ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดของประเทศญี่ปุ่น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัด
都道府県
โทโดฟูเก็ง
หมวดหมู่เขตการปกครองระดับแรกของรัฐเดี่ยว
ที่ตั้งประเทศญี่ปุ่น
จำนวน47 จังหวัด
ประชากรน้อยที่สุด: ทตโตริ – 560,517 คน
มากที่สุด: โตเกียว – 13,843,403 คน
พื้นที่เล็กที่สุด: คางาวะ – 1,861.7 km2 (718.8 sq mi)
ใหญ่ที่สุด: ฮกไกโด – 83,453.6 km2 (32,221.6 sq mi)
หน่วยการปกครองกิ่งจังหวัด, อำเภอ

ประเทศญี่ปุ่นแบ่งออกเป็น 47 จังหวัด หรือภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า โทโดฟูเก็ง (ญี่ปุ่น: 都道府県โรมาจิtodōfuken, อังกฤษ: Prefectures) ซึ่งเป็นเขตการปกครองระดับแรกของประเทศ อันได้แก่

อนึ่ง เขตการปกครองในมหานครโตเกียว (ญี่ปุ่น: 東京都โรมาจิโทเกียวโตะ) มีการจัดเขตการปกครองท้องถิ่นพิเศษจากจังหวัดอื่น กล่าวคือ ฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นย่านชานเมือง มีเขตการปกครองดังเช่นจังหวัดอื่น แต่ฝั่งตะวันออก อันเป็นย่านเมืองเศรษฐกิจและมีประชากรหนาแน่น จำเป็นต้องมีการปกครองที่คล่องตัวตอบสนองกับเมืองใหญ่ จึงมีเขตพิเศษ (ญี่ปุ่น: 特別区โรมาจิโทกูเบ็ตสึกุ) จำนวน 23 เขต หรือเรียกว่า "เขตทั้งยี่สิบสาม" (ญี่ปุ่น: 23 区โรมาจินิจูซังกุ) ซึ่งมีสิทธิในการใช้สิทธิเลือกตั้งนายกเทศมนตรีเขตของตนเอง

รายชื่อจังหวัด

[แก้]

เรียงตามรหัสไอเอสโอ

[แก้]
ฮกไกโด โทโฮะกุ คันโต ชูบุ

1.  ฮกไกโด

2.  อาโอโมริ
3.  อิวาเตะ
4.  มิยางิ
5.  อากิตะ
6.  ยามางาตะ
7.  ฟูกูชิมะ

8.  อิบารากิ
9.  โทจิงิ
10.  กุมมะ
11.  ไซตามะ
12.  ชิบะ
13.  โตเกียว
14.  คานางาวะ

15.  นีงาตะ
16.  โทยามะ
17.  อิชิกาวะ
18.  ฟูกูอิ
19.  ยามานาชิ
20.  นางาโนะ
21.  กิฟุ
22.  ชิซูโอกะ
23.  ไอจิ

คันไซ ชูโงกุ ชิโกกุ คีวชูและโอกินาวะ

24.  มิเอะ
25.  ชิงะ
26.  เกียวโต
27.  โอซากะ
28.  เฮียวโงะ
29.  นาระ
30.  วากายามะ

31.  ทตโตริ
32.  ชิมาเนะ
33.  โอกายามะ
34.  ฮิโรชิมะ
35.  ยามางูจิ

36.  โทกูชิมะ
37.  คางาวะ
38.  เอฮิเมะ
39.  โคจิ

40.  ฟูกูโอกะ
41.  ซางะ
42.  นางาซากิ
43.  คูมาโมโตะ
44.  โออิตะ
45.  มิยาซากิ
46.  คาโงชิมะ
47.  โอกินาวะ

เรียงตามตัวอักษร

[แก้]
ตรา จังหวัด ตรา เมืองหลวง ภูมิภาค เกาะ
หลัก
ประชากร พื้นที่[1] ความ
หนาแน่น
จำนวน
อำเภอ
จำนวน
เทศบาล
ISO
รหัส
พื้นที่
 จังหวัดกิฟุ 岐阜県 กิฟุ 岐阜市 ชูบุ ฮนชู 2,023,000 10,621.29 191.4 9 42 JP-21 058
 จังหวัดกุมมะ 群馬県 มาเอบาชิ 前橋市 คันโต ฮนชู 1,984,000 6,362.28 310.2 7 35 JP-10 027
 จังหวัดเกียวโต 京都府 เกียวโต 京都市 คันไซ ฮนชู 2,596,000 4,612.20 565.9 6 26 JP-26 074
 จังหวัดคางาวะ 香川県 ทากามัตสึ 高松市 ชิโกกุ ชิโกกุ 984,000 1,876.78 520.5 5 17 JP-37 087
 จังหวัดคาโงชิมะ 鹿児島 คาโงชิมะ 鹿児島市 คีวชู คีวชู 1,661,000 9,187.06 179.4 8 43 JP-46 099
 จังหวัดคานางาวะ 神奈川 โยโกฮามะ 横浜市 คันโต ฮนชู 9,119,000 2,416.11 3,778.2 6 33 JP-14 045
 จังหวัดคูมาโมโตะ 熊本県 คูมาโมโตะ 熊本市 คีวชู คีวชู 1,793,000 7,409.46 241.2 9 45 JP-43 096
 จังหวัดโคจิ 高知県 โคจิ 高知市 ชิโกกุ ชิโกกุ 716,000 7,103.63 102.5 6 34 JP-39 088
 จังหวัดชิงะ 滋賀県 โอตสึ 大津市 คันไซ ฮนชู 1,406,000 4,017.38 351.8 3 19 JP-25 077
 จังหวัดชิซูโอกะ 静岡県 ชิซูโอกะ 静岡市 ชูบุ ฮนชู 3,684,000 7,777.35 475.8 5 35 JP-22 054
 จังหวัดชิบะ 千葉県 ชิบะ 千葉市 คันโต ฮนชู 6,214,000 5,157.57 1,206.8 6 54 JP-12 043
 จังหวัดชิมาเนะ 島根県 มัตสึเอะ 松江市 ชูโงกุ ฮนชู 699,000 6,707.89 103.5 5 19 JP-32 085
 จังหวัดซางะ 佐賀県 ซางะ 佐賀市 คีวชู คีวชู 821,000 2,440.69 341.4 6 20 JP-41 095
 จังหวัดไซตามะ 埼玉県 ไซตามะ さいたま市 คันโต ฮนชู 7,273,000 3,797.75 1,912 8 63 JP-11 048
จังหวัดโตเกียว โตเกียว 東京都 โตเกียว[2] 新宿区 คันโต ฮนชู 14,625,000 2,194.03 6,168.1 1 39 JP-13 03x
042
 จังหวัดทตโตริ 鳥取県 ทตโตริ 鳥取市 ชูโงกุ ฮนชู 564,000 3,507.14 163.6 5 19 JP-31 085
 จังหวัดโทกูชิมะ 徳島県 โทกูชิมะ 徳島市 ชิโกกุ ชิโกกุ 763,000 4,146.75 182.3 8 24 JP-36 088
 จังหวัดโทจิงิ 栃木県 อุตสึโนมิยะ 宇都宮市 คันโต ฮนชู 1,964,000 6,408.09 308.2 5 26 JP-09 028
 จังหวัดโทยามะ 富山県 โทยามะ 富山市 ชูบุ ฮนชู 1,073,000 4,247.58 251.2 2 15 JP-16 076
 จังหวัดนางาซากิ 長崎県 นางาซากิ 長崎市 คีวชู คีวชู 1,372,000 4,130.98 333.4 4 21 JP-42 095
 จังหวัดนางาโนะ 長野県 นางาโนะ 長野市 ชูบุ ฮนชู 2,104,000 13,561.56 154.8 14 77 JP-20 026
 จังหวัดนาระ 奈良県 นาระ 奈良市 คันไซ ฮนชู 1,357,000 3,690.94 369.8 7 39 JP-29 074
 จังหวัดนีงาตะ 新潟県 นีงาตะ 新潟市 ชูบุ ฮนชู 2,297,000 12,583.96 183.2 9 30 JP-15 025
 จังหวัดฟูกูชิมะ 福島県 ฟูกูชิมะ 福島市 โทโฮกุ ฮนชู 1,924,000 13,784.14 138.8 13 59 JP-07 024
 จังหวัดฟูกูอิ 福井県 ฟูกูอิ 福井市 ชูบุ ฮนชู 802,000 4,190.52 187.8 7 17 JP-18 077
 จังหวัดฟูกูโอกะ 福岡県 ฟูกูโอกะ 福岡市 คีวชู คีวชู 5,096,000 4,986.51 1,023.4 12 60 JP-40 092
 จังหวัดมิยางิ 宮城県 เซ็นได 仙台市 โทโฮกุ ฮนชู 2,326,000 7,282.29 320.5 10 35 JP-04 022
 จังหวัดมิยาซากิ 宮崎県 มิยาซากิ 宮崎市 คีวชู คีวชู 1,096,000 7,735.22 142.8 6 26 JP-45 098
 จังหวัดมิเอะ 三重県 สึ 津市 คันไซ ฮนชู 1,822,000 5,774.49 314.5 7 29 JP-24 059
 จังหวัดยามางาตะ 山形県 ยามางาตะ 山形市 โทโฮกุ ฮนชู 1,114,000 9,323.15 120.4 8 35 JP-06 023
 จังหวัดยามางูจิ 山口県 ยามางูจิ 山口市 ชูโงกุ ฮนชู 1,396,000 6,112.54 229.9 4 19 JP-35 083
 จังหวัดยามานาชิ 山梨県 โคฟุ 甲府市 ชูบุ ฮนชู 825,000 4,465.27 187 5 27 JP-19 055
 จังหวัดวากายามะ 和歌山県 วากายามะ 和歌山市 คันไซ ฮนชู 957,000 4,724.65 204 6 30 JP-30 075
 จังหวัดอากิตะ 秋田県 อากิตะ 秋田市 โทโฮกุ ฮนชู 986,000 11,637.52 87.9 6 25 JP-05 018
 จังหวัดอาโอโมริ 青森県 อาโอโมริ 青森市 โทโฮกุ ฮนชู 1,326,000 9,645.64 135.7 8 40 JP-02 017
 จังหวัดอิชิกาวะ 石川県 คานาซาวะ 金沢市 ชูบุ ฮนชู 1,135,000 4,186.21 275.8 5 19 JP-17 076
 จังหวัดอิบารากิ 茨城県 มิโตะ 水戸市 คันโต ฮนชู 2,904,000 6,097.39 478.6 7 44 JP-08 029
 จังหวัดอิวาเตะ 岩手県 โมริโอกะ 盛岡市 โทโฮกุ ฮนชู 1,266,000 15,275.01 83.8 10 33 JP-03 019
 จังหวัดเอฮิเมะ 愛媛県 มัตสึยามะ 松山市 ชิโกกุ ชิโกกุ 1,405,000 5,676.19 244.2 7 20 JP-38 089
 จังหวัดโอกายามะ 岡山県 โอกายามะ 岡山市 ชูโงกุ ฮนชู 1,914,000 7,114.33 270.2 10 27 JP-33 086
 จังหวัดโอกินาวะ 沖縄県 นาฮะ 那覇市 คีวชู หมู่เกาะ
รีวกีว
1,446,000 2,282.59 628.7 5 41 JP-47 098
 จังหวัดโอซากะ 大阪府 โอซากะ 大阪市 คันไซ ฮนชู 8,826,000 1,905.32 4,639.9 5 43 JP-27 06x
 จังหวัดโออิตะ 大分県 โออิตะ 大分市 คีวชู คีวชู 1,175,000 6,340.76 184 3 18 JP-44 097
 จังหวัดไอจิ 愛知県 นาโงยะ 名古屋市 ชูบุ ฮนชู 7,505,000 5,173.07 1,446.9 7 54 JP-23 052
 ฮกไกโด 北海道 ซัปโปโระ 札幌市 ฮกไกโด ฮกไกโด 5,373,000 83,424.44 68.6 66 180 JP-01 011–016
 จังหวัดฮิโรชิมะ 広島県 ฮิโรชิมะ 広島市 ชูโงกุ ฮนชู 2,835,000 8,479.65 335.5 5 23 JP-34 082
 จังหวัดเฮียวโงะ 兵庫県 โคเบะ 神戸市 คันไซ ฮนชู 5,547,000 8,401.02 659.1 8 41 JP-28 073

หมายเหตุ: ข้อมูลปี 2015; หน่วย ตร.กม.; หน่วย คน/ตร.กม.

จังหวัดในอดีตของญี่ปุ่น

[แก้]

จังหวัดที่เปลี่ยนแปลงระหว่างทศวรรษ 1880 และสงครามโลกครั้งที่สอง

[แก้]
จังหวัด ชื่อภาษาญี่ปุ่น ปีที่เปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง
คานาซาวะ 金沢県 1869 เปลี่ยนชื่อเป็นจังหวัดอิชิกาวะ
เซ็นได 仙台県 1871 เปลี่ยนชื่อเป็นจังหวัดมิยางิ
โมริโอกะ 盛岡県 1872 เปลี่ยนชื่อเป็นจังหวัดอิวาเตะ
นาโงยะ 名古屋県 1872 เปลี่ยนชื่อเป็นจังหวัดไอจิ
นูกาตะ 額田県 1872 ยุบไปรวมกับจังหวัดไอจิ
นานาโอะ 七尾県 1872 ยุบไปรวมกับจังหวัดอิชิกาวะและจังหวัดชิงกาวะ
อิรูมะ 入間県 1873 ยุบไปรวมกับจังหวัดคูมางายะและจังหวัดคานางาวะ
อิมบะ 印旛県 1873 ยุบไปรวมกับจังหวัดชิบะ
คิซาราซุ 木更津県 1873 ยุบไปรวมกับจังหวัดชิบะ
อุตสึโนมิยะ 宇都宮県 1873 ยุบไปรวมกับจังหวัดโทจิงิ
อาซูวะ 足羽県 1873 ยุบไปรวมกับจังหวัดสึรูงะ
คาชิวาซากิ 柏崎県 1873 ยุบไปรวมกับจังหวัดนีงาตะ
อิจิโนเซกิ→มิซูซาวะ→อิวาอิ 一関県→水沢県→磐井県 1875 ยุบไปรวมกับจังหวัดอิวาเตะและจังหวัดมิยางิ
โอกิตามะ 置賜県 1875 ยุบไปรวมกับจังหวัดยามางาตะ
ชินจิ 新治県 1875 ยุบไปรวมกับจังหวัดอิบารากิและจังหวัดชิบะ
ซากาตะ→สึรูโอกะ 酒田県→鶴岡県 1876 ยุบไปรวมกับจังหวัดยามางาตะ
ไทระ→อิวาซากิ 平県→磐前県 1876 ยุบไปรวมกับจังหวัดฟูกูชิมะและจังหวัดมิยางิ
วากามัตสึ 若松県 1876 ยุบไปรวมกับจังหวัดฟูกูชิมะ
ชิกูมะ 筑摩県 1876 ยุบไปรวมกับจังหวัดนางาโนะและจังหวัดกิฟุ
สึรูงะ 敦賀県 1876 ยุบไปรวมกับจังหวัดอิชิกาวะและจังหวัดชิงะ
ชิงกาวะ 新川県 1876 ยุบไปรวมกับจังหวัดอิชิกาวะ
ซาไก 堺県 1881 ยุบไปรวมกับจังหวัดโอซากะ
อาชิงาระ 足柄県 1876 ยุบไปรวมกับจังหวัดคานางาวะและจังหวัดชิซูโอกะ
คูมางายะ 熊谷県 1876 ยุบไปรวมกับจังหวัดกุมมะและจังหวัดไซตามะ
ไอกาวะ 相川県 1876 ยุบไปรวมกับจังหวัดนีงาตะ
ฮามามัตสึ 浜松県 1876 ยุบไปรวมกับจังหวัดชิซูโอกะ
ฮาโกดาเตะ 函館県 1886 ยุบไปรวมกับจังหวัดฮกไกโด
ซัปโปโร 札幌県 1886 ยุบไปรวมกับจังหวัดฮกไกโด
เนมูโระ 根室県 1886 ยุบไปรวมกับจังหวัดฮกไกโด
โตเกียว 東京府 1943 ปรับเปลี่ยนรูปแบบเป็นมหานครโตเกียว (東京都)

ดินแดนที่เสียไปหลังสงครามโลกครั้งที่สอง

[แก้]
ดินแดน จังหวัด ฝ่ายสัมพันธมิตร สถานะปัจจุบัน[3]
จังหวัด ชื่อภาษาญี่ปุ่น เมืองหลวง ประเทศ ชื่อ เมืองหลวง
ญี่ปุ่นแผ่นดินใหญ่ โอกินาวะ 沖縄県 นาฮะ  สหรัฐอเมริกา[4] ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น จังหวัดโอกินาวะ นาฮะ
คาราฟูโตะ 樺太庁 โทโยฮาระ  สหภาพโซเวียต ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ส่วนหนึ่งของซาฮาลิน ยุจโน-ซาฮาลินสค์
เกาหลี เฮอังเหนือ 平安北道 ชิงงิชู  สหภาพโซเวียต ธงของประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ พย็องอันเหนือ ชินอึยจู
เฮอังใต้ 平安南道 เฮโจ พย็องอันใต้ พย็องซ็อง
คังเกียวเหนือ 咸鏡北道 รานัง ฮัมกย็องเหนือ รานัม
คังเกียวใต้ 咸鏡南道 คังโก ฮัมกย็องใต้ ฮัมฮึง
โคไก 黃海道 ไคชู ฮวังแฮ แฮจู
โคเง็ง[5] 江原道 ชุนเซ็ง คังว็อน ชุนช็อน[6]
 สหรัฐอเมริกา ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ คังว็อน
ชูเซเหนือ 忠清北道 เซชู ชุงช็องเหนือ ช็องจู
ชูเซใต้ 忠清南道 ไทเด็ง ชุงช็องใต้ แทจ็อน
เคกิ 京畿道 เคโจ คย็องกี โซล
เคโชเหนือ 慶尚北道 ไทกีว คย็องซังเหนือ แทกู
เคโชใต้ 慶尚南道 ฟูซัง คย็องซังใต้ ปูซาน
เซ็นระเหนือ 全羅北道 เซ็นชู ช็อลลาเหนือ ช็อนจู
เซ็นระใต้ 全羅南道 โคชู ช็อลลาใต้ ควังจู
ไต้หวัน โฮโกะ 澎湖庁 มาโก  สหรัฐอเมริกา ธงของสาธารณรัฐจีน ไต้หวัน เผิงหู หม่ากง
คาเร็งโก 花蓮港庁 คาเร็งโก ฮวาเหลียน ฮวาเหลียน
ชินจิกุ 新竹州 ชินจิกุ ซินจู๋ ซินจู๋
ไทจู 台中州 ไทจู ไถจง ไถจง
ไทโฮกุ 台北州 ไทโฮกุ ไทเป ไทเป
ไทนัน 台南州 ไทนัน ไถหนัน ไถหนัน
ไทโต 台東庁 ไทโต ไถตง ไถตง
ทากาโอะ 高雄州 ทากาโอะ เกาสฺยง เกาสฺยง
คันโต[7] 関東州 ไดเร็ง  สหภาพโซเวียต[8] ธงของประเทศจีน จีน ส่วนหนึ่งของต้าเหลียน มณฑลเหลียวหนิง
นันโย[9] 南洋庁 โคโรรุ  สหรัฐอเมริกา[10] ธงของประเทศปาเลา ปาเลา เงรุลมุด
ธงของหมู่เกาะมาร์แชลล์ หมู่เกาะมาร์แชลล์ มาจูโร
ธงของประเทศไมโครนีเชีย ไมโครนีเชีย ปาลีกีร์
 สหรัฐอเมริกา  หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา ไซปัน

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "全国都道府県市区町村別面積調 (10月1日時点) [Areas of prefectures, cities, towns and villages (October 1)]" (PDF). Geospatial Information Authority of Japan. Ministry of Land, Infrastructure, Transport, and Tourism. October 1, 2020. p. 5. สืบค้นเมื่อ 18 March 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  2. 都庁は長野市. Tokyo Metropolitan Government. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 19, 2014. สืบค้นเมื่อ April 12, 2014. Shinjuku is the location of the Tokyo Metropolitan Government Office. But Tokyo is not a "municipality". Therefore, for the sake of convenience, the notation of prefectural is "Tokyo".
  3. ตารางนี้ไม่ได้แสดงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลังจากสงคราม เมืองหลวงเดิมของจังหวัดของญี่ปุ่นไม่จำเป็นต้องเทียบเท่ากับเมืองหลวงในปัจจุบัน
  4. บริหารโดยรัฐบาลกองทัพสหรัฐแห่งหมู่เกาะรีวกีว ส่งคืนให้ญี่ปุ่นในปี 1972
  5. เนื่องจากเกาหลีถูกแบ่งออกเป็นสองประเทศ ทำให้โคเง็ง (คังว็อน) เคกิ (คย็องกี) และโคไก (ฮวังแฮ) ถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนระหว่างเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ในขณะที่ทั้งสองประเทศมีจังหวัดคังวอนเป็นของตัวเองนั้น จังหวัดคย็องกีส่วนที่อยู่ในเกาหลีเหนือและจังหวัดฮวังแฮส่วนที่อยู่ในเกาหลีใต้ถูกรวมกับจังหวัดอื่น
  6. ชุนเซ็ง (ชุนช็อน) อยู่ในเขตเกาหลีใต้ในปัจจุบัน
  7. เช่าจากราชวงศ์ชิง ซึ่งต่อมาคือสาธารณรัฐจีนและแมนจูกัว
  8. หลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตเข้าครอบครองและในปี 1955 ได้ยกให้สาธารณรัฐประชาชนจีน
  9. ดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติ
  10. จากนั้นบริหารในฐานะดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]