ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว
ท่าอากาศยานฮาเนดะ 羽田空港 ฮาเนดะ คูโก | |||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ข้อมูลสำคัญ | |||||||||||||||||||||||
การใช้งาน | สาธารณะ | ||||||||||||||||||||||
ผู้ดำเนินงาน | กระทรวงที่ดิน โครงสร้างพื้นฐาน การขนส่ง และการท่องเที่ยว | ||||||||||||||||||||||
พื้นที่บริการ | เขตอภิมหานครโตเกียว | ||||||||||||||||||||||
ที่ตั้ง | เขตโอตะ โตเกียว ญี่ปุ่น | ||||||||||||||||||||||
เปิดใช้งาน | 15 สิงหาคม 1931 | ||||||||||||||||||||||
ฐานการบิน | |||||||||||||||||||||||
ฐานปฏิบัติ | |||||||||||||||||||||||
เหนือระดับน้ำทะเล | 21 ฟุต / 6 เมตร | ||||||||||||||||||||||
พิกัด | 35°33′12″N 139°46′52″E / 35.55333°N 139.78111°E | ||||||||||||||||||||||
เว็บไซต์ | www | ||||||||||||||||||||||
แผนที่ | |||||||||||||||||||||||
ทางวิ่ง | |||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||
สถิติ (2023) | |||||||||||||||||||||||
| |||||||||||||||||||||||
แหล่งข้อมูล:[1] |
ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว (ญี่ปุ่น: 東京国際空港; โรมาจิ: Tōkyō Kokusai Kūkō) หรือรู้จักกันโดยทั่วไปว่า ท่าอากาศยานฮาเนดะ (ญี่ปุ่น: 羽田空港; โรมาจิ: Haneda Kūkō) เป็นหนึ่งในสองท่าอากาศยานที่ให้บริการเขตอภิมหานครโตเกียว ตั้งอยู่ที่เขตโอตะ, กรุงโตเกียว, ญี่ปุ่น โดยเป็นฐานการบินของเจแปนแอร์ไลน์, ออล นิปปอน แอร์เวย์, แอร์โด, โซลาร์ซีดแอร์, สกายมาร์กแอร์ไลน์, และสตาร์ฟลายเออร์
ในปี 2004 ท่าอากาศยานนานาชาตินาริตะ หรือท่าอากาศยานโตเกียวแห่งใหม่ ให้บริการเที่ยวบินระหว่างประเทศทั้งหมดของโตเกียว เหลือเพียงเที่ยวบินไปยังท่าอากาศยานนานาชาติกิมโป ในโซล เกาหลีใต้ เท่านั้นที่ยังให้บริการอยู่ที่ท่าอากาศยานฮาเนดะ
แม้ว่าสนามบินฮาเนดะจะให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศเป็นส่วนใหญ่ แต่ยอดผู้โดยสารที่มาใช้บริการมีจำนวนมากถึง 67 ล้านคน ในปี 2007 มากที่สุดทั้งในญี่ปุ่น และเอเชีย[2]
เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 2012 ทางท่าอากาศยานได้เปิดหอควบคุมการจราจรทางอากาศใหม่ รันเวย์ที่ 4 (รันเวย์ 05 และ 23) และอาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศใหม่ โดยอาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศหลังเก่าได้ถูกรือถอนไปแล้ว ทำให้สนามบินกลายเป็นท่าอากาศยานนานาชาติแห่งที่ 2 ของญี่ปุ่นอย่างเต็มรูปแบบ การพลิกโฉมสนามบินครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมให้โตเกียวเป็นศูนย์กลางทางการบินที่สามารถแข่งขันกับท่าอากาศยานนานาชาติอื่น ๆ เช่น ท่าอากาศยานนานาชาติอินช็อน และท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง เป็นต้น[3]
อาคารผู้โดยสาร และสายการบิน
[แก้]อาคารผู้โดยสาร 1
[แก้]อาคารผู้โดยสาร 2
[แก้]อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ แห่งใหม่
[แก้]- แอร์ไชน่า
- แอร์เอเชีย เอกซ์
- ออลนิปปอนแอร์เวย์
- แจแปนแอร์ไลน์
- การบินไทย
- ไชนาอีสเทิร์นแอร์ไลน์
- เอเชียนาแอร์ไลน์
- โคเรียนแอร์
- ฮาวายเอี่ยน แอร์
- เดลต้าแอร์ไลน์
- เอมิเรตส์แอร์ไลน์
- ซางไห่แอร์ไลน์
- คาเธ่ย์แปซิฟิค
- อีวีเอแอร์
- การูด้าอินโดนีเซีย
- มองโกเลียนแอร์ไลน์
- สิงคโปร์แอร์ไลน์
- บริติชแอร์เวย์
- อเมริกันแอร์ไลน์
- ไชน่าแอร์ไลน์
- MIAT Mongolian Airlines
ขนส่ง คาร์โก้
[แก้]ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "stats".
- ↑ "Airports welcome record 4.8 billion passengers in 2007". Airports Council International. 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2008. สืบค้นเมื่อ 7 ธันวาคม 2008.
- ↑ "CAPA Profiles Japan awards international Tokyo Haneda Airport slots, but Narita Airport remains the main hub". CAPA. 9 ตุลาคม 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 ตุลาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 21 ตุลาคม 2013.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว
- "Haneda Airport HND", Hanami Web, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 กุมภาพันธ์ 2008
- "ท่าอากาศยานนานาชาติโตเกียว", Japan Airport Terminal Co.
- "รีวิวสนามบินฮาเนดะ", reviewburi.com