ข้ามไปเนื้อหา

ประเทศนีวเว

พิกัด: 19°03′S 169°51′W / 19.050°S 169.850°W / -19.050; -169.850
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นีวเว

Niuē  (Niuean)
ธงชาตินีวเว
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของนีวเว
ตราแผ่นดิน
เพลงชาติKo e Iki he Lagi  (นีวเว)
พระผู้เป็นเจ้าบนสวรรค์
ที่ตั้งของนีวเว
ที่ตั้งของประเทศนีวเวในแปซิฟิกตะวันตก
ที่ตั้งของประเทศนีวเวในแปซิฟิกตะวันตก
เมืองหลวง
และหมู่บ้านที่ใหญ่ที่สุด
อาโลฟี
19°03′14″S 169°55′12″W / 19.05389°S 169.92000°W / -19.05389; -169.92000
ภาษาราชการ
กลุ่มชาติพันธุ์
  • 66.5% นีวเว
  • 13.4% ลูกครึ่งนีวเว
  • 20.1% อื่น ๆ
ศาสนา
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา
ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
ภายใต้ประชาธิปไตยแบบไม่ระบุพรรค
สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3
ซินดี เคียโร
ดาลตัน ตาเกลางี
สภานิติบัญญัติสมัชชา
รัฐสัมพันธ์เสรีของนิวซีแลนด์
19 ตุลาคม ค.ศ. 1974
• อิสระในด้านการต่างประเทศรับรองโดยสหประชาชาติ[3][4]
ค.ศ. 1994
พื้นที่
• รวม
261.46[5] ตารางกิโลเมตร (100.95 ตารางไมล์)
น้อยมาก
ประชากร
• พ.ศ. 2560 ประมาณ
1,624[6] (ไม่จัดอันดับ)
• สำมะโนประชากร 2017
1,784[7]
6.71 ต่อตารางกิโลเมตร (17.4 ต่อตารางไมล์) (ไม่จัดอันดับ)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2003 (ประมาณ)
• รวม
10.0 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[8] (228th)
5,800 ดอลลาร์สหรัฐ[9] (อันดับที่ 164)
จีดีพี (ราคาตลาด) 2018 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 43.536 ล้านดอลลาร์นิวซีแลนด์ (30,510,028 ดอลลาร์สหรัฐ)[10]
สกุลเงินดอลลาร์นิวซีแลนด์[a] (NZD)
เขตเวลาUTC−11
ขับรถด้านซ้าย
รหัสโทรศัพท์+683
โดเมนบนสุด.nu
  1. ^ มีการใช้เงินสกุลดอลลาร์นีอูเอด้วย แต่ไม่เป็นทางการ

นีวเว[11] (อังกฤษ: Niue; นีวเว: Niuē) เป็นเกาะที่ตั้งอยู่ในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้ มักเรียกว่า "Rock of Polynesia"[12] นีวเวปกครองตนเอง แต่นอกจากนี้ นีวเวยังอยู่ในความสัมพันธ์เสรี (free association) กับประเทศนิวซีแลนด์ด้วย นั่นหมายความว่าประมุขโดยชอบธรรมของนิวซีแลนด์เป็นประมุขรัฐของนีวเวด้วย และความสัมพันธ์ทางการทูตส่วนใหญ่จะจัดโดยนิวซีแลนด์ นีวเวตั้งอยู่ห่างจากทางตะวันออกเฉียงเหนือของนิวซีแลนด์ 2,400 กิโลเมตร และตั้งอยู่ในบริเวณสามเหลี่ยมระหว่างประเทศตองงา ประเทศซามัว และหมู่เกาะคุก ชาวนีวเวร้อยละ 90 ถึง 95 อาศัยอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์[13] ซึ่งมีประมาณร้อยละ 70 ที่พูดภาษานีวเว[14]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. สมเด็จพระราชินีในสิทธิของนิวซีแลนด์ถูกนำเสนอด้วยผู้สำเร็จราชการนิวซีแลนด์ตามความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับนีวเว[2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Religions in Niue | PEW-GRF". www.globalreligiousfutures.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-14. สืบค้นเมื่อ 2021-12-14.
  2. "Niue National Strategic Plan 2016-2026" (PDF). Government of Niue. 2016. p. 35.
  3. "The World today" (PDF). UN.
  4. "Repertory of Practice – Organs Supplement" (PDF). UN. p. 10. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 19 October 2013.
  5. "Niue". GeoHive. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 October 2013. สืบค้นเมื่อ 5 October 2013.
  6. "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  7. "Niue Household and Population Census 2017" (PDF). niue.prism.spc.int. Niue Statistics Office. สืบค้นเมื่อ 5 May 2020.
  8. "The World Factbook – Central Intelligence Agency". www.cia.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-04. สืบค้นเมื่อ 2021-12-14.
  9. "The World Factbook – Central Intelligence Agency". www.cia.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-24. สืบค้นเมื่อ 2021-12-14.
  10. "Niue National Accounts estimates". niue.prism.spc.int. Niue Statistics Office. สืบค้นเมื่อ 5 May 2020.
  11. "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  12. "Introducing Niue". Lonely Planet. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-25. สืบค้นเมื่อ 24 October 2016.
  13. "QuickStats About Pacific Peoples". Statistics New Zealand. 2006. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 November 2011. สืบค้นเมื่อ 28 October 2011.
  14. Moseley, Christopher; R. E. Asher, บ.ก. (1994). Atlas of the World's Languages. New York: Routledge. p. 100.

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Niue, the Pacific island struggling to cope as its population plummets
  • Chapman, Terry M. (1976) – The Decolonisation of Niue.
  • Hekau, Maihetoe & al., Niue: A History of the Island, Suva: Institute of Pacific Studies (USP) & the government of Niue, 1982 [no ISBN]
  • Loeb, Edwin M. (1926) – History and Traditions of Niue.
  • Painter, Margaret and Kalaisi Folau (2000) – Tagi Tote e Loto Haaku, My Heart Is Crying a Little: Niue Island Involvement in the Great War, 1914–1918.
  • Smith, Percy – Niue-fekai (or Savage) Island and its People.
  • Sperlich, Wolfgang B. (2012) – Tohi Vagahau Niue/Niue Language Dictionary: Niuean-English, with English-Niuean Finderlist.
  • Thomson, Basil C. (2012) – Savage Island: An Account of a Sojourn in Niue and Tonga.
  • James P Terry and Warwick E Murray (edited by) - Niue Island: Geographical Perspectives on the Rock of Polynesia International Scientific Council for Island Development (INSULA), UNESCO, ISBN 9299002304.
  • SPREP, Rod Hay and Ralph Powlesland, Compiled by Joanna Sim –Guide to Birds of Niue
  • Tregear, Edward, "Niue: or Savage Island" เก็บถาวร 2010-06-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, The Journal of the Polynesian Society, vol.2, March 1893, pp. 11–16
  • W R Sykes – Contributions to the Flora of Niue
  • Dick Scott (1993) – Would a Good Man Die

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
รัฐบาล
ข้อมูลทั่วไป
การเดินทาง

19°03′S 169°51′W / 19.050°S 169.850°W / -19.050; -169.850