จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชักกันโฮ (ญี่ปุ่น: 尺貫法; โรมาจิ: Shakkan-hō) เป็นชื่อเรียกมาตราชั่งตวงวัดตามประเพณีญี่ปุ่น ชื่อ "ชักกันโฮ" นี้มาจากการประสมระหว่างคำว่า ชากุ (หน่วยวัดความยาว) และ คัง (หน่วยวัดมวล)
มีต้นกำเนิดมาจากจีน สมัยราชวงศ์ซางในช่วงก่อนคริสต์ศักราชราว 13 ศตวรรษ และมีเสถียรภาพมากที่สุดในยุคราชวงศ์โจว และเริ่มแพร่หลายไปในญี่ปุ่น, โชซ็อน และชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งหน่วยการวัดของราชวงศ์ถังได้รับการนำมาใช้อย่างเป็นทางการในญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 1244 และมีการปรับปรุงหน่วยการวัดในญี่ปุ่นเองนับแต่นั้นเรื่อยมา
ความยาว[แก้]
ตารางหน่วยความยาว
หน่วย
|
ชากุ
|
เมตริก
|
หน่วยการวัดของ อังกฤษ/สหรัฐอเมริกา
|
ไทย
|
โรมาจิ
|
คันจิ
|
มิลลิเมตร
|
เมตร
|
นิ้ว
|
ฟุต
|
หลา
|
โม
|
mō
|
毛, 毫
|
1/10000
|
0.03030
|
3.030×10−5
|
1.193×10−3
|
9.942×10−5
|
3.314×10−5
|
ริง
|
rin
|
厘
|
1/1000
|
0.3030
|
3.030×10−4
|
0.01193
|
9.942×10−4
|
3.314×10−4
|
บุ
|
bu
|
分
|
1/100
|
3.030
|
3.030×10−3
|
0.1193
|
9.942×10−3
|
3.314×10−3
|
ซุง
|
sun
|
寸
|
1/10
|
30.30
|
0.03030
|
1.193
|
0.09942
|
0.03314
|
ชากุ
|
shaku
|
尺
|
1
|
303.0
|
0.3030
|
11.93
|
0.9942
|
0.3314
|
เก็ง
|
ken
|
間
|
6
|
1818
|
1.818
|
71.58
|
5.965
|
1.988
|
ฮิโระ
|
hiro
|
尋
|
6
|
1818
|
1.818
|
71.58
|
5.965
|
1.988
|
โจ
|
jō
|
丈
|
10
|
3030
|
3.030
|
119.3
|
9.942
|
3.314
|
โช
|
chō
|
町
|
360
|
1.091×105
|
109.1
|
4295
|
357.9
|
119.3
|
ริ
|
ri
|
里
|
12,960
|
3.927×106
|
3927
|
1.546×105
|
1.288×104
|
4295
|
หมายเหตุ:
- shaku บางครั้งเป็นหน่วยในการวัดขนาดของเท้า [1]
- hiro เป็นหน่วยความลึกที่ชาวญี่ปุ่นเข้าใจ
- 1 chō = 60 ken ≈ 0.1091 กิโลเมตร ≈ 0.06779 ไมล์
- 1 ri = 36 chō ≈ 3.927 กิโลเมตร ≈ 2.440 ไมล์
|
พื้นที่[แก้]
ตารางหน่วยพื้นที่
ขนาด
|
สึโบะ
|
เมตริก
|
หน่วยการวัดของ อังกฤษ/สหรัฐอเมริกา
|
โรมาจิ
|
คันจิ
|
ตารางเมตร
|
ตารางนิ้ว
|
ตารางฟุต
|
ตารางหลา
|
1 shaku
|
勺
|
1/100
|
0.03306
|
51.24
|
0.3558
|
0.03954
|
gō
|
合
|
1/10
|
0.3306
|
512.4
|
3.558
|
0.3954
|
jō
|
畳
|
1/2
|
1.653
|
2562
|
17.79
|
1.979
|
tsubo
|
坪
|
1
|
3.306
|
5124
|
35.58
|
3.954
|
bu
|
歩
|
1
|
3.306
|
5124
|
35.58
|
3.954
|
se
|
畝
|
30
|
99.17
|
1.537×105
|
1067
|
118.6
|
tan
|
段, 反
|
300
|
991.7
|
1.537×106
|
1.067×104
|
1186
|
chō[2]
|
町 町歩
|
3000
|
9917
|
1.537×107
|
1.067×105
|
1.186×104
|
หมายเหตุ:
- 1 jō เป็นขนาดของเสื่อทาตามิ
- 1 tsubo = 1 ตาราง ken –ใช้ในการก่อสร้าง
- 1 bu = 1 ตาราง ken –ใช้ในการเกษตรกรรม
|
ปริมาตร[แก้]
ตารางหน่วยปริมาตร
ขนาด
|
โช
|
เมตริก
|
สหรัฐอเมริกา
|
อังกฤษ
|
ไทย
|
โรมาจิ
|
คันจิ
|
มิลลิลิตร
|
ลิตร
|
ออนซ์ของเหลว
|
ไพนต์
|
แกลลอน
|
ออนซ์ของเหลว
|
ไพนต์
|
แกลลอน
|
ไซ
|
sai
|
才
|
1/1000
|
1.804
|
1.804×10−3
|
0.06100
|
3.812×10−3
|
4.765×10−4
|
0.06349
|
3.174×10−3
|
3.968×10−4
|
ชากุ
|
shaku
|
勺
|
1/100
|
18.04
|
0.01804
|
0.6100
|
0.03812
|
4.765×10−3
|
0.6349
|
0.03174
|
3.968×10−3
|
โก
|
gō
|
合
|
1/10
|
180.4
|
0.1804
|
6.100
|
0.3812
|
0.04765
|
6.349
|
0.3174
|
0.03968
|
โช
|
shō
|
升
|
1
|
1804
|
1.804
|
61.00
|
3.812
|
0.4765
|
63.49
|
3.174
|
0.3968
|
โตะ
|
to
|
斗
|
10
|
1.804×104
|
18.04
|
610.0
|
38.12
|
4.765
|
634.9
|
31.74
|
3.968
|
โกกุ
|
koku
|
石
|
100
|
1.804×105
|
180.4
|
6100
|
381.2
|
47.65
|
6349
|
317.4
|
39.68
|
หมายเหตุ:
- gō เป็นปริมาตรในการริน สาเก
- shō (ราว 64.827 ลูกบาศก์ sun) เป็นขนาดทั่วไปของขวดสาเก (ปริมาตรบนฉลาก 1800 มิลลิลิตร)
- koku แต่เดิมเป็นปริมาณข้าวที่คน 1 คนจะรับประทานได้ใน 1 ปี
|
ตารางหน่วยมวล
ขนาด
|
มมเมะ
|
เมตริก
|
หน่วยการวัดของ อังกฤษ/สหรัฐอเมริกา
|
ไทย
|
โรมาจิ
|
คันจิ
|
มิลลิกรัม
|
กรัม
|
กิโลกรัม
|
แดรม
|
ออนซ์
|
ปอนด์
|
ฟุง
|
fun
|
分
|
1/10
|
375
|
0.375
|
3.75×10−4
|
0.2116
|
0.01323
|
8.267×10−4
|
มมเมะ
|
momme
|
匁
|
1
|
3750
|
3.75
|
3.75×10−3
|
2.116
|
0.1323
|
8.267×10−3
|
เฮียะกุเมะ
|
hyakume
|
百目
|
100
|
3.75×105
|
375
|
0.375
|
211.6
|
13.23
|
0.8267
|
กิง
|
kin
|
斤
|
160
|
6×105
|
600
|
0.6
|
338.6
|
21.16
|
1.323
|
กัง หรือ กัมเมะ
|
kan หรือ kanme
|
貫, 貫目
|
1000
|
3.75×106
|
3750
|
3.75
|
2116
|
132.3
|
8.267
|
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 鉄道省 (Tetsudō-shō ) [กระทรวงรถไฟญี่ปุ่น]. 日本鉄道史 [Nippon (Nihon) Tetsudō-shi ประวัติการรถไฟญี่ปุ่น]. โตเกียว: กระทรวงรถไฟญี่ปุ่น. 上巻 (Jōkan) [1 (ชุด 3 เล่ม)]. p. 49. 大正10年 (1921). (ภาษาญี่ปุ่น).
"ในเดือน 10 ปีเมจิที่ 3, (ราวพฤศจิกายน 1871) เรากำหนด 1 ฟุตอังกฤษเท่ากับ 1 ชากุ 4 ริน (1.004 ชากุ) ของทางรถไฟ"
- ↑ "Chōbu" ใช้เมื่อไม่ได้ตามด้วยเศษส่วน
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]