โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้)
หัวข้อของบทความนี้อาจไม่ผ่านแนวปฏิบัติความโดดเด่นทั่วไป (ธันวาคม 2564) (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร) |
โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้) | |
---|---|
![]() | |
ที่ตั้ง | |
![]() | |
ข้อมูล | |
ประเภท | โรงเรียนรัฐบาล |
คำขวัญ | ดนตรีก้าวหน้า ยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลีกเลี่ยงยาเสพติด |
สถาปนา | 5 มิถุนายน พ.ศ. 2464อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย ![]() |
ท้องที่ | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา แม่ฮ่องสอน เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดแม่ฮ่องสอน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ |
ผู้อำนวยการ | สมบุญ มหาวรรณา (พ.ศ. 2563 - ปัจจุบัน) |
ความจุ | 1,000 (โดยประมาณ) |
ภาษา | ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาชนเผ่า ภาษาไตย |
สี | ███ น้ำเงิน ███ ชมพู |
เพลง | มาร์ชอนุบาลปาย (เวียงใต้) |
โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้) (อังกฤษ:Pai Kindergarten Wiang Tai ชื่อย่อ: อว.) เป็นโรงเรียน ประเภทโรงเรียนรัฐบาล ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2464 ในพื้นที่ อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยปัจุบัน สมบุญ มหาวรรณา เป็นผู้อำนวยการโรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้)
ประวัติสถานศึกษา[แก้]
เปิดสอนตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา ถึงระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น มีเนื้อที่ 21 ไร่ 1 งาน 42 ตารางวา ก่อตั้งขึ้นเมื่อ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2464 นายอำเภอสมัยนั้นเป็นจัดตั้ง อาศัยศาลาวัดหลวงเป็นสถานที่เรียน มีจำนวนนักเรียน ชาย หญิง รวม 50 คน โดยมี นายหมา เป็นครูสอนเพียงคนเดียว[1]
คณะผู้บริหารสถาบันการศึกษา[2][แก้]
ปี พ.ศ. 2564[แก้]
ตำแหน่ง | รูป | รายนาม | วาระตำแหน่ง |
---|---|---|---|
ผู้อำนวยการสถาบันการศึกษา | นายสมบุญ มหาวรรณา[3] | - ปัจจุบัน | |
รองผู้อำนวยการสถาบันการศึกษา | นายชินพันธ์ รัตน์ชุนันท์เดช[4] | - ปัจจุบัน | |
รานนามบุคคลสำคัญ[5][แก้]
ตามลำดับวาระตำแหน่ง[แก้]
- นายหมา
- นายดวงเนตร ศิริบุญมา
- นายอินสอน จันทร์แจ่ม
- นายลี นินทเสน
- นายเอื้อน สุขุมมินทร์
- นายบุพชน วาฤทธิ์
- นายสนิท สองเมือง
- นายเมือง เทพรัตน์
- นายรัตน์ บุญสงค์
- นายฟู วิสงค์
- นายมานิต พงษ์ฟอง
- นายประพันธ์ โยงเชื่อน
- นายสมเกียรติ แก้วบุตร
- นายพล ภาพพริ้ง
- นายเยร์ เทพเทวธรรม
- นายประพันธ์ พิทยพรอนันต์
- นายจิต อรุณฤกษ์
- นายดำริห์ จุลปิยะ
- นายมังกร รู้ประโยชน์ศิลป์
- นายจินต์ บุญนะ
- นายโกศล เชาว์เลขา
รายนามบุคคลสำคัญ ที่สร้างชื่อเสียงให้กับสถาบันการศึกษา[6][แก้]

ทีมทูบีนัมเบอร์วัน โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้) เมื่อปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2564[แก้]
- นางสาวรังสิยา ชัชวงศ์ (อาจารย์ รายวิชานาฎศิลป์ และศิลปะ) การแข่งขัน ทูบีนัมเบอร์วัน[7] และการแข่งขันศิลปะหัตถกรรม
- นางปนางฐิติยา จองหมุ่ง (อาจารย์ รายวิชาภาษาไทย) การแข่งขันศิลปะหัตถกรรม
- นางคำนึง อิธิตา (อาจารย์ รายวิชาภาษาไทย) การแข่งขันศิลปะหัตถกรรม
- นางสาวปณิดา ปันทนา (อาจารย์ รายวิชาสังคมศึกษา และประวัติศาสตร์) การแข่งขันศิลปะหัตถกรรม
- นางสาวปิยพรรณ์ มณีวรรณ (อาจารย์ รายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี) การแข่งขันศิลปะหัตถกรรม
- นางสาวจุฬารัตน์ รวมสุข (อาจารย์ รายวิชาภาษาอังกฤษ) การแข่งขันศิลปะหัตถกรรม
- นางสาวจิราพร ปัญญานันท์ (อาจารย์ รายวิชาคณิตศาสตร์) การแข่งขันศิลปะหัตถกรรม
และบุคคลอื่นๆ[แก้]
แม่แบบ:โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้)". data.bopp-obec.info.
- ↑ "โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้)". data.bopp-obec.info.
- ↑ "โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้)". data.bopp-obec.info.
- ↑ "โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้)". data.bopp-obec.info.
- ↑ "โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้)". data.bopp-obec.info.
- ↑ "โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้)". data.bopp-obec.info.
- ↑ to be number one โรงเรียนอนุบาลปาย (เวียงใต้), สืบค้นเมื่อ 2021-12-13