 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2488]]) ญี่ปุ่นจึงประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไขในวันที่ [[15 สิงหาคม]] ปีเดียวกัน<ref>{{cite web |url=http://library.educationworld.net/txt15/surrend1.html |title=Japanese Instrument of Surrender |publisher=educationworld.net |accessdate=2008-11-22}}</ref> สงครามทำให้ญี่ปุ่นต้องสูญเสียพลเมืองนับล้านคนและทำให้อุตสาหกรรมและโครงสร้างพื้นฐานของประเทศเสียหายอย่างหนัก ฝ่ายสัมพันธมิตรซึ่งนำโดยสหรัฐอเมริกาได้ส่ง[[พลเอกดักลาส แมกอาร์เธอร์]]เข้ามาควบคุมญี่ปุ่นตั้งแต่หลังสงครามจบ

ปี 2490 ประเทศญี่ปุ่นเริ่มใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น|รัฐธรรมนูญฉบับใหม่]]ซึ่งเน้นวัตร[[ประชาธิปไตยเสรีนิยม]] [[การยึดครองญี่ปุ่น]]ของฝ่ายสัมพันธมิตรสิ้นสุดเมื่อมีการลงนาม[[สนธิสัญญาซานฟรานซิสโก]]ในปี 2499<ref>{{cite web|url=http://www.taiwandocuments.org/sanfrancisco01.htm|title=San Francisco Peace Treaty|publisher=Taiwan Document Project|accessdate=2008-11-22}}</ref> และญี่ปุ่นได้เป็นสมาชิก[[สหประชาชาติ]]ในปี 2499<ref>{{cite web|url=http://www.un.org/News/Press/docs/2006/org1469.doc.htm|title=United Nations Member States|publisher=[[สหประชาชาติ]]|accessdate=2008-11-22}}</ref> หลังสงคราม ญี่ปุ่นสามารถพัฒนาทางเศรษฐกิจด้วยอัตราการเจริญเติบโตที่สูงมากจนกลายเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับสองของโลก จนถูกประเทศจีนแซงในปี 2553 แต่การเติบโตดังกล่าวหยุดในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1990 เมื่อญี่ปุ่นประสบภาวะเศรษฐกิจถดถอย<ref name="webeco">{{cite web |url=http://web-japan.org/factsheet/pdf/ECONOMY.pdf|title=Japan Fact Sheet: Economy|publisher=Web Japan|accessdate=2008-11-22}}{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}}</ref> ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 21 การเติบโตทางบวกส่งสัญญาณการฟื้นตัวทางเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป<ref>{{cite news |url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/business/5178822.stm |title=Japan scraps zero interest rates |publisher=BBC News |date=July 14, 2006 |accessdate=December 28, 2006}}</ref> วันที่ 11 มีนาคม 2554 ประเทศญี่ปุ่นประสบ[[แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ พ.ศ. 2554|แผ่นดินไหวครั้งใหญ่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ของประเทศ]] ซึ่งยังส่งผลให้เกิด[[ภัยพิบัตินิวเคลียร์ฟูกูชิมะไดอิชิ]]

== การเมือง ==
{| class="wikitable" style="text-align:left; float:right; margin-right:9px; margin-left:2px;"
|-
| style="text-align:center;"| [[ไฟล์:Emperor Akihito cropped 2 Barack Obama Emperor Akihito and Empress Michiko 20140424 1.jpg|126px]] || style="text-align:left;" | [[ไฟล์:Shinzo Abe (2017).jpg|140px]]
|-
| style="text-align:center;"|[[สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ]] <br/><small>[[จักรพรรดิญี่ปุ่น|จักรพรรดิ]]ตั้งแต่ปี 2532</small>
| style="text-align:center;"|[[ชินโซ อะเบะ]]<br/><small>[[นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น|นายกรัฐมนตรี]]ตั้งแต่ปี 2555</small>
|}

ประเทศญี่ปุ่นมีรูปแบบรัฐเป็น[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] โดยที่จักรพรรดิมีพระราชอำนาจจำกัด ทรงเป็นประมุขในทางพิธีการ ซึ่งรัฐธรรมนูญบัญญัติว่า ทรงเป็น "สัญลักษณ์แห่งรัฐและความสามัคคีของประชาชน"<ref name=constitution>[http://www.sangiin.go.jp/eng/law/index.htm รัฐธรรมนูญญี่ปุ่น]{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}} ราชมนตรีแห่งรัฐสภาญี่ปุ่น (1946-11-03) </ref> นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร ส่วนอำนาจอธิปไตยเป็นของชาวญี่ปุ่น

[[ไฟล์:Diet of Japan Kokkai 2009.jpg|thumb|left|อาคารสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]
[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ญี่ปุ่น)|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]เป็นผู้ใช้อำนาจนิติบัญญัติ ตั้งอยู่ใน[[ชิโยะดะ (โตเกียว)|ชิโยะดะ กรุงโตเกียว]] สภาฯ ใช้ระบบ[[ระบบสองสภา]] ประกอบด้วย ''สภาผู้แทนราษฎร'' {{nhg2|衆議院|ชุงิ-อิง}} เป็น[[สภาล่าง]] มีสมาชิกสี่ร้อยแปดสิบคนซึ่งมีวาระดำรงตำแหน่งสี่ปี และ ''[[ราชมนตรีสภา]]'' ({{nhg2|参議院|ซังงีง}}) เป็น[[สภาสูง]] มีสมาชิกสองร้อยสี่สิบสองคนซึ่งมีวาระดำรงตำแหน่งหกปี โดยมีการเลือกตั้งสมาชิกราชมนตรีสภาจำนวนครึ่งหนึ่งสลับกันไปทุกสามปี สมาชิกของสภาทั้งสองมาจากการเลือกตั้งทั่วประเทศ ส่วนผู้มีสิทธิเลือกตั้งนั้นมีอายุสิบแปดปีบริบูรณ์เป็นต้นไป<ref name="tst-">{{cite web |url=http://www.straitstimes.com/asia/east-asia/japan-lowers-voting-age-from-20-to-18-to-better-reflect-young-peoples-opinions-in |title=Japan lowers voting age from 20 to 18 to better reflect young people's opinions in policies |publisher=''[[The Straits Times]]'' |date=June 20, 2015 |accessdate=August 28, 2017 }}</ref> พรรคประชาธิปไตยรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น (CDP) ที่เป็นเสรีนิยมสังคม และพรรคประชาธิปไตยเสรีนิยม (LDP) ที่เป็นอนุรักษนิยมครองสภาฯ LDP ประสบความสำเร็จในการเลือกตั้งเกือบตลอดมาตั้งแต่ปี 2498 ยกเว้นช่วงสั้น ๆ ระหว่างปี 2536 ถึง 2537 และระหว่างปี 2552 ถึง 2555

ระบบกฎหมายของญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจาก[[กฎหมายจีน]]มาแต่อดีต และมีพัฒนาการเป็นเอกเทศใน[[ยุคเอะโดะ]]ผ่านทางเอกสารต่าง ๆ เช่น [[ประชุมราชนีติ]] ({{nhg2|公事方御定書|Kujikata Osadamegaki}}) ทั้งนี้ ตั้งแต่ต้น[[พุทธศตวรรษ 2400]] เป็นต้นมา ได้มีการวางรากฐานระบบตุลาการในญี่ปุ่นขนานใหญ่โดยใช้[[ระบบซีวิลลอว์]]ของยุโรป โดยเฉพาะของ[[ฝรั่งเศส]]และ[[เยอรมนี]] เป็นต้นแบบ เช่น ในปี 2439 รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศใช้[[ประมวลกฎหมายแพ่งญี่ปุ่น|ประมวลกฎหมายแพ่ง]] ({{nhg2|民法|Minpō}}) โดยมี[[ประมวลกฎหมายแพ่งเยอรมัน]]เป็นต้นแบบ และคงมีผลใช้บังคับอยู่นับแต่หลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] จนปัจจุบัน<ref name="civilcode">{{cite web |url=http://www.britannica.com/eb/article-9043364?hook=6804 |title="Japanese Civil Code" |publisher=Encyclopædia Britannica |year=2006 |accessdate=2006-12-28}}{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}}</ref> ระบบศาลของญี่ปุ่นแบ่งเป็นสี่ขั้นหลัก คือ ศาลสูงสุดและศาลชั้นล่างสามระดับ ประชุมกฎหมายหลักของญี่ปุ่นเรียก [[หกประมวล]] ({{nhg2|六法|Roppō}})

=== การแบ่งเขตการปกครอง ===

ประเทศญี่ปุ่นแบ่งการปกครองออกเป็น 47 [[จังหวัด]]<ref> คำว่าจังหวัดในภาษาญี่ปุ่นมี 4 แบบ คือ โทะ (都) ใช้เฉพาะโตเกียวซึ่งเป็นเมืองหลวง, โด (道) เฉพาะฮกไกโด, ฟุ (府) ใช้กับเกียวโตและโอซากะ ซึ่งเคยเป็นเมืองหลวงในอดีต และเค็ง (県) ใช้กับจังหวัดอื่นๆ เมื่อพูดถึงจังหวัดรวมๆ จะใช้ว่า โทะโดฟุเก็ง (都道府県) </ref> และแบ่งภาคออกเป็น 8 ภูมิภาค ซึ่งมักจะถูกจับเข้ากลุ่มตามเขตแดนที่ติดกันที่มีวัฒนธรรมและสำเนียงการพูดใกล้เคียงกัน ทุกจังหวัดมีผู้ว่าราชการจังหวัดที่มาจากการเลือกตั้งเป็นผู้บริหาร

ในแต่ละจังหวัดมีการแบ่งเขาการปกครองออกเป็นเทศบาลย่อยๆ <ref> ซึ่งเทศบาลมีหลายระดับ ตั้งแต่ กุ (区) ชิ (市) โช (町) และมุระหรือซน (村) ซึ่งเรียกรวมกันว่า [[ชิโจซง]] </ref> แต่ในปัจจุบันกำลังมีการปรับโครงสร้างการแบ่งเขตการปกครองโดยการรวมเทศบาลที่อยู่ใกล้เคียงกันเข้าด้วยกัน ซึ่งจะช่วยลดจำนวนเขตการปกครองย่อยและช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบริหารเทศบาลลงได้ <ref>{{cite web|url=http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/np20020126a8.html|title=City-merger talks on increase|publisher=The Japan Times|date=2002-01-26|accessdate=2008-11-15}}{{dead link|date=พฤษภาคม 2560}}</ref> การรวมเขตเทศบาลนี้เป็นนโยบายที่ได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล โดยมีการคาดการณ์ที่จะลดจาก 3,232 เทศบาลใน [[พ.ศ. 2542]] ให้เหลือ 1,773 เทศบาลใน [[พ.ศ. 2553]] <ref>{{cite web|url=http://www.soumu.go.jp/gapei|title=合併相談コーナー|publisher=Ministry of Internal Affairs and Communications|accessdate=2008-11-16}}</ref>

ประเทศญี่ปุ่นมีเมืองใหญ่เป็นจำนวนมาก ซึ่งแต่ละเมืองต่างมีส่วนสำคัญในการพัฒนาประเทศทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม รวมถึงมีสำเนียงภาษาที่แตกต่างกันออกไป

{{แผนที่ประเทศญี่ปุ่น}}

{| border="0" cellpadding="3px" cellspacing="2px" style="background:#fff; width:60%; margin:auto;"
|- style="text-align:center; background:lightcoral;"
! style="width:25%;"| ''' [[ฮกไกโด]]'''
! style="width:25%;"| '''[[โทโฮะกุ]]'''
! style="width:25%;"| '''[[คันโต]]'''
! style="width:25%;"| '''[[ชูบุ]]'''
|- style="text-align:left; vertical-align:top; background:Lavenderblush; font-size:92%;"
|
1.&nbsp; [[จังหวัดฮกไกโด|ฮกไกโด]] <br />
|
2.&nbsp; [[จังหวัดอาโอโมริ|อาโอโมริ]]<br />
3.&nbsp; [[จังหวัดอิวาเตะ|อิวาเตะ]] <br />
4.&nbsp; [[จังหวัดมิยางิ|มิยางิ]]<br />
5.&nbsp; [[จังหวัดอากิตะ|อากิตะ]] <br />
6.&nbsp; [[จังหวัดยามางาตะ|ยามางาตะ]] <br />
7.&nbsp; [[จังหวัดฟูกูชิมะ|ฟูกูชิมะ]] <br />
|
8.&nbsp; [[จังหวัดอิบารากิ|อิบารากิ]] <br />
9.&nbsp; [[จังหวัดโทจิงิ|โทจิงิ]] <br />
10.&nbsp; [[จังหวัดกุมมะ|กุมมะ]] <br />
11.&nbsp; [[จังหวัดไซตามะ|ไซตามะ]] <br />
12.&nbsp; [[จังหวัดชิบะ|ชิบะ]]<br />
13.&nbsp; [[จังหวัดโตเกียว|โตเกียว]] <br />
14.&nbsp; [[จังหวัดคานางาวะ|คานางาวะ]] <br />
|
15.&nbsp; [[จังหวัดนีงาตะ|นีงาตะ]] <br />
16.&nbsp; [[จังหวัดโทยามะ|โทยามะ]] <br />
17.&nbsp; [[จังหวัดอิชิกาวะ|อิชิกาวะ]] <br />
18.&nbsp; [[จังหวัดฟูกูอิ|ฟูกูอิ]] <br />
19.&nbsp; [[จังหวัดยามานาชิ|ยามานาชิ]] <br />
20.&nbsp; [[จังหวัดนางาโนะ|นางาโนะ]] <br />
21.&nbsp; [[จังหวัดกิฟุ|กิฟุ]] <br />
22.&nbsp; [[จังหวัดชิซูโอกะ|ชิซูโอกะ]] <br />
23.&nbsp; [[จังหวัดไอจิ|ไอจิ]] <br />

|- style="text-align:center; background:lightcoral;"
! style="width:25%;"| '''[[คันไซ]]
! style="width:25%;"| '''[[ชูโงกุ]]'''
! style="width:25%;"| '''[[ชิโกกุ]]'''
! style="width:25%;"| '''[[คีวชู]]และ[[โอกินาวะ]]'''
|- style="text-align:left; vertical-align:top; background:Lavenderblush; font-size:92%;"
|
24.&nbsp; [[จังหวัดมิเอะ|มิเอะ]] <br />
25.&nbsp; [[จังหวัดชิงะ|ชิงะ]] <br />
26.&nbsp; [[จังหวัดเกียวโต|เกียวโต]] <br />
27.&nbsp; [[จังหวัดโอซากะ|โอซากะ]] <br />
28.&nbsp; [[จังหวัดเฮียวโงะ|เฮียวโงะ]] <br />
29.&nbsp; [[จังหวัดนาระ|นาระ]] <br />
30.&nbsp; [[จังหวัดวากายามะ|วากายามะ]] <br />
|
31.&nbsp; [[จังหวัดทตโตริ|ทตโตริ]] <br />
32.&nbsp; [[จังหวัดชิมาเนะ|ชิมาเนะ]] <br />
33.&nbsp; [[จังหวัดโอกายามะ|โอกายามะ]] <br />
34.&nbsp; [[จังหวัดฮิโรชิมะ|ฮิโรชิมะ]] <br />
35.&nbsp; [[จังหวัดยามางูจิ|ยามางูจิ]] <br />
|
36.&nbsp; [[จังหวัดโทกูชิมะ|โทกูชิมะ]] <br />
37.&nbsp; [[จังหวัดคางาวะ|คางาวะ]] <br />
38.&nbsp; [[จังหวัดเอฮิเมะ|เอฮิเมะ]] <br />
39.&nbsp; [[จังหวัดโคจิ|โคจิ]] <br />
|
40.&nbsp; [[จังหวัดฟูกูโอกะ|ฟูกูโอกะ]] <br />
41.&nbsp; [[จังหวัดซางะ|ซางะ]] <br />
42.&nbsp; [[จังหวัดนางาซากิ|นางาซากิ]] <br />
43.&nbsp; [[จังหวัดคูมาโมโตะ|คูมาโมโตะ]] <br />
44.&nbsp; [[จังหวัดโออิตะ|โออิตะ]] <br />
45.&nbsp; [[จังหวัดมิยาซากิ|มิยาซากิ]] <br />
46.&nbsp; [[จังหวัดคาโงชิมะ|คาโงชิมะ]] <br />
47.&nbsp; [[จังหวัดโอกินาวะ|โอกินาวะ]] <br />
|}

=== ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ===
[[ไฟล์:Donald Trump and Shinzō Abe at 43rd G7 summit.jpg|thumb|นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น [[ชินโซ อะเบะ]] กับประธานาธิบดีสหรัฐ [[ดอนัลด์ ทรัมป์]]]]
<!-- [[ไฟล์:Liancourt walleye view.jpg|thumb|[[หินลีย็องกูร์]]เป็นดินแดนพิพาท]] -->
ประเทศญี่ปุ่นมีความสัมพันธ์ทางทูตกับเกือบทุกประเทศเอกราชในโลก และเป็นสมาชิกปัจจุบันของ[[สหประชาชาติ]]ตั้งแต่เดือนธันวาคม 2499 ประเทศญี่ปุ่นเป็นสมาชิก[[จี 7]], [[เอเปก]] และ "อาเซียนบวกสาม" และเข้าร่วมประชุม[[การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก]] ประเทศญี่ปุ่นลงนามข้อตกลงความมั่นคงกับประเทศออสเตรเลียในเดือนมีนาคม 2550<ref>{{cite web|url=http://www.mofa.go.jp/region/asia-paci/australia/joint0703.html |title=Japan-Australia Joint Declaration on Security Cooperation |publisher=Ministry of Foreign Affairs|accessdate=August 25, 2010}}</ref> และกับประเทศอินเดียในเดือนตุลาคม 2551<ref>{{cite web|url=http://www.mofa.go.jp/region/asia-paci/india/pmv0810/joint_d.html |title=Joint Declaration on Security Cooperation between Japan and India |publisher=Ministry of Foreign Affairs |date=October 22, 2008 |accessdate=August 25, 2010}}</ref> เป็นผู้บริจาคความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาอย่างเป็นทางการรายใหญ่สุดอันดับห้าของโลก โดยบริจาคเงิน 9.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในปี 2557<ref>{{cite web|title=Statistics from the Development Co-operation Report 2015|url=http://www.oecd.org/dac/japan.htm|publisher=[[Organisation for Economic Co-operation and Development|OECD]]|accessdate=November 15, 2015}}</ref>

ประเทศญี่ปุ่นมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสหรัฐ นับแต่สหรัฐและพันธมิตรพิชิตญี่ปุ่นใน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ทั้งสองประเทศธำรงความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการกลาโหมอย่างใกล้ชิด สหรัฐเป็นตลาดสำคัญของสินค้าส่งออกของญี่ปุ่นและเป็นแหล่งนำเข้าหลักของญี่ปุ่น และผูกมัดป้องกันประเทศญี่ปุ่น โดยมีฐานทัพในประเทศญี่ปุ่นบางส่วนด้วยเหตุนั้น<ref>{{cite web|title=Japan's Foreign Relations and Role in the World Today|url=http://afe.easia.columbia.edu/japan/japanworkbook/fpdefense/foreign.htm|website=Asia for Educators|accessdate=November 13, 2016}}</ref>

ประเทศญี่ปุ่นต่อสู้การควบคุมหมู่เกาะคูริลใต้ (ได้แก่ กลุ่มอิโตะโระฟุ คุนะชิริ ชิโตะคัง และฮะโบะมะอิ) ของประเทศรัสเซีย ซึ่งสหภาพโซเวียตยึดครองในปี 2488 ประเทศญี่ปุ่นรับรู้การยืนยันของประเทศเกาหลีใต้เกี่ยวกับ[[หินลีอังคอร์ท]] (หรือ "ทะเกะชิมะ" ในภาษาญี่ปุ่น) แต่ไม่ยอมรับ ประเทศญี่ปุ่นมีความสัมพันธ์ตึงเครียดกับ[[ประเทศจีน]]และ[[ประเทศไต้หวัน]]เหนือ[[หมู่เกาะเซ็งกะกุ]] และกับประเทศจีนเหนือสถานภาพของ[[โอะกิโนะโทะริชิมะ]]

== กองทัพ ==
กองทัพญี่ปุ่นถูกจำกัดสิทธิตาม[[มาตรา 9 ของรัฐธรรมนูญแห่งญี่ปุ่น]] ซึ่งสละสิทธิของประเทศญี่ปุ่นในการประกาศสงครามและการใช้กำลังทหารในข้อพิพาทระหว่างประเทศ ฉะนั้น กองทัพญี่ปุ่นที่เรียก "[[กองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่น]]" นั้นจึงเป็นกองทัพที่ไม่เคยสู้รบนอกประเทศญี่ปุ่น<ref>正論, May 2014 (171).</ref> ประเทศญี่ปุ่นมีงบประมาณทางทหารสูงสุดประเทศหนึ่งในโลก<ref>{{cite web|title=The 15 countries with the highest military expenditure in 2009|url=http://www.sipri.org/research/armaments/milex/resultoutput/milex_15|publisher=Stockholm International Peace Research Institute|accessdate=January 16, 2011|deadurl=yes|archiveurl=https://web.archive.org/web/20110217084451/http://www.sipri.org/research/armaments/milex/resultoutput/milex_15|archivedate=February 17, 2011|df=mdy-all}}</ref> จัดเป็นประเทศเอเชียอันดับสูงสุดใน[[ดัชนีสันติภาพโลก]]<ref>Institute for Economics and Peace (2015). ''[http://www.visionofhumanity.org/sites/default/files/Global%20Peace%20Index%20Report%202015_0.pdf Global Peace Index 2015.] {{webarchive|url=https://web.archive.org/web/20151006145259/http://www.visionofhumanity.org/sites/default/files/Global%20Peace%20Index%20Report%202015_0.pdf |date=October 6, 2015 }}'' Retrieved October 5, 2015</ref> รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมปกครองกองทัพ และส่วนใหญ่ประกอบด้วย[[กองกำลังป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่น]] [[กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่น]] [[กองกำลังป้องกันตนเองทางอากาศญี่ปุ่น]] ซึ่งกองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลญี่ปุ่นเป็นผู้เข้าร่วมการฝึกซ้อมทางทะเลริมแพ็ก (RIMPAC) เป็นประจำ<ref>{{cite web|title=About RIMPAC |url=http://www.mindef.gov.sg/imindef/mindef_websites/topics/exrimpac/abt_rimpac.html |publisher=Government of Singapore |accessdate=March 2, 2014 |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20130806203903/http://www.mindef.gov.sg/imindef/mindef_websites/topics/exrimpac/abt_rimpac.html |archivedate=August 6, 2013}}</ref> ล่าสุดมีการใช้กองทัพเพื่อปฏิบัติการรักษาสันติภาพ โดยการวางกำลังในประเทศอิรักเป็นการใช้กองทัพญี่ปุ่นนอกประเทศครั้งแรกนับแต่สงครามโลกครั้งที่สอง<ref name="Iraq deployment">{{cite web |url=http://www.iht.com/articles/2006/06/20/news/japan.php |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070416075509/http://www.iht.com/articles/2006/06/20/news/japan.php |archivedate=April 16, 2007 |title= Tokyo says it will bring troops home from Iraq |work=International Herald Tribune |date=June 20, 2006 |accessdate=March 28, 2007}}</ref> สหพันธ์ธุรกิจญี่ปุ่นเรียกร้องให้รัฐบาลยกเลิกการห้ามส่งอาวุธออกเพื่อให้ประเทศญี่ปุ่นสามารถเข้าร่วมโครงการนานาชาติอย่างเครื่องบินขับไล่จู่โจมร่วม (Joint Strike Fighter) ได้<ref>{{cite news|url=http://in.reuters.com/article/2010/07/13/idINIndia-50097320100713 |title=Japan business lobby wants weapon export ban eased |publisher=Reuters |date= July 13, 2010|accessdate=April 12, 2011}}</ref>

ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลงดุลอำนาจโลกอย่างรวดเร็วร่วมกับโลกาภิวัตน์ สิ่งแวดล้อมความมั่นคงรอบประเทศญี่ปุ่นทวีความรุนแรงมากขึ้นอันสังเกตได้จากการพัฒนานิวเคลียร์และขีปนาวุธของประเทศเกาหลีเหนือ ภัยคุกคามข้ามชาติซึ่งมีเหตุจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีรวมทั้งการก่อการร้ายระหว่างประเทศและการโจมตีไซเบอร์ก็เพิ่มความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ<ref name="Japan's Security Policy">{{cite news |title= Japan's Security Policy |publisher= Ministry of Foreign Affairs of Japan |url=http://www.mofa.go.jp/policy/security/}}</ref> ประเทศญี่ปุ่นรวมทั้งกองกำลังป้องกันตนเองได้เข้ามีส่วนร่วมอย่างถึงที่สุดในความพยายามธำรงและฟื้นฟูสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ


ประเทศญี่ปุ่นมีความสัมพันธ์ทางทหารใกล้ชิดกับสหรัฐ พันธมิตรความมั่นคงสหรัฐ–ญี่ปุ่นเป็นหลักหมุดของนโยบายการต่างประเทศของชาติ<ref>{{cite web |url=http://www.realclearpolitics.com/articles/2007/03/japan_is_back_why_tokyos_new_a.html |title=Japan Is Back: Why Tokyo's New Assertiveness Is Good for Washington|author=Michael Green |publisher=Real Clear Politics |accessdate=March 28, 2007}}</ref> นับแต่เป็นสมาชิกสหประชาชาติในปี 2499 ประเทศญี่ปุ่นเคยเป็นสมาชิก[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ|คณะมนตรีความมั่นคง]]เป็นเวลารวม 20 ปี วาระล่าสุดในปี 2552 และ 2553
ประเทศญี่ปุ่นมีความสัมพันธ์ทางทหารใกล้ชิดกับสหรัฐ พันธมิตรความมั่นคงสหรัฐ–ญี่ปุ่นเป็นหลักหมุดของนโยบายการต่างประเทศของชาติ<ref>{{cite web |url=http://www.realclearpolitics.com/articles/2007/03/japan_is_back_why_tokyos_new_a.html |title=Japan Is Back: Why Tokyo's New Assertiveness Is Good for Washington|author=Michael Green |publisher=Real Clear Politics |accessdate=March 28, 2007}}</ref> นับแต่เป็นสมาชิกสหประชาชาติในปี 2499 ประเทศญี่ปุ่นเคยเป็นสมาชิก[[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ|คณะมนตรีความมั่นคง]]เป็นเวลารวม 20 ปี วาระล่าสุดในปี 2552 และ 2553

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:14, 5 พฤศจิกายน 2561

ประเทศญี่ปุ่น

日本国 (ญี่ปุ่น)
ตรารัฐบาล:
Seal of the Office of the Prime Minister and the Government of Japan
พอโลเนีย (ญี่ปุ่น: 五七[の]桐โรมาจิโกะชิชิ โนะ คิริ)
ที่ตั้งของญี่ปุ่น
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
โตเกียว
ภาษาราชการไม่มี[1]
ภาษาประจำชาติภาษาญี่ปุ่น
การปกครองประชาธิปไตยแบบรัฐสภาและราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
จักรพรรดิอะกิฮิโตะ
ชินโซ อะเบะ
การสร้างชาติ
11 กุมภาพันธ์ 117 ปีก่อน พ.ศ.
29 พฤศจิกายน 2433
3 พฤษภาคม 2490
28 เมษายน 2495
พื้นที่
• รวม
377,944 ตารางกิโลเมตร (145,925 ตารางไมล์) (61)
0.8
ประชากร
• 2555 ประมาณ
127,110,047[2] (10)
• สำมะโนประชากร 2010
128,056,026[3]
337.1 ต่อตารางกิโลเมตร (873.1 ต่อตารางไมล์) (36)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)
• รวม
5.405 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
42,658 ดอลลาร์สหรัฐ
จีดีพี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)
• รวม
4.884 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
38,550 ดอลลาร์สหรัฐ
จีนี (2551)32.1[4]
ข้อผิดพลาด: ค่าจีนีไม่ถูกต้อง
เอชดีไอ (2559)เพิ่มขึ้น 0.903
ข้อผิดพลาด: ค่า HDI ไม่ถูกต้อง · 17th
สกุลเงินเยน (¥) (JPY)
เขตเวลาUTC+9 (JST)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
ไม่มี
ขับรถด้านซ้ายมือ
รหัสโทรศัพท์81
รหัส ISO 3166JP
โดเมนบนสุด.jp

ร์และขีปนาวุธของประเทศเกาหลีเหนือ ภัยคุกคามข้ามชาติซึ่งมีเหตุจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีรวมทั้งการก่อการร้ายระหว่างประเทศและการโจมตีไซเบอร์ก็เพิ่มความสำคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ[5] ประเทศญี่ปุ่นรวมทั้งกองกำลังป้องกันตนเองได้เข้ามีส่วนร่วมอย่างถึงที่สุดในความพยายามธำรงและฟื้นฟูสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ

ประเทศญี่ปุ่นมีความสัมพันธ์ทางทหารใกล้ชิดกับสหรัฐ พันธมิตรความมั่นคงสหรัฐ–ญี่ปุ่นเป็นหลักหมุดของนโยบายการต่างประเทศของชาติ[6] นับแต่เป็นสมาชิกสหประชาชาติในปี 2499 ประเทศญี่ปุ่นเคยเป็นสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงเป็นเวลารวม 20 ปี วาระล่าสุดในปี 2552 และ 2553

ในเดือนพฤษภาคม 2557 นายกรัฐมนตรีชินโซ อะเบะกล่าวว่าประเทศญี่ปุ่นต้องการสลัดการวางเฉยที่ธำรงมาตลอดตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่สองยุติและรับผิดชอบความมั่นคงในภูมิภาคมากขึ้น เขากล่าวว่าประเทศญี่ปุ่นต้องการมีบทบาทสำคัญและเสนอความช่วยเหลือแก่ประเทศเพื่อนบ้านของญี่ปุ่น[7] ความตึงเครียดล่าสุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับประเทศเกาหลีเหนือได้จุดชนวนการถกเถียงรอบใหม่เรื่องสถานภาพของกองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นและความสัมพันธ์กับสังคมญี่ปุ่น[8] แนวทางกองทัพญี่ปุ่นฉบับใหม่ที่มีประกาศในเดือนธันวาคม 2553 จะชี้นำกองกำลังป้องกันตนเองญี่ปุ่นจากความสนใจสมัยสงครามเย็นต่ออดีตสหภาพโซเวียตสู่ประเทศจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับข้อพิพาทดินแดนเหนือหมู่เกาะเซ็งกะกุ[9]

เศรษฐกิจ

ตลาดหลักทรัพย์โตเกียว เป็นตลาดหลักทรัพย์ที่ใหญ่เป็นอันดับสองของโลก

หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นได้รับความบอบช้ำจากสงครามเป็นอย่างมาก แต่ก็สามารถฟื้นตัวได้อย่างรวดเร็วเพราะปัจจัยหลายอย่างเช่นการทำงานที่ดีของรัฐบาล แรงงานที่ถูกและมีคุณภาพ อัตราการออมและการลงทุนที่สูง[10] ในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2500-2520 เป็นช่วงที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นเติบโตอย่างมาก อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่แท้จริงในช่วงพุทธทศวรรษที่ 2500, 2510 และ 2520 เฉลี่ยร้อยละ 10, 5 และ 4 ตามลำดับ[11] โดยได้รับการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจจากสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ช่วงต้นพุทธทศวรรษที่ 2510 ญี่ปุ่นประสบปัญหาค่าเงินเยนแข็งตัวจนทำให้บริษัทจำนวนมากย้ายฐานการผลิตออกไปนอกประเทศ หลังจากเกิดฟองสบู่แตกต้นพุทธทศวรรษที่ 2530 เศรษฐกิจก็เริ่มชะลอตัว และส่งผลต่อเนื่องตลอดพุทธทศวรรษที่ 2530 รัฐบาลพยายามกระตุ้นเศรษฐกิจด้วยวิธีต่าง ๆ แต่ไม่ประสบผลสำเร็จ และยังถูกซ้ำเติมจากผลกระทบของเศรษฐกิจชะลอตัวในปี พ.ศ. 2543 [12] สภาพเศรษฐกิจหลังจากปี พ.ศ. 2548 ดูเหมือนจะฟื้นตัวขึ้นจากตัวเลขการขยายตัวของจีดีพีที่สูงขึ้น แต่ญี่ปุ่นก็กลับประสบปัญหาอีกครั้งเมื่อเกิดวิกฤติทางการเงินที่ส่งผลกระทบไปทั่วโลก[13][14] แม้ว่าธุรกิจภาคการเงินของญี่ปุ่นได้รับผลกระทบน้อยมากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ เพราะทศวรรษแห่งภาวะเศรษฐกิจซบเซาที่ทำให้ญี่ปุ่นระมัดระวังในการลงทุนมากขึ้น[15] แต่การที่ญี่ปุ่นพึ่งพาการส่งออกรถยนต์และสินค้าอิเลคโทรนิคมากเกินไปก็ส่งผลกระทบรุนแรงต่อเศรษฐกิจ และทำให้เกิดปัญหาการว่างงานเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว[16]

ญี่ปุ่นมีเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับที่ 2 ของโลก[17] รองจากสหรัฐอเมริกา เมื่อวัดด้วยจีดีพีก่อนปรับอัตราเงินเฟ้อ (ประมาณ 4.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ) [17] และอันดับที่ 3 รองจากสหรัฐอเมริกาและจีน เมื่อวัดด้วยอำนาจการซื้อ[18] ญี่ปุ่นมีกำลังการผลิตที่สูงและเป็นประเทศต้นกำเนิดของผู้ผลิตชั้นนำที่ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น รถยนต์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักร เหล็กกล้า โลหะนอกกลุ่มเหล็ก เรือ สารเคมี[19]

จากข้อมูลใน พ.ศ. 2548 แรงงานของประเทศญี่ปุ่นมีจำนวน 66.7 ล้านคน[20] ญี่ปุ่นมีอัตราว่างงานที่ต่ำคือประมาณร้อยละ 4[20] ค่าจีดีพีต่อชั่วโมงการทำงานอยู่ในอันดับที่ 20 ของโลกใน พ.ศ. 2548 และเป็นอันดับ 1 ของเอเชีย[21] บริษัทใหญ่ของญี่ปุ่นหลายแห่งมีชื่อเสียงไปทั่วโลก เช่นโตโยต้า โซนี่ เอ็นทีที โดโคโม แคนนอน ฮอนด้า ทาเคดา นินเทนโด นิปปอน สตีล และ เซเว่น อีเลฟเว่น ญี่ปุ่นเป็นต้นกำเนิดของธนาคารที่ใหญ่ที่สุดหลายแห่ง[22] ตลาดหลักทรัพย์โตเกียวซึ่งมักจะเป็นที่รู้จักเพราะดัชนีนิเคอิมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 2 ของโลกเมื่อวัดด้วยมูลค่าตลาด[23]

ญี่ปุ่นมีลักษณะเฉพาะในการทำธุรกิจหลายอย่าง เช่นเคเระสึหรือระบบเครือข่ายบริษัทจะมีอิทธิพลในเชิงธุรกิจ การจ้างงานตลอดชีวิตและการเลื่อนขั้นตามความอาวุโสจะพบเห็นได้ทั่วไป บริษัทที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจจะถือหุ้นของกันและกัน[24] ผู้ถือหุ้นมักจะไม่มีบทบาทกับการบริหารของบริษัท[25] แต่ในปัจจุบันญี่ปุ่นเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงออกจากระบบเก่า ๆ เหล่านี้[26][25]

ใน พ.ศ. 2548 พื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรกรรมมีเพียงร้อยละ 12.6[27] และมีประชากรที่ประกอบการเกษตรเพียงร้อยละ 6.6[28]เท่านั้น ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตได้มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ได้แก่ ไหม กะหล่ำปลี ข้าว มัน และชา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ญี่ปุ่นต้องพึ่งพาการนำเข้าอาหารถึงร้อยละ 60 จึงเป็นประเทศที่มีอัตราการเลี้ยงตนเองค่อนข้างต่ำ[29][30] ในระยะหลังกระแสความกังวลเรื่องความปลอดภัยของอาหารทำให้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศเป็นที่ต้องการมากขึ้น

โครงสร้างพื้นฐาน

โรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์อิกะตะ
รถไฟชิงกันเซ็งหรือรถไฟหัวกระสุนซึ่งเป็นหนึ่งในวิธีเดินทางที่แพร่หลายในญี่ปุ่น

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ การคมนาคมในประเทศญี่ปุ่น

ใน พ.ศ. 2548 ร้อยละ 50 ของพลังงานที่ใช้ในญี่ปุ่นผลิตจากปิโตรเลียม ร้อยละ 20 จากถ่านหิน ร้อยละ 14 จากก๊าซธรรมชาติ[31] การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากนิวเคลียร์มีปริมาณหนึ่งในสี่ของการผลิตไฟฟ้าทั้งหมด[31] แต่หลังจากเกิดเหตุอุบัติเหตุนิวเคลียร์ฟูกูชิมะไดอิชิ รัฐบาลญี่ปุ่นก็วางแผนที่จะเลิกใช้พลังงานนิวเคลียร์ภายในทศวรรษที่ 2570[32]

ญี่ปุ่นมีบริษัทรถไฟหลายแห่ง เช่นกลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น รถไฟฮังคิว รถไฟเซบุ และบริษัทเคโอ ซึ่งแข่งขันกันด้านบริการในพื้นที่ต่าง ๆ ปัจจุบันที่รถไฟชิงกันเซ็งซึ่งเปิดใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2507 มีเครือข่ายเชื่อมโยงเมืองหลักเกือบทั่วประเทศ รถไฟของญี่ปุ่นเป็นที่รู้จักในเรื่องตรงต่อเวลา[33] ทางรถไฟญี่ปุ่น ระยะทางรวมทั้งสิ้น23,474 กิโลเมตรแบ่งเป็น ราง 1.435 เมตร สำหรับวิ่งรถไฟความเร็วสูงหรือรถไฟใต้ดินหลายเมือง ระยะทาง 2,664 กม รางรถไฟ 1.067 เมตร สำหรับรถไฟฟ้าชานเมืองรถไฟทางใกล ระยะทาง 22,445 กม. ทางด่วนแห่งชาติ ของประเทศญี่ปุ่นมีระยะทางทั้งสิ้น 11,520 กิโลเมตร การเดินทางโดยเครื่องบินเป็นที่นิยมและมีสนามบิน 173 แห่งทั่วประเทศ สนามบินฮาเนดะที่ส่วนใหญ่ให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศเป็นสนามบินที่หนาแน่นที่สุดในเอเชีย[34] สนามบินนานาชาติที่สำคัญได้แก่สนามบินนาริตะ สนามบินคันไซ และสนามบินนานาชาตินาโงยา แต่การก่อสร้างสนามบินบางแห่งเป็นเพียงส่วนหนึ่งของการใช้งบประมาณเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจมากกว่าเพื่อประโยชน์ใช้สอยจริง[35] สนามบินบางแห่งขาดทุนมาตลอดตั้งแต่เปิดทำการ[36]

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หุ่นยนต์อาซิโมของฮอนด้า
โมดูลคิโบขององค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น

ญี่ปุ่นเป็นประเทศแนวหน้าในการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์โดยมีภาคเอกชนเป็นผู้ลงทุนหลัก[37] ญี่ปุ่นมีจำนวนการขอสิทธิบัตรเป็นอันดับ 3 ของโลก[38]ตัวอย่างของผลงานทางเทคโนโลยีของญี่ปุ่นที่สำคัญ ได้แก่อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์ เครื่องจักร วิศวกรรมด้านแผ่นดินไหวที่สร้างขึ้นมาเพื่ออยู่รอด สารเคมี สารกึ่งตัวนำ และเหล็ก เป็นต้น ญี่ปุ่นเป็นผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ที่สุด เป็นอันดับ 3 ของ โลก[39] เป็นประเทศต้นกำเนิดของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ 6 บริษัทจากผู้ผลิต 15 บริษัทที่ใหญ่ที่สุด และผู้ผลิตสารกึ่งตัวนำ 7 บริษัทจาก 20 บริษัทที่ใหญ่ที่สุด

ญี่ปุ่นยังเป็นหนึ่งในผู้นำในการพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม รถยนต์ไฮบริด ซึ่งได้เทคโนโลยีมาจากเยอรมนี อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา[40] ของฮอนด้าและโตโยต้าเป็นที่ยอมรับว่าประหยัดพลังงานมากที่สุดและปล่อยควันเสียได้น้อย[41][42] ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความพยายามของเทคโนโลยีระบบไฮบริด เชื้อเพลิง ญี่ปุ่นมีจำนวนสิทธิบัตรในด้านเซลล์เชื้อเพลิงเป็นอันดับหนึ่งของโลก[43]

องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่นเป็นหน่วยงานวิจัยและพัฒนางานด้านอวกาศ สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์และจักรวาลวิทยาของญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในสมาชิกของโครงการความร่วมมือการสร้างสถานีอวกาศนานาชาติและโมดูลคิโบ มีกำหนดที่จะส่งขึ้นไปเพื่อต่อกับสถานีอวกาศนานาชาติในการขนด้วยกระสวยอวกาศใน พ.ศ. 2552[44]

ประชากร

แยกชิบุยะถนนที่มีผู้สัญจรมากที่สุดในโตเกียว

จากการสำรวจในวันที่ 1 สิงหาคม 2012 ญี่ปุ่นมีประชากรประมาณ 127,692,273 คน[45] ประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษาและมีวัฒนธรรมที่เหมือนกัน โดยมีชาวต่างชาติ เช่นชาวเกาหลี จีน บราซิล ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน และชาติอื่น ๆ ประมาณร้อยละ 1.2 ซึ่งส่วนใหญ่อาศัยอยู่ตามเมืองใหญ่[46] เชื้อชาติส่วนใหญ่คือเชื้อสายชาวยะมะโตะ และมีชนกลุ่มน้อยเช่นชาวไอนุและชาวรีวกีว รวมทั้งชนกลุ่มน้อยทางสังคมที่เรียกว่าบุระกุ[47]

ประชากรญี่ปุ่นมีอายุคาดหมายเฉลี่ยประมาณ 82.07 ปี จึงนับเป็นประเทศที่มีประชากรอายุยืนยาวที่สุดประเทศหนึ่งในโลก[48] โครงสร้างประชากรของญี่ปุ่นเริ่มมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากเด็กที่เกิดมาในยุคเบบีบูมหลังสงครามโลกเริ่มเข้าสู่วัยชรา ในขณะที่อัตราการเกิดตั้งแต่ พ.ศ. 2532 มีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ [49] จึงทำให้จำนวนประชากรค่อย ๆ ลดลง (มีการประมาณว่าจะลดลงต่ำกว่า 100 ล้านคนในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 25)[49] ในขณะที่สัดส่วนของผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ (ในปี พ.ศ. 2550) ประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไปมีมากถึง 1 ใน 5 ของประชากรทั้งหมด)[50] การที่โครงสร้างประชากรเปลี่ยนไปทำให้เกิดปัญหาสังคมหลายอย่าง เช่นปัญหาแรงงานที่ลดลง และภาระเงินบำนาญของคนหนุ่มสาวเพิ่มมากขึ้น[51]

จำนวนประชากร


ย่านโดทมโบะริ นครโอซากะ

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่รายชื่อเมืองในญี่ปุ่นเรียงตามจำนวนประชากร และ จำนวนประชากรญี่ปุ่นแยกตามจังหวัด

ศาสนา

โทริอิของศาลเจ้าอิสึกุชิมะซึ่งเป็นศาลเจ้าลัทธิชินโต

จากการสำรวจพบว่าคนญี่ปุ่นนับถือพุทธชินโตเยอะที่สุดเท่ากับผู้ที่ไม่มีศาสนาในญี่ปุ่น คนญี่ปุ่นร้อยละ 51.8 ระบุว่าตนไม่มีศาสนา[52] ในอดีตศาสนาในญี่ปุ่นถูก ผสมผสานจนทำให้พิธีกรรมทางศาสนานั้นมีความหลากหลาย เช่นพ่อแม่พาลูกไปศาลเจ้าชินโตเพื่อทำพิธีชิจิ-โกะ-ซัน แต่งงานในโบสถ์คริสต์และฉลองในวันคริสต์มาส จัดงานศพแบบพุทธ และบูชาบรรพบุรุษแบบขงจื๊อ นอกจากนี้ ตั้งแต่ต้นพุทธศตววรษที่ 25 มีลัทธิต่าง ๆ เกิดขึ้นมากมายเช่น ศาสนาเทนริเกียว ลัทธิเทนริเกียว และลัทธิโอมชินริเกียว

ภาษา

ประชากรมากกว่าร้อยละ 95 ใช้ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาทางการ[53] ภาษาญี่ปุ่นมีวิธีการผันคำกริยาและคำศัพท์ที่แสดงถึงสถานะระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง ซึ่งแสดงถึงลักษณะสังคมที่มีระดับขั้นของญี่ปุ่น ภาษาพูดนั้นมีทั้งภาษากลางและสำเนียงของแต่ละท้องถิ่น เช่นสำเนียงคันไซ โรงเรียนทั้งของรัฐและเอกชนมักมีวิชาภาษาญี่ปุ่นและภาษาอังกฤษเป็นวิชาบังคับ[54]

การศึกษา

มหาวิทยาลัยโตเกียวซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น

ระบบการศึกษาในระดับประถม มัธยม และอุดมศึกษาถูกนำมาใช้ตั้งแต่ พ.ศ. 2451 ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเมจิ [55] ตั้งแต่ พ.ศ. 2490 การศึกษาภาคบังคับของญี่ปุ่นมีระยะเวลา 9 ปี ตั้งแต่ประถมศึกษาจนจบมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งเกือบทั้งหมดจะเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายต่อ จากข้อมูลของกระทรวงการศึกษาของญี่ปุ่น (MEXT) ใน พ.ศ. 2547 พบว่าร้อยละ 75.9 ของผู้จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจะเรียนต่อในมหาวิทยาลัย วิทยาลัย หรือสถาบันอุดมศึกษาอื่น ๆ [56] การศึกษาในญี่ปุ่นเต็มไปด้วยการแข่งขัน[57] โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสอบเข้าเพื่อเรียนต่อในมหาวิทยาลัย[58] โครงการประเมินผลการศึกษานานาชาติ (Programme for International Student Assessment: PISA) ซึ่งจัดขึ้นโดยโออีซีดี จัดอันดับให้เด็กญี่ปุ่นมีความรู้และทักษะเป็นอันดับ 6 ของโลก[59] มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในญี่ปุ่น เช่น มหาวิทยาลัยโตเกียว มหาวิทยาลัยเคโอ และ มหาวิทยาลัยเกียวโต เป็นต้น

การรักษาพยาบาล

คุณภาพของระบบรักษาพยาบาลในญี่ปุ่นมีระดับที่สูงมาก เห็นได้จากอายุคาดหมายเฉลี่ยของประชากรที่สูงและอัตราการตายของทารกที่ต่ำ[60] รัฐบาลกำหนดให้ประชาชนทุกคนทำประกันสุขภาพ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือประกันสำหรับพนักงานบริษัท และประกันที่ทำกับรัฐบาลท้องถิ่น[61] ผู้ป่วยสามารถเลือกแพทย์หรือสถานที่รักษาได้โดยอิสระ[62] ผู้สูงอายุของญี่ปุ่นทั้งหมดได้รับการคุ้มครองด้วยประกันของรัฐบาลตั้งแต่ พ.ศ. 2516[63] แต่ปัจจุบันรัฐบาลต้องปรับระบบประกันเปล่านี้เพื่อรองรับโครงสร้างของประชากรที่เปลี่ยนแปลงไป[60]

วัฒนธรรม

วัฒนธรรมญี่ปุ่นมีวิวัฒนาการมายาวนานตั้งแต่วัฒนธรรมยุคโจมงซึ่งเป็นวัฒนธรรมดั้งเดิมของประเทศ จนถึงวัฒนธรรมผสมผสานร่วมสมัยซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากเอเชีย ยุโรป และอเมริกาเหนือ ศิลปะดั้งเดิมของญี่ปุ่นมีทั้งงานฝีมือ เช่น อิเกะบะนะ (การจัดดอกไม้) โอะริงะมิ อุกิโยะ-เอะ[64] ตุ๊กตา เครื่องเคลือบ เครื่องปั้นดินเผา การแสดง เช่น คะบุกิ โน บุนระกุ[64] ระกุโงะ และประเพณีต่าง ๆ เช่น การละเล่น พิธีชงชา ศิลปการต่อสู้ สถาปัตยกรรม การจัดสวน ดาบ และอาหาร การผสมผสานระหว่างภาพพิมพ์กับศิลปะตะวันตก นำไปสู่การสร้างสรรค์มังงะหรือหนังสือการ์ตูนของญี่ปุ่นที่เป็นที่นิยมทั้งในและนอกญี่ปุ่น[65] แอนิเมชันที่ได้รับอิทธิพลมาจากมังงะเรียกว่า อะนิเมะ วงการเกมคอนโซลของญี่ปุ่นเจริญรุ่งเรืองอย่างมากตั้งแต่ พ.ศ. 2523[66]

ดนตรี

การเล่นโคะโตะ

ดนตรีญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมข้างเคียงเช่นจีนและคาบสมุทรเกาหลี รวมทั้งจากโอกินาวะและฮกไกโด ตั้งแต่โบราณ เครื่องดนตรีหลายชิ้น เช่น บิวะ โคะโตะ ถูกนำเข้ามาจากจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 7[67] และชะมิเซ็งเป็นเครื่องดนตรีที่ดัดแปลงจากเครื่องดนตรีโอกินาวะซึ่งมีจุดเริ่มต้นที่กลางพุทธศตวรรษที่ 21[67] ญี่ปุ่นมีเพลงพื้นบ้านมากมาย เช่นเพลงที่ร้องระหว่างการเต้นบงโอะโดะริ เพลงกล่อมเด็ก ดนตรีตะวันตกเริ่มเข้ามาในต้นพุทธศตวรรษที่ 25 และถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม หลังสงคราม ญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลทางด้านดนตรีสมัยใหม่จากอเมริกาและยุโรปเป็นอย่างมาก ก่อให้เกิดการพัฒนาแนวดนตรีที่เรียกว่า เจ-ป็อป[68] ญี่ปุ่นมีนักดนตรีคลาสสิกที่มีชื่อเสียงระดับโลกหลายคน เช่น วาทยากร เซจิ โอะซะวะ[69] นักไวโอลิน มิโดะริ โกะโต[70]นักเปียโน อาเอมิ โคบายาชิ เมื่อถึงช่วงสิ้นปี จะมีการเล่นคอนเสิร์ตซิมโฟนีหมายเลข 9 ของเบโทเฟนทั่วไปในญี่ปุ่น[71]

วรรณกรรม

ภาพจากเรื่องตำนานเก็นจิ

วรรณกรรมญี่ปุ่นชิ้นแรกได้แก่หนังสือประวัติศาสตร์ที่ชื่อ โคะจิกิ และ นิฮงโชะกิ[72] และหนังสือบทกวีสมัยศตวรรษที่ 8 ที่ชื่อ มังโยชู ซึ่งเขียนด้วยภาษาจีนทั้งหมด[73] ในช่วงต้นของยุคเฮอัง มีการสร้างระบบการเขียนแทนเสียงที่เรียกว่า คะนะ (ฮิระงะนะ และ คะตะคะนะ) นิทานคนตัดไม้ไผ่ ถูกพิจารณาว่าเป็นงานที่เก่าแก่ที่สุดที่เขียนด้วยภาษาญี่ปุ่น[72] ตำนานเก็นจิ ที่เขียนโดยมุระซะกิ ชิกิบุมักถูกเรียกว่าเป็นวรรณกรรมชิ้นแรกของโลก[74] ระหว่างยุคเอะโดะ วรรณกรรมไม่อยู่ในความสนใจของซามูไรเท่ากับ โชนิน ชนชั้นประชาชนทั่วไป ตัวอย่างเช่น โยะมิฮง กลายเป็นที่นิยมและเผยให้เห็นการเปลี่ยนแปลงที่ลึกซึ้งระหว่างนักอ่านกับนักเขียน ในสมัยเมจิ วรรณกรรมดั้งเดิมได้เสื่อมสลายลง ขณะที่วรรณกรรมญี่ปุ่นได้รับอิทธิพลจากตะวันตกมากขึ้น[75] โซเซะกิ นะสึเมะและโองะอิ โมริเป็นนักแต่งนิยายสมัยใหม่รุ่นแรกของญี่ปุ่น[75] ตามมาด้วย ริวโนะซุเกะ อะคุตะกะวะ, ทะนิซะกิ จุนอิชิโระ, ยะซุนะริ คะวะบะตะ, มิชิมะ ยุกิโอะ และล่าสุด ฮะรุกิ มุระกะมิ[76] ญี่ปุ่นมีนักเขียนที่ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม 2 คน ได้แก่ ยะซุนะริ คะวะบะตะ (พ.ศ. 2511) [77] และ เค็นซะบุโร โอเอะ (พ.ศ. 2537) [78]

กีฬา

การแข่งขันซูโม่ในเรียวโงกุ โคกุงิกัง ใน โตเกียว

หลังจากการปฏิรูปเมจิ กีฬาตะวันตกก็เริ่มเข้ามาในญี่ปุ่นและแพร่หลายไปทั่วประเทศด้วยระบบการศึกษา[79] ในญี่ปุ่น กีฬานับเป็นกิจกรรมยามว่างที่ดีต่อสุขภาพ ช่วยพัฒนาวินัย การเคารพกฎกติกา และช่วยสั่งสมน้ำใจนักกีฬา ชาวญี่ปุ่นทุกวัยให้ความสนใจกับกีฬาทั้งในฐานะผู้ชมและผู้เล่น[79] กีฬาที่ได้รับความนิยมในญี่ปุ่น ได้แก่

อาหาร

อาหารเช้าแบบโรงแรมญี่ปุ่น

ชาวญี่ปุ่นกินข้าวเป็นอาหารหลัก อาหารญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียงได้แก่ซูชิ, เท็มปุระ, สุกียากี้, ยะกิโทะริ และ โซบะ เป็นต้น[83] อาหารญี่ปุ่นหลายอย่างดัดแปลงจากอาหารต่างประเทศ เช่น ทงกะสึ, ราเม็งปลาดิบ และ แกงกะหรี่ญี่ปุ่น[84] อาหารญี่ปุ่นได้รับความนิยมในต่างประเทศเพราะเป็นอาหารที่ดีต่อสุขภาพ จากการสำรวจพบว่าในปี 2006 มีร้านอาหารญี่ปุ่นมากกว่า 20,000 แห่งทั่วโลก[84]

ชาวญี่ปุ่นมีความพิถีพิถันในการเลือกวัตถุดิบจึงทำให้มีอาหารประจำท้องถิ่น[85]และอาหารประจำฤดู[86] วัตถุดิบที่เป็นเอกลักษณ์ในอาหารญี่ปุ่นคือถั่วเหลือง ซึ่งนำมาทำโชยุ, มิโซะ, เต้าหู้[87] ถั่วแดงซึ่งมักนำมาทำขนม และสาหร่ายชนิดต่าง ๆ เช่นคมบุ นอกจากนี้ ชาวญี่ปุ่นยังนิยมกินซะชิมิหรืออาหารทะเลดิบอีกด้วย[88]

ชาในญี่ปุ่นมีหลายชนิดซึ่งแตกต่างไปตามกรรมวิธีการผลิตและส่วนผสม[89] เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่มีต้นกำเนิดจากญี่ปุ่นคือเหล้าสาเก (หรือนิฮงชุ) ซึ่งผลิตโดยใช้วิธีหมักข้าว[90] และโชชูซึ่งเป็นเหล้าที่เกิดจากการกลั่น[91]

การท่องเที่ยว

รัฐบาลญี่ปุ่นต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจ ภาคการท่องเที่ยว โดยทางการญี่ปุ่นได้ดำเนินมาตรการยกเว้นวีซ่าท่องเที่ยวให้กับประเทศเป้าหมาย รวมถึงประเทศไทย กระแสไปท่องเที่ยวญี่ปุ่นน่าจะยังได้รับความนิยมในหมู่คนไทยอย่างต่อเนื่อง โดยมีแรงหนุนสำคัญๆ ทั้งจากมาตรการยกเว้นวีซ่าท่องเที่ยวที่ยังคงมีผลบังคับใช้ บวกกับกิจกรรมส่งเสริมการตลาดและโปรโมชั่นอัดแน่นจากธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง รวมถึงอานิสงส์ส่วนหนึ่งก็มาจากเงินเยนที่อ่อนค่า รวมทั้งสายการบินต้นทุนต่ำ ทำให้นักท่องเที่ยวเดินทางทัวร์ญี่ปุ่นมากขึ้นทุกปี

อ้างอิง

  1. "法制執務コラム集「法律と国語・日本語」" (ภาษาญี่ปุ่น). Legislative Bureau of the House of Councillors. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2009.
  2. "Japanese population decreases for third year in a row". สืบค้นเมื่อ 1 September 2016.
  3. "Population Count based on the 2010 Census Released" (PDF). Statistics Bureau of Japan. สืบค้นเมื่อ October 26, 2011.
  4. "Japan". World Bank.
  5. "Japan's Security Policy". Ministry of Foreign Affairs of Japan.
  6. Michael Green. "Japan Is Back: Why Tokyo's New Assertiveness Is Good for Washington". Real Clear Politics. สืบค้นเมื่อ March 28, 2007.
  7. "Abe offers Japan's help in maintaining regional security". Japan Herald. สืบค้นเมื่อ May 31, 2014.
  8. Herman, Steve (February 15, 2006). "Japan Mulls Constitutional Reform". Tokyo: Voice of America. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 16, 2006. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  9. Fackler, Martin (December 16, 2010). "Japan Announces Defense Policy to Counter China". The New York Times. สืบค้นเมื่อ December 17, 2010.
  10. M1 The Japanese Economy Takahashi Ito, pp 3-4.
  11. "Japan: Patterns of Development". country-data.com. 1994. สืบค้นเมื่อ 2006-12-28. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  12. "World Factbook; Japan—Economy". CIA. 2006-12-19. สืบค้นเมื่อ 2006-12-28.
  13. "Japan heads towards recession as GDP shrinks". The Times. 2008-08-13. สืบค้นเมื่อ 2008-08-17.
  14. "That sinking feeling". The Economist. 2008-10-30. สืบค้นเมื่อ 2008-11-1. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  15. "In Japan, Financial Crisis Is Just a Ripple". The New York Times. 2008-09-19. สืบค้นเมื่อ 2008-11-22.
  16. "Japan's economy 'worst since end of WWII'". CNN. 2009-02-16. สืบค้นเมื่อ 2009-02-16.
  17. 17.0 17.1 "World Economic Outlook Database; country comparisons". ไอเอ็มเอฟ. 2006-09-01. สืบค้นเมื่อ 2007-03-14.
  18. "NationMaster; Economy Statistics". NationMaster. สืบค้นเมื่อ 2007-03-26.
  19. Chapter 6 Manufacturing and Construction[ลิงก์เสีย], Statistical Handbook of Japan, Ministry of Internal Affairs and Communications
  20. 20.0 20.1 "労働力調査(速報)平成19年平均結果の概要" (PDF). Statistic Bureau. สืบค้นเมื่อ 2008-11-01.
  21. Summary Statistics Groningen Growth and Development Centre, Sep 2008
  22. [1][ลิงก์เสีย] Forbes Global 2000 Retrieved on 2008-11-02
  23. Market data. New York Stock Exchange (2006-01-31). Retrieved on 2007-08-11.
  24. "Criss-crossed capitalism". The Economist. 2008-11-06. สืบค้นเมื่อ 2008-11-17.
  25. 25.0 25.1 "In the locust position". The Economist. 2007-06-28. สืบค้นเมื่อ 2008-11-02.
  26. "Going hybrid". The Economist. 2007-11-29. สืบค้นเมื่อ 2008-11-02.
  27. "Total area and cultivated land area". Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries. สืบค้นเมื่อ 2008-11-07.[ลิงก์เสีย]
  28. "Total population and agricultural population". Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries. สืบค้นเมื่อ 2008-11-07.[ลิงก์เสีย]
  29. 農林水産省国際部国際政策課 (2006-05-23). "農林水産物輸出入概況(2005)" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2007-09-13.[ลิงก์เสีย]
  30. "Self-sufficiency ratio of food by commodities (Preliminary)". Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries. สืบค้นเมื่อ 2008-11-07.[ลิงก์เสีย]
  31. 31.0 31.1 Chapter 7 Energy[ลิงก์เสีย], Statistical Handbook of Japan 2007
  32. "Japan aims to abandon nuclear power by 2030s". Reuters. 2012-09-14. สืบค้นเมื่อ 2012-09-21.
  33. จนเป็นต้นเหตุสำคัญของอุบัติเหตุรถไฟตกรางที่จังหวัดเฮียวโงะใน พ.ศ. 2548 Japan's train crash: Your reaction BBC News 2005-05-02
  34. "Year to date Passenger Traffic". Airports Council International. 2008-08. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  35. "Japan's Road to Deep Deficit Is Paved With Public Works". The New York Times. 1997-03-01. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.
  36. "Outlook Bleak for Saga Airport Profitability". Fukuoka Now. 2008-07-31. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.
  37. Science and Innovation: Country Notes, Japan OECD Science, Technology and Industry Outlook 2008, OECD
  38. "Japanese led world in filing of patent applications in 2005". The Japan Times. 2007-08-11. สืบค้นเมื่อ 2008-11-07.[ลิงก์เสีย]
  39. [2] ข่าวจากรอยเตอร์
  40. [3] รถยนต์
  41. Automaker Rankings 2007: The Environmental Performance of Car Companies Union of Concerned Scientists
  42. [www.greenercars.org/highlights_greenest.htm Greenest Vehicles of 2008] American Council for an Energy Efficient Economy
  43. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ oecdpa
  44. "Press Release". JAXA. 2008-07-08. สืบค้นเมื่อ 2008-11-16.
  45. "Population Census: Total Population". Statistics Bureau, Ministry of Internal Affairs and Communications.
  46. "Population Census: Foreigners". Statistics Bureau, Ministry of Internal Affairs and Communications.
  47. "Sue Sumii". The Economist. 1997-07-03. สืบค้นเมื่อ 2008-11-06.
  48. "The World Factbook: Rank order—Life expectancy at birth". CIA. 2008-10-23. สืบค้นเมื่อ 2008-11-5. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  49. 49.0 49.1 "Statistical Handbook of Japan: Chapter 2 Population". Statistics Bureau, Ministry of Internal Affairs and Communications.[ลิงก์เสีย]
  50. "Population Census: Population by Age". Statistics Bureau, Ministry of Internal Affairs and Communications.
  51. "Cloud of population decline may have silver lining". The Japan Times. 2002-09-24. สืบค้นเมื่อ 2008-11-05.[ลิงก์เสีย]
  52. 世界各国の宗教 (2000年) อ้างอิงจาก電通総研日本リサーチセンター、世界主要国価値観データブック
  53. The World Factbook; Japan-People CIA (2008)
  54. Lucien Ellington (2005-09-01). "Japan Digest: Japanese Education". Indiana University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-04-27. สืบค้นเมื่อ 2006-04-27.
  55. Lucien Ellington (2003-12-01). "Beyond the Rhetoric: Essential Questions About Japanese Education". Foreign Policy Research Institute. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01.[ลิงก์เสีย]
  56. "School Education" (PDF). MEXT. สืบค้นเมื่อ 2007-03-10.[ลิงก์เสีย]
  57. Kate Rossmanith (2007-02-05). "Rethinking Japanese education". The University of Sydney. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01.[ลิงก์เสีย]
  58. Gakureki Shakai[ลิงก์เสีย]
  59. en_2649_201185_39713238_1_1_1_1, 00.html OECD’s PISA survey shows some countries making significant gains in learning outcomes[ลิงก์เสีย], OECD, 04/12/2007. Range of rank on the PISA 2007 science scale
  60. 60.0 60.1 "Social Security System" (PDF). Web Japan. สืบค้นเมื่อ 2009-10-13.[ลิงก์เสีย]
  61. "Overview of the Social Insurance Systems". Social Insurance Agency. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.
  62. "Health Insurance: General Characteristics". National Institute of Population and Social Security Research. สืบค้นเมื่อ 2007-03-28.
  63. Victor Rodwin. "Health Care in Japan". New York University. สืบค้นเมื่อ 2007-03-10.
  64. 64.0 64.1 "Japanese Culture". Windows on Asia. สืบค้นเมื่อ 2008-11-17.[ลิงก์เสีย]
  65. "A History of Manga". NMP International. สืบค้นเมื่อ 2007-03-27.[ลิงก์เสีย]
  66. Leonard Herman, Jer Horwitz, Steve Kent, and Skyler Miller. "The History of Video Games". Gamespot. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  67. 67.0 67.1 "Japan Fact Sheet: Music" (PDF). Web Japan. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.[ลิงก์เสีย]
  68. ,1550807, 00.html "J-Pop History". The Observer. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01. {{cite web}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  69. "Seiji Ozawa (Conductor)". 2007-06-22. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.
  70. "Midori Goto: From prodigy to peace ambassador". 2008-11-06. สืบค้นเมื่อ 2008-11-23.
  71. なぜか「第9」といったらベートーヴェン、そして年末。[ลิงก์เสีย]
  72. 72.0 72.1 "Japanese Culture: Literature". Windows on Asia. สืบค้นเมื่อ 2008-11-17.[ลิงก์เสีย]
  73. "万葉集-奈良時代". Kyoto University Library. สืบค้นเมื่อ 2008-11-17.
  74. The Tale of Genji
  75. 75.0 75.1 "Japanese Culture: Literature (Recent Past)". Windows on Asia. สืบค้นเมื่อ 2008-11-17.[ลิงก์เสีย]
  76. 76.0 76.1 "สำรวจญี่ปุ่น: ปฏิทินประจำปี ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม กีฬา" (PDF). สถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจำประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 2008-11-17.
  77. "The Nobel Prize in Literature 1968". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2008-11-18.
  78. "Kenzaburo Oe The Nobel Prize in Literature 1994". Nobel Foundation. สืบค้นเมื่อ 2008-11-18.
  79. 79.0 79.1 79.2 "Japan Fact Sheet: SPORTS" (PDF). Web Japan. สืบค้นเมื่อ 2008-11-19.[ลิงก์เสีย]
  80. "Sumo: East and West". PBS. สืบค้นเมื่อ 2007-03-10.
  81. Nagata, Yoichi and Holway, John B. (1995). "Japanese Baseball". ใน Pete Palmer (บ.ก.). Total Baseball (fourth edition ed.). New York: Viking Press. p. 547. {{cite book}}: |edition= has extra text (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  82. "Soccer as a Popular Sport: Putting Down Roots in Japan" (PDF). The Japan Forum. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01.
  83. "Traditional Dishes of Japan". Japan National Tourist Organization. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  84. 84.0 84.1 "Japanese Food Culture" (PDF). Web Japan. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.[ลิงก์เสีย]
  85. "Japanese Delicacies". Japan National Tourist Organization. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  86. "Seasonal Foods" (PDF). The Japan Forum. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  87. Japanese Food Japan Reference
  88. "Local cuisine of Hokkaido". Japan National Tourist Organization. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  89. "茶ができるまで". 全国茶生産団体連合会・全国茶主産府県農協連連絡協議会. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.
  90. "The Sake Brewing Process". สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.[ลิงก์เสีย]
  91. "Shochu". The Japan Times. 2004-05-30. สืบค้นเมื่อ 2008-11-27.[ลิงก์เสีย]

ดูเพิ่ม

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • Christopher, Robert C., The Japanese Mind: the Goliath Explained, Linden Press/Simon and Schuster, 1983 (ISBN 0-330-28419-3)
  • De Mente, The Japanese Have a Word For It, McGraw-Hill, 1997 (ISBN 0-8442-8316-9)
  • Henshall, A History of Japan, Palgrave Macmillan, 2001 (ISBN 0-312-23370-1)
  • Jansen, The Making of Modern Japan, Belknap, 2000 (ISBN 0-674-00334-9)
  • Johnson, Japan: Who Governs?, W.W. Norton, 1996 (ISBN 0-393-31450-2)
  • Ono et al., Shinto: The Kami Way, Tuttle Publishing, 2004 (ISBN 0-8048-3557-8)
  • Reischauer, Japan: The Story of a Nation, McGraw-Hill, 1989 (ISBN 0-07-557074-2)
  • Sugimoto et al., An Introduction to Japanese Society, Cambridge University Press, 2003 (ISBN 0-521-52925-5)
  • Van Wolferen, The Enigma of Japanese Power, Vintage, 1990 (ISBN 0-679-72802-3)
  • Shinoda, Koizumi Diplomacy: Japan’s Kantei Approach to Foreign and Defense Affairs, University of Washington Press, 2007 (ISBN 0-295-98699-9)
  • Pyle, Japan Rising: The Resurgence of Japanese Power and Purpose, Public Affairs, 2007 (ISBN 1-58648-567-9)
  • Samuels, Securing Japan: Tokyo's Grand Strategy and the Future of East Asia, Cornell University Press, 2008 (ISBN 0-8014-7490-6)
  • Flath, The Japanese Economy, Oxford University Press, 2000 (ISBN 0-19-877503-2)
  • Ito et al., Reviving Japan's Economy: Problems and Prescriptions, MIT Press, 2005 (ISBN 0-262-09040-6)
  • Iwabuchi, Recentering Globalization: Popular Culture and Japanese Transnationalism, Duke University Press, 2002 (ISBN 0-8223-2891-7)
  • Silverberg, Erotic Grotesque Nonsense: The Mass Culture of Japanese Modern Times, University of California Press, 2007 (ISBN 0-520-22273-3)
  • Varley, Japanese Culture, University of Hawaii Press, 2000 (ISBN 0-8248-2152-1)
  • Ikegami, Bonds Of Civility: Aesthetic Networks And The Political Origins Of Japanese Culture, Cambridge University Press, 2005 (ISBN 0-521-60115-0)
  • Stevens, Japanese Popular Music: Culture, Authenticity and Power, Routledge, 2007 (ISBN 0-415-38057-X)
  • Macwilliams, Japanese Visual Culture: Explorations in the World of Manga and Anime, M.E. Sharpe, 2007 (ISBN 0-7656-1602-5)

แหล่งข้อมูลอื่น