ผู้ใช้:ยุทธนาสาระขันธ์/ทดลองเขียน10

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ระบบขนส่งสาธารณะในประเทศไทย[แก้]

ทางบก[แก้]

ถนน[แก้]

ทางแยกในกรุงเทพมหานคร[แก้]


ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (มอเตอร์เวย์)[แก้]

  1. กรุงเทพ-ชลบุรี-มาบตาพุด (M7) เปิดให้บริการแล้ว
  2. บางปะอิน-โคราช (M6) กำลังก่อสร้างและเปิดให้ใช้งานฟรีในบางช่วง
  3. บางใหญ่-กาญจนบุรี (M81) กำลังก่อสร้าง
  4. บางขุนเทียน – ปากท่อ (M82) บนถนนพระราม 2 กำลังก่อสร้าง (ระยะทาง 81 กิโลเมตร ในระยะแรกจะดำเนินการก่อสร้างช่วงบางขุนเทียนถึงทางแยกต่างระดับบ้านแพ้ว) โดยมีจุดเริ่มต้นต่อจากทางพิเศษสายพระราม 3-ดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอกตะวันตก (ระยะทาง 18.7 กิโลเมตร คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ในปี พ.ศ. 2567)

รถโดยสารด่วนพิเศษ สายสาทร–ราชพฤกษ์[แก้]

รายละเอียดปลีกย่อยของระบบ
  • แบบมีประตู 2 ด้าน

ก่อสร้าง 2 ป้ายรถโดยสารใหม่ ได้แก่ สถานีแยกจันทน์-นราธิวาสราชนครินทร์ และ สถานีแยกนราธิวาสราชนครินทร์-รัชดาภิเษก พร้อมขยายเส้นทางจากสถานีสาทร ถึงรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล สถานีลุมพินี รวมทั้งเส้นทางส่วนต่อขยายในอนาคต จากสถานีลุมพินี ไปตามถนนวิทยุ ถึงรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีเพลินจิต สำหรับค่าโดยสาร กทม.จะเป็นผู้กำหนด โดยจะให้บริการทุกวัน ตั้งแต่เวลา 06.00-22.00 น. ความถี่ในการให้บริการไม่เกินกว่า 15 นาทีต่อคัน โดยช่วงเวลาเร่งด่วนไม่เกินกว่า 10 นาทีต่อคัน ช่วงนอกเวลาเร่งด่วนไม่เกินกว่า 15 นาทีต่อคัน[1]

รถโดยสารประจำทาง[แก้]

ทางเรือ[แก้]

ทางอากาศ[แก้]

ทางราง[แก้]

สถิติผู้ใช้บริการ[แก้]

ดร.พิเชฐ กล่าวว่าเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2566 มีผู้โดยสารที่ใช้บริการระบบรางสูงสุด จำนวน 1,900,790 คน-เที่ยว มากกว่าครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 จำนวน 126 คน-เที่ยว (27 พ.ย.66 จำนวน 1,900,664 คน-เที่ยว)[2]

1.รถไฟระหว่างเมืองของการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) จำนวน 86,013 คน-เที่ยว ประกอบด้วย

1.1 ขบวนรถโดยสารเชิงพาณิชย์ จำนวน 31,797 คน-เที่ยว 1.2 ขบวนรถโดยสารเชิงสังคม จำนวน 54,216 คน-เที่ยว

2. รถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (รวมรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง) จำนวน 1,814,777 คน-เที่ยว ประกอบด้วย

2.1 รถไฟฟ้า Airport Rail Link จำนวน 79,935 คน-เที่ยว (นิวไฮ) สูงสุดตั้งแต่มีสถานการณ์ covid-19

2.2 รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง จำนวน 34,515 คน-เที่ยว (รวมรถไฟทางไกลเชื่อมต่อสายสีแดงฟรี จำนวน 116 คน-เที่ยว)

2.3 รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) จำนวน 512,450 คน-เที่ยว

2.4 รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (สายสีม่วง) จำนวน 81,373 คน-เที่ยว

2.5 รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิทและสายสีลม จำนวน 954,047 คน-เที่ยว

2.6 รถไฟฟ้า สายสีทอง จำนวน 7,840 คน-เที่ยว

2.7 รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง จำนวน 49,579 คน-เที่ยว

2.8 รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู จำนวน 95,038 คน-เที่ยว

รถไฟฟ้าสายสีชมพู[แก้]

รายชื่อสถานีของรถไฟฟ้าสายสีชมพู[แก้]

รหัส ชื่อสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง ที่ตั้ง วันที่เปิดให้บริการ
แขวง/ตำบล เขต/อำเภอ จังหวัด
เส้นทางสายหลัก
PK01 ศูนย์ราชการนนทบุรี แม่แบบ:BTS Lines สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี
แม่แบบ:BTS Lines สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี
บางกระสอ เมืองนนทบุรี นนทบุรี พ.ศ. 2564
PK02 แคราย
PK03 สนามบินน้ำ ท่าทราย
PK04 สามัคคี
PK05 วัดชลประทาน บางตลาด ปากเกร็ด
PK06 แยกปากเกร็ด ปากเกร็ด
PK07 เลี่ยงเมืองปากเกร็ด
PK08 แจ้งวัฒนะ 28 คลองเกลือ
PK09 เมืองทองธานี
PK10 ศรีรัช เส้นทางสายแยก (อิมแพคลิงก์)
PK11 แจ้งวัฒนะ 14 ทุ่งสองห้อง หลักสี่ กรุงเทพมหานคร
PK12 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ
PK13 ทีโอที
PK14 หลักสี่ แม่แบบ:BTS Lines สถานีหลักสี่ ตลาดบางเขน
PK15 ราชภัฏพระนคร อนุสาวรีย์ บางเขน
PK16 วัดพระศรีมหาธาตุ แม่แบบ:BTS Lines สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ
PK17 รามอินทรา 3
PK18 ลาดปลาเค้า
PK19 รามอินทรา 10
PK20 มัยลาภ ท่าแร้ง
PK21 วัชรพล แม่แบบ:BTS Lines สถานีวัชรพล
PK22 รามอินทรา 40 รามอินทรา คันนายาว
PK23 คู้บอน
PK24 รามอินทรา 83
PK25 ปัญญาอินทรา คันนายาว
PK26 นพรัตน์
PK27 บางชัน มีนบุรี มีนบุรี
PK28 เศรษฐบุตรบำเพ็ญ
PK29 ตลาดมีนบุรี
PK30 มีนบุรี แม่แบบ:BTS Lines สถานีมีนบุรี
อาคารจอดแล้วจร, ศูนย์ซ่อมบำรุง
เส้นทางสายแยก (อิมแพคลิงก์)
PK10 ศรีรัช เส้นทางสายหลัก คลองเกลือ ปากเกร็ด นนทบุรี ยังไม่มีข้อสรุป
PKS01 อิมแพคชาเลนเจอร์ บ้านใหม่
PKS02 ทะเลสาบเมืองทองธานี

ทางรถไฟสายแรกของประเทศไทย[แก้]

รถรางในประเทศไทย[แก้]

ในอดีตประเทศไทยเคยมีการใช้รถรางครั้งแรกเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2431[3] โดยสายบางคอแหลมเป็นสายแรกเมื่อเริ่มแรกใช้กำลังม้าลากรถไปตามราง ซึ่งใช้เวลาการเดินทางมากจึงไม่เป็นที่นิยม ภายหลังเปลี่ยนมาใช้กำลังไฟฟ้าเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2437[3] และจนถึงวันที่ 1 ตุลาคม ปี พ.ศ. 2511 ได้ยกเลิกการเดินรถทุกเส้นทางอย่างถาวร[4]

เส้นทางรถรางกรุงเทพในอดีต[แก้]

แผนที่รถรางกรุงเทพสายต่าง ๆ

ระบบรถรางได้เปิดให้บริการทั้งสิ้น 11 สาย ดังนี้

  • สายบางคอแหลม ระยะทาง 9.2 กม. วิ่งระหว่างศาลหลักเมือง เข้าถนนเจริญกรุงถึงถนนตก (เส้นสีแดงเข้ม)
  • สายสามเสน ระยะทาง 11.3 กม. เริ่มจากบางซื่อ ไปตามถนนสามเสน เข้าถนนราชินี ออกมาเยาวราช เข้าถนนพระราม 4 และไปสิ้นสุดที่คลองเตย (เส้นสีแดงรวมกับเส้นสีน้ำเงิน)
  • สายดุสิต ระยะทาง 11.5 กม. เริ่มจากถนนสามเสนน่าจะเป็นบริเวณแยกซังฮี้ มาตามถนนสามเสน เลี้ยวซ้ายเข้าถนนพิษณุโลก จากนั้นเลี้ยวขวาเข้าถนนนครสวรรค์ ออกถนนจักรพรรดิพงษ์ เข้าถนนวรจักร และมาสิ้นสุดที่บริเวณจักรวรรดิ์
  • สายกำแพงเมือง ระยะทาง 7.0 กม. วิ่งเป็นวงกลมไปตามถนนมหาราช ถนนพระอาทิตย์ ถนนมหาไชย ถนนจักรเพชร และกลับมายังถนนมหาราชใหม่อีกครั้ง
  • สายบางซื่อ ระยะทาง 4 กม. เริ่มต้นที่สถานีรถไฟบางซื่อ ถนนเทอดดำริ เลี้ยวซ้ายเข้าถนนปูนซิเมนต์ไทย ถนนเตชะวณิช ผ่านตลาดบางซื่อ วัดธรรมาภิรตาราม เลี้ยวขวาเข้าถนนทหาร เลี้ยวซ้ายเข้าถนนสามเสน เลี้ยวขวาเข้าซอยสามเสน 23 สุดที่ท่าเขียวไข่กา
  • สายหัวลำโพง ระยะทาง 4.4 กม. เริ่มจากสถานีรถไฟหัวลำโพง มาตามถนนกรุงเกษม เลี้ยวซ้ายเข้าถนนบำรุงเมือง ไปออกถนนตะนาว และสิ้นสุดที่บางลำพู
  • สายสีลม ระยะทาง 4.5 กม. เริ่มจากถนนสีลมปลายด้านถนนเจริญกรุง ไปตามถนนสีลม ออกถนนราชดำริ และไปสิ้นสุดที่ท่าเรือประตูน้ำ
  • สายปทุมวัน ระยะทาง 4.5 กม. เริ่มจากสะพานกษัตริย์ศึก แยกกษัตริย์ศึก (ยศเส) ไปตามถนนพระรามที่ 1 มาบุญครอง สยาม สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เลี้ยวซ้ายเข้าถนนราชดำริ ผ่านหน้าเซ็นทรัลเวิลด์ สิ้นสุดทางที่ท่าเรือประตูน้ำ
  • สายสุโขทัย ระยะทาง 0.6 กม. น่าจะเริ่มจากแม่น้ำเจ้าพระยาตรงสุดถนนสุโขทัย เลี้ยวขวาเข้าถนนขาวและเลี้ยวซ้ายเข้าถนนราชวิถี สิ้นสุดที่ถนนสามเสนตรงแยกซังฮี้
  • สายอัษฏางค์ ระยะทาง 0.5 กม. เริ่มจากบริเวณท่าเรือราชินีมายังถนนพระพิพิธ
  • สายราชวงศ์ ระยะทาง 0.5 กม. เริ่มจากท่าน้ำราชวงศ์มาบรรจบถนนเจริญกรุง

รถไฟไทย[แก้]

ทางรถไฟของประเทศไทย[แก้]

สถานีชุมทางรถไฟในประเทศไทย[แก้]

มีทั้งหมด 15 ชุมทาง ประกอบด้วย

กรุงเทพมหานคร
  1. สถานีชุมทางบางซื่อ
  2. สถานีชุมทางตลิ่งชัน
ภาคกลาง
  1. สถานีรถไฟชุมทางบ้านไผ่นาบุญ อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี
  2. สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
  3. สถานีรถไฟชุมทางหนองบัว จังหวัดสระบุรี
  4. สถานีรถไฟชุมทางบ้านภาชี พระนครศรีอยุธยา
  5. สถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา
  6. สถานีรถไฟชุมทางศรีราชา จังหวัดชลบุรี
  7. สถานีรถไฟชุมทางหนองปลาดุก จังหวัดราชบุรี
ภาคเหนือ
  1. สถานีรถไฟชุมทางเด่นชัย จังหวัดแพร่
  2. สถานีรถไฟชุมทางบ้านดารา อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  1. สถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ จังหวัดนครราชสีมา
ภาคใต้
  1. สถานีรถไฟชุมทางเขาชุมทอง อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช
  2. สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
  3. สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่[แก้]

สายเหนือ[แก้]

ช่วงลพบุรี–ปากน้ำโพ[แก้]

ช่วงเด่นชัย–เชียงราย–เชียงของ[แก้]

ช่วงบ้านไผ่–มุกดาหาร[แก้]

  • จากจังหวัดขอนแก่น สิ้นสุดที่สะพานมิตรภาพ 3 คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2570

ช่วงนครสวรรค์–แม่สอด[แก้]

สายตะวันออกเฉียงเหนือ[แก้]

ช่วงมาบกะเบา–ชุมทางถนนจิระ[แก้]

ระยะทาง 135 กิโลเมตร แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ

ช่วงที่ 1 สถานีรถไฟมาบกะเบา - สถานีรถไฟคลองขนานจิตร ระยะทาง 58 กิโลเมตร โดยมีอุโมงค์ทางรถไฟ ดังนี้

  1. มาบกระเบา - หินลับ เป็นอุโมงค์คู่ทางเดี่ยว ยาว 5,850 เมตร (ยาวที่สุดในประเทศไทย)
  2. มวกเหล็ก เป็นอุโมงค์เดี่ยวทางคู่ ยาว 265 เมตร
  3. สถานีรถไฟคลองขนานจิตร - เขื่อนลำตะคอง เป็นอุโมงค์คู่ทางเดี่ยว ยาว 1,150 เมตร

ทางรถไฟยกระดับ ยาว 5 กิโลเมตร และมีเสาตอม่อรถไฟที่สูงที่สุดในประเทศไทย 50 เมตร

ช่วงที่ 2 สถานีรถไฟคลองขนานจิตร - สถานีรถไฟชุมทางถนนจิระ ระยะทาง 69 กิโลเมตร (ยังไม่ก่อสร้าง อยู่ระหว่างปรับแบบก่อสร้าง ในพื้นที่เขตอำเภอเมืองนครราชสีมา)

ช่วงชุมทางถนนจิระ - ขอนแก่น[แก้]

เปิดให้บริการแล้ว

ช่วงชุมทางถนนจิระ-อุบลราชธานี[แก้]

โครงการ

ช่วงขอนแก่น-หนองคาย[แก้]

โครงการ

สายใต้[แก้]

ช่วงนครปฐม - หัวหิน[แก้]

ช่วงหัวหิน - ประจวบคีรีขันธ์[แก้]

ช่วงประจวบคีรีขันธ์ - ชุมพร[แก้]

คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี 2567

อุโมงค์ทางรถไฟลอด[แก้]

อุโมงค์ทางรถไฟลอดของไทยมีทั้งหมด 7 แห่ง ดังนี้

  1. อุโมงค์ขุนตาน เป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอดผ่านที่ยาวที่สุดในประเทศไทย มีความยาว 1,352.10 เมตร ตั้งอยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่อุทยานแห่งชาติดอยขุนตาล ระหว่างอำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง กับอำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน
  2. อุโมงค์พระพุทธฉาย เป็นอุโมงค์ทางรถไฟลอดที่ยาวเป็นอันดับที่ 2 และเป็นอุโมงค์เพียงแห่งเดียวในเส้นทางรถไฟสายชายฝั่งทะเลตะวันออก มีความยาวรองจากอุโมงค์ขุนตาน ตัวอุโมงค์ยาว 1,197 เมตร ตั้งอยู่ระหว่างสถานีรถไฟบุใหญ่ กับสถานีรถไฟวิหารแดง ในเขตตำบลพระฉาย อำเภอเมืองสระบุรี จังหวัดสระบุรี

คิฮะ 183[แก้]

คิฮะ 183 ซีรีส์ จำนวน 17 คันได้รับบริจาคจากประเทศญี่ปุ่น โดย 3 คันได้บูรณะเสร็จในเดือนกันยายน 2565 และเริ่มให้บริการปลายปี 2565

ที่สุดในประเทศไทย[แก้]

  • รถไฟฟ้าสายที่ยาวที่สุด (พ.ศ. 2563) คือ รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท (คูคต - เคหะฯ) มีความยาว 53.58 กิโลเมตร

โครงการก่อสร้างรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน (สายอีสาน)[แก้]

  • ใช้โครงสร้างร่วมกับสายเชื่อมสนามบิน ช่วงบางซื่อ - ดอนเมือง และสายเหนือ ช่วงดอนเมือง - บ้านภาชี (อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) โดยทางวิ่งจะยกระดับที่ความสูง 20 เมตรตลอดเส้นทางดังกล่าวนี้ แบ่งช่วงการก่อสร้าง ดังต่อไปนี้
  1. ช่วงสถานีกลางบางซื่อ - ดอนเมือง ระยะทาง 11.83 กิโลเมตร (ก่อสร้างโดยบริษัท เอเชีย เอรา วัน จำกัด)
  2. ช่วงดอนเมือง - นวนคร ระยะทาง 21.80 กิโลเมตร
  3. ช่วงนวนคร - บ้านโพ อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระยะทาง 23 กิโลเมตร
  4. ช่วงบ้านโพ - พระแก้ว ระยะทาง 13.30 กิโลเมตร
  5. ช่วงพระแก้ว - สระบุรี ระยะทาง 31.6 กิโลเมตร
  6. ช่วงสระบุรี - แก่งคอย ระยะทาง 12.99 กิโลเมตร

รถไฟฟ้าบีทีเอส[แก้]

อัตราค่าโดยสาร[แก้]

ในการให้บริการ รถไฟฟ้าบีทีเอส จะแบ่งช่วงราคาอัตราค่าโดยสารเป็น 5 โซน ดังต่อไปนี้

ทั้งนี้ กรุงเทพมหานคร กรุงเทพธนาคม และบีทีเอส มีนโยบายลดภาระค่าโดยสารร่วมกันโดยการลดค่าแรกเข้าระหว่างโซน เช่นเดินทางจากสถานีคูคต ไปสถานีเคหะฯ จะได้รับส่วนลดค่าแรกเข้าระหว่างโซน 30 บาท ซึ่งเมื่อรวมค่าโดยสารทั้งสามโซนแล้ว สายสุขุมวิท จะมีอัตราค่าโดยสารสูงสุด 104 บาทตลอดสาย ในส่วนสายสีลม จะลดค่าแรกเข้าระหว่างโซน 15 บาท ซึ่งเมื่อรวมค่าโดยสารทั้งสองโซนแล้ว จะมีอัตราค่าโดยสารสูงสุด 53 บาท

ในปัจจุบัน บีทีเอสมีนโยบายลดค่าโดยสาร 50% จากอัตราค่าโดยสารที่เรียกเก็บเมื่อใช้บัตรแรบบิทประเภทผู้สูงอายุ และกรุงเทพมหานครมีนโยบายลดค่าโดยสารในสถานีส่วนต่อขยายสำหรับทั้งบัตรนักเรียน นักศึกษา และบัตรผู้สูงอายุ จาก 15 บาทตลอดสาย เหลือ 7-10 บาท

แม่แบบ:สถานีรถไฟฟ้า BTS สายสุขุมวิท[แก้]

ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ ที่ตั้ง
คูคต ธันวาคม พ.ศ. 2563 ปทุมธานี
แยก คปอ. กรุงเทพมหานคร
พิพิธภัณฑ์กองทัพอากาศ
โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
สะพานใหม่
สายหยุด
พหลโยธิน 59
วัดพระศรีมหาธาตุ แม่แบบ:BTS Lines สถานีวัดพระศรีมหาธาตุ (กำลังก่อสร้าง)
กรมทหารราบที่ 11
บางบัว (มหาวิทยาลัยศรีปทุม)
กรมป่าไม้
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ แม่แบบ:BTS Lines สถานีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (โครงการ) ธันวาคม พ.ศ. 2562
เสนานิคม
รัชโยธิน
พหลโยธิน 24 แม่แบบ:BTS Lines สถานีพหลโยธิน 24 (โครงการ)
ห้าแยกลาดพร้าว แม่แบบ:BTS Lines สถานีพหลโยธิน 9 สิงหาคม พ.ศ. 2562
หมอชิต แม่แบบ:BTS Lines สถานีสวนจตุจักร 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542
สะพานควาย
อารีย์
สนามเป้า
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ แม่แบบ:BTS Lines สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (โครงการ)
พญาไท แม่แบบ:BTS Lines สถานีพญาไท
แม่แบบ:BTS Lines สถานีพญาไท (โครงการ)
ราชเทวี แม่แบบ:BTS Lines สถานีราชเทวี (โครงการ)
สยาม แม่แบบ:BTS Lines (สถานีร่วม)
แม่แบบ:BTS Lines สถานีสยาม (โครงการ)
แม่แบบ:BTS Lines สถานีประตูน้ำ (โครงการ)
ชิดลม แม่แบบ:BTS Lines สถานีประตูน้ำ (โครงการ)
เพลินจิต
นานา
อโศก แม่แบบ:BTS Lines สถานีสุขุมวิท
พร้อมพงษ์
ทองหล่อ แม่แบบ:BTS Lines สถานีทองหล่อ (โครงการ)
เอกมัย
พระโขนง แม่แบบ:BTS Lines สถานีพระโขนง (โครงการ)
อ่อนนุช
บางจาก 12 สิงหาคม พ.ศ. 2554
ปุณณวิถี
อุดมสุข แม่แบบ:BTS Lines สถานีบางนา (โครงการ)
บางนา
แบริ่ง
สำโรง แม่แบบ:BTS Lines สถานีสำโรง (กำลังก่อสร้าง) 3 เมษายน พ.ศ. 2560 สมุทรปราการ
ปู่เจ้า 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561
ช้างเอราวัณ
โรงเรียนนายเรือ
ปากน้ำ
ศรีนครินทร์
แพรกษา
สายลวด
เคหะฯ

แม่แบบ:ระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร[แก้]

การมองเห็นเริ่มต้นของแม่แบบนี้ ปัจจุบันมีค่าเริ่มต้นเป็น autocollapse หมายความว่า หากมีวัตถุอื่นที่มีคุณลักษณะยุบได้วางอยู่ในหน้า (navbox, sidebar หรือตารางที่ยุบได้) แม่แบบนี้จะถูกซ่อนให้เหลือแต่แถบชื่อเรื่อง หากไม่มี ก็จะสามารถเห็นได้ทั้งหมด

ในการตั้งค่าการมองเห็นเริ่มต้นของแม่แบบนี้ ให้ใช้พารามิเตอร์ |state= ดังนี้

  • {{ยุทธนาสาระขันธ์|state=collapsed}} จะแสดงแม่แบบนี้ในสภาพยุบ กล่าวคือ ถูกซ่อนให้เหลือแต่แถบชื่อเรื่อง
  • {{ยุทธนาสาระขันธ์|state=expanded}} จะแสดงแม่แบบนี้ในสภาพขยาย กล่าวคือ สามารถเห็นได้ทั้งหมด


อ้างอิง[แก้]

  1. รอบีอาร์ทีโฉมใหม่ใช้รถเมล์ไฟฟ้าติด GPS ขยายไปถึง MRT ลุมพินี
  2. ผู้โดยสารระบบรางพุ่งเฉียด 2 ล้านคน ทุบสถิติสูงสุด รถไฟฟ้าแอร์พอร์ตลิงก์ นิวไฮ 7.9 หมื่นคน (วันที่ 9 ธันวาคม 2566)
  3. 3.0 3.1 เพิ่มศักดิ์ วรรลยางกูล. "ประวัติรถราง". เมืองไทยในอดีต. พระนคร : วัฒนาพานิช, 2503.
  4. "นิตยสารสกุลไทย - สะพานเก่าในอดีต". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-09-17. สืบค้นเมื่อ 2012-01-02.
  5. โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ ช่วงลพบุรี - ปากน้ำโพ
  6. "ด่วน ปรับขึ้นราคาค่าโดยสารบีทีเอสเป็น 17-47 บาท". bangkokbiznews. 2022-11-30.