ประเทศบาห์เรน
ราชอาณาจักรบาห์เรน | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
مملكة البحرين (อาหรับ) |
||||||
|
||||||
คำขวัญ: ไม่มี | ||||||
เพลงชาติ: Bahrainona (บาห์เรนของเรา) |
||||||
เมืองหลวง (และเมืองใหญ่สุด) | มานามา 26°13′N 50°35′E / 26.217°N 50.583°E | |||||
ภาษาราชการ | ภาษาอาหรับ | |||||
การปกครอง | ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ | |||||
• | พระมหากษัตริย์ | สมเด็จพระราชาธิบดีฮะมัด บิน อีซา อัลเคาะลีฟะฮ์ | ||||
• | นายกรัฐมนตรี | เคาะลีฟะฮ์ บิน ซัลมาน อัลเคาะลีฟะฮ์ | ||||
ได้รับเอกราช | ||||||
• | จากสหราชอาณาจักร | 15 สิงหาคม พ.ศ. 2514 | ||||
พื้นที่ | ||||||
• | รวม | 750 ตร.กม. (178) 253 ตร.ไมล์ |
||||
• | แหล่งน้ำ (%) | น้อยมาก | ||||
ประชากร | ||||||
• | กรกฎาคม 2548 (ประเมิน) | 688,345 (157) | ||||
• | ความหนาแน่น | 987 คน/ตร.กม. (?) 2,556 คน/ตร.ไมล์ |
||||
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | 2560 (ประมาณ) | |||||
• | รวม | $ 69.773 พันล้าน | ||||
• | ต่อหัว | $ 51,845 | ||||
จีดีพี (ราคาตลาด) | 2560 (ประมาณ) | |||||
• | รวม | $ 33.873 พันล้าน | ||||
• | ต่อหัว | $ 25,169 | ||||
HDI (2559) | ![]() |
|||||
สกุลเงิน | ดีนาร์บาห์เรน (BHD ) |
|||||
เขตเวลา | (UTC+3) | |||||
โดเมนบนสุด | .bh | |||||
รหัสโทรศัพท์ | 973 |
บาห์เรน (อังกฤษ: Bahrain; อาหรับ: البحرين) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน (อังกฤษ: Kingdom of Bahrain; อาหรับ: مملكة البحرين) เป็นประเทศเกาะในอ่าวเปอร์เซีย โดยมีสะพานเชื่อมต่อกับซาอุดีอาระเบียที่อยู่ห่างจากเกาะประมาณ 28 กิโลเมตร คือ สะพานคิงฟะฮัด ซึ่งเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1986 ส่วนสะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับกาตาร์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก
เนื้อหา
ภูมิศาสตร์[แก้]
ที่ตั้ง[แก้]
ทั้งเกาะบาห์เรนล้อมรอบด้วยอ่าวเปอร์เซีย
ลักษณะภูมิอากาศ[แก้]
ช่วงฤดูหนาว (ธันวาคม–มีนาคม) อุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 19 - 29 องศาเซลเซียส ช่วงฤดูร้อน (เดือนเมษายน-ตุลาคม) อากาศร้อนชื้น อุณหภูมิอาจสูงถึง 49 องศาเซลเซียส
ลักษณะภูมิประเทศ[แก้]
ภูมิประเทศเกือบทั้งหมดเป็นที่ราบต่ำในทะเลทราย ค่อย ๆ ชันขึ้น ทางตอนกลาง
ประวัติศาสตร์[แก้]
ยุคโบราณ[แก้]
ยุคอิสลาม[แก้]
ยุคสมัยใหม่[แก้]
ยุคศตวรรษที่ 19[แก้]
ประกาศเอกราช[แก้]
บาห์เรนเคยอยู่ใต้อารักขาของอังกฤษตั้งแต่ ค.ศ.1820 โดยอำนาจการปกครองถูกแบ่งออกระหว่างเจ้าครองนครกับข้าหลวงอังกฤษ อิหร่านเคยอ้างสิทธิเหนือบาห์เรนมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 แต่เมื่อ ค.ศ.1980 อิหร่านยอมรับรายงานของ UN ที่แสดงข้อเท็จจริงว่าชาวบาห์เรนต้องการเป็นอิสระมากกว่าที่จะถูกรวมไว้กับอิหร่าน บาห์เรนได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2514 ตามสนธิสัญญามิตรภาพฉบับใหม่ที่ทำกับอังกฤษ หลังจากที่ความพยายามในการรวมประเทศกับกาตาร์และกลุ่มรัฐสงบศึก (ปัจจุบันคือสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์) เป็นสหพันธรัฐไม่ประสบความสำเร็จ
บาห์เรนเป็นประเทศแรกในอ่าวอาหรับที่ขุดพบน้ำมันดิบ ใน พ.ศ. 2475 และมีการสร้างโรงกลั่นน้ำมันขึ้น อย่างไรก็ดี ปริมาณน้ำมันดิบที่ขุดพบในบาห์เรนนับว่ามีจำนวนไม่มากนักเมื่อเทียบกับคูเวตและซาอุดีอาระเบีย
การเมืองการปกครอง[แก้]
ราชาธิปไตยกึ่งรัฐสภา มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นไปตามผลการลงประชามติของชาวบาห์เรนเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 ปัจจุบัน คือ สมเด็จพระราชาธิบดีฮะมัด บิน อีซา อาล เคาะลีฟะฮ์ (His Majesty King Hamad Bin Isa Al Khalifa) เสด็จขึ้นครองราชย์ (ในฐานะเจ้าผู้ครองรัฐ) เมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2542
บริหาร[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
นิติบัญญัติ[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตุลาการ[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สิทธิมนุษยชน[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
ก่อนหน้า 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ประเทศบาห์เรนแบ่งเขตการปกครองเป็นเทศบาลที่ปกครองจากเมืองหลวง (กรุงมานามา) 12 แห่ง ได้แก่
- อัลฮิดด์ (Al Hidd)
- อัลมะนามะห์ (Al Manamah)
- อัลมินตะเกาะห์อัลกะร์บียะห์ (Al Mintaqah al Gharbiyah)
- อัลมินตะเกาะห์อัลวุสตะ (Al Mintaqah al Wusta)
- อัลมินตะเกาะห์อัลชะมาลียะห์ (Al Mintaqah al Shamaliyah)
- อัลมุฮาร์รัก (Al Muharraq)
- อาร์ริฟาวาอัลมินตะเกาะห์อัลจะนูบียะห์ (Ar Rifa' wa al Mintaqah al Janubiyah)
- จิดด์ฮัฟส์ (Jidd Haffs)
- มะดีนัตฮามัด (Madinat Hamad ไม่แสดงบนแผนที่ แบ่งจากเทศบาลอาร์ริฟาฯ เมื่อ พ.ศ. 2534)
- มะดีนัตอิซา (Madinat 'Isa)
- จุซูร์ฮะวาร์ (Juzur Hawar)
- ซิตระห์ (Sitrah)
หลังจากวันดังกล่าวบาห์เรนได้กำหนดเขตการปกครองใหม่ซึ่งแบ่งเป็น 5 เขตผู้ว่าราชการ (governorates) ได้แก่ 1 เขตผู้ว่าราชการเหนือ (Northern) 2 เขตผู้ว่าราชการเมืองหลวง (Capital) 3 เขตผู้ว่าราชการมุฮัรร็อก (Muharraq) 4 เขตผู้ว่าราชการกลาง (Central) และ 5 เขตผู้ว่าราชการใต้ (Southern)[1] ต่อมาเขตผู้ว่าราชการกลางถูกยกเลิกไปรวมกับเขตผู้ว่าราชการเหนือ เขตผู้ว่าราชการใต้ และเขตผู้ว่าราชการเมืองหลวง เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2557[2] ทำให้ปัจจุบันบาห์เรนมีเขตปกครองทั้งสิ้น 4 แห่งดังนี้
การต่างประเทศ[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความสัมพันธ์กับประเทศไทย[แก้]
ไทยและบาห์เรนได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2520 ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์อันใกล้ชิด บาห์เรนถือเป็นพันธมิตรที่สำคัญที่สุดในภูมิภาคตะวันออกกลางและมีบทบาทเป็นสะพานเชื่อมไทยสู่ประเทศในตะวันออกกลางในหลายมิติ
กองทัพ[แก้]
เศรษฐกิจ[แก้]
โครงสร้าง[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สถานการณ์เศรษฐกิจปัจจุบัน[แก้]
- อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 6.1 (ไทย 2.6%)
- ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 18.97 พันล้าน USD (ไทย 273.4 พันล้าน USD)
- รายได้ประชาชาติต่อหัว 18,979 USD (ไทย 4,081 USD)
- ปริมาณน้ำมันสำรอง 125 ล้านบาร์เรล
การท่องเที่ยว[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]
คมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]
คมนาคม[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โทรคมนาคม[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การศึกษา[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สาธารณสุข[แก้]
สวัสดิการสังคม[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ประชากรศาสตร์[แก้]
เชื้อชาติ[แก้]
ศาสนา[แก้]
ประชากรส่วนมากของประเทศนับถือ และยึดศาสนาอิสลามเป็นแบบแผน ในการดำเนินชีวิต ซึ่งจะเห็นได้ว่าสิ่งก่อสร้าง โบราณวัตถุ โบราณสถาน วัฒนธรรมต่างๆ เป็นสิ่งสะท้อนอิทธิพลของศาสนาอิสลามให้เห็นเด่นชัดในประเทศบาห์เรน และประชากรส่วนมากพูดภาษาอาหรับซึ่งใช้กันในแถบภูมิภาคนี้
ภาษา[แก้]
มี ภาษาอาหรับ เป็นภาษาราชการ
กีฬา[แก้]
ฟุตบอล[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
วัฒนธรรม[แก้]
การแต่งกาย[แก้]
เนื่องจากประเทศในแถบคาบสมุทรอาหรับเป็นประเทศที่มีสภาพอากาศร้อนและแห้งแล้ง อีกทั้งประชาชนยังนับถือศาสนาอิสลามซึ่งมีข้อกำหนดเกี่ยวกับการแต่งตัวไว้อย่างเคร่งครัด ทำให้ชาวอาหรับแต่งกายด้วยเสื้อผ้าที่หลวมเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้อย่างสะดวก แต่ปกปิดร่างกายอย่างมิดชิดทั้งผู้ชายและผู้หญิงเพื่อช่วยป้องกันไม่ให้ร่างกายเสียความชุ่มชื้น ผู้ชายจะใส่ชุดสีขาว เรียกว่า "โต๊ป" (Thobe) ส่วนผู้หญิงต้องสวมใส่เสื้อคลุมสีดำที่เรียกว่า "อาบายะห์" (Abaya)
ความเชื่อ[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สื่อมวลชน[แก้]
วันหยุด[แก้]
เชิงอรรถ[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- แม่แบบ:Cite EB9
- Cole, Juan R. I. (1987). "Rival Empires of Trade and Imami Shiism in Eastern Arabia, 1300–1800". International Journal of Middle East Studies. 19 (2): 177–203. JSTOR 163353.
Holdich, Thomas Hungerford (1911). "Bahrein Islands". In Chisholm, Hugh. สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911. 3 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. p. 212.
- Mojtahed-Zadeh, Pirouz (1999). Security and Territoriality in the Persian Gulf: A Maritime Political Geography. Routledge. ISBN 978-0-7007-1098-0.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
ค้นหาเกี่ยวกับ ประเทศบาห์เรน เพิ่มที่โครงการพี่น้องของวิกิพีเดีย | |
![]() |
บทนิยาม จากวิกิพจนานุกรม |
![]() |
สื่อ จากคอมมอนส์ |
![]() |
ทรัพยากรการเรียน จากวิกิวิทยาลัย |
![]() |
อัญพจน์ จากวิกิคำคม |
![]() |
ข้อความต้นฉบับ จากวิกิซอร์ซ |
![]() |
ตำรา จากวิกิตำรา |
- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
- Kingdom of Bahrain, Ministry of Foreign Affairs website
- Bahrain entry at The World Factbook
- แม่แบบ:GovPubs
- ประเทศบาห์เรน ที่ดีมอซ
- Bahrain profile from the BBC News
Wikimedia Atlas of Bahrain
ประเทศบาห์เรน คู่มือการท่องเที่ยวจากวิกิเดินทาง (อังกฤษ)
- Key Development Forecasts for Bahrain from International Futures
|
|
|