ข้ามไปเนื้อหา

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

พิกัด: 13°45′53″N 100°32′19″E / 13.76472°N 100.53861°E / 13.76472; 100.53861
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550
แผนที่
ผู้ออกแบบหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล
ประเภทอนุสาวรีย์
ความสูง50 เมตร
เริ่มก่อสร้างพ.ศ. 2484
สร้างเสร็จพ.ศ. 2485
การเปิด24 มิถุนายน พ.ศ. 2485
อุทิศแด่ทหาร ตำรวจ และพลเรือนที่เสียชีวิตไปในกรณีพิพาทอินโดจีนและสมรภูมิอื่น ๆ
วงเวียน ทางแยก
ชื่ออักษรไทยอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
ชื่ออักษรโรมันVictory Monument
รหัสทางแยกN107
ที่ตั้งแขวงทุ่งพญาไทและแขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
ทิศทางการจราจร
ถนนพหลโยธิน
» สะพานควาย-ห้าแยกลาดพร้าว
ถนนราชวิถี
» แยกสามเหลี่ยมดินแดง
ถนนพญาไท
» แยกรางน้ำ
ถนนราชวิถี
» แยกตึกชัย

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เป็นอนุสาวรีย์ในกรุงเทพมหานคร โดยรอบเป็นวงเวียนอยู่กึ่งกลางระหว่างถนนพหลโยธิน ถนนราชวิถี และถนนพญาไท โดยตั้งอยู่ที่ กม.4+700 ของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ซึ่ง กม.0+000 ได้เริ่มนับมาจากอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนินกลาง โดยที่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมินี้เป็นจุดเริ่มต้นของการเรียกชื่อถนนพหลโยธิน

ประวัติ

[แก้]

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิสร้างขึ้นเพื่อเทิดทูนวีรกรรมของทหาร ตำรวจ และพลเรือนที่เสียชีวิตไปในกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส เรื่องการปรับปรุงพรมแดนไทยกับอินโดจีนฝรั่งเศส ซึ่งในครั้งนั้นมีผู้เสียชีวิต 59 คน ทั้งทหาร ตำรวจ และพลเรือน โดยพลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นผู้วางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 และจอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นผู้ทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2485 สถาปนิกผู้ออกแบบอนุสาวรีย์คือ หม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล

ก่อนที่จะมีการสร้างวงเวียนอนุสาวรีย์ บริเวณจุดตัดของถนนพญาไท ถนนราชวิถี และถนนพหลโยธินนี้ มีชื่อเรียกว่า สี่แยกสนามเป้า

ความหมาย

[แก้]

การออกแบบอนุสาวรีย์ของหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล มีแรงบันดาลใจสี่ประการ คือ

  • ปฏิบัติการของนักรบทั้ง 5 เหล่า (ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ตำรวจ และข้าราชการพลเรือน)
  • ปฏิบัติการอย่างกล้าหาญของกำลังพลโดยเฉพาะ
  • อาวุธที่ทหารใช้สู้รบ
  • เหตุการณ์ที่สำคัญที่ต้องเปิดการสู้รบ
ตรงกลางอนุสาวรีย์เป็นรูปดาบปลายปืนจำนวน 5 เล่มประกอบรวมกัน

ประติมากรรมนักรบ 5 เหล่า (ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ตำรวจ และข้าราชการพลเรือน)[1] หม่อมหลวงปุ่มใช้ดาบปลายปืนซึ่งเป็นอาวุธประจำกายทหาร โดยใช้ดาบปลายปืนห้าเล่มรวมกัน จัดตั้งเป็นกลีบแบบลูกมะเฟือง ปลายดาบชี้ขึ้นบน ส่วนคมของดาบหันออก ก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กประดับหินอ่อน มีความสูงประมาณ 50 เมตร ดาบปลายปืนส่วนด้ามตั้งเหนือเพดานห้องโถงใหญ่ ซึ่งใช้เก็บกระสุนปืนใหญ่บรรจุอัฐิทหารที่เสียชีวิตในกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส ด้านนอกตอนโคนดาบปลายปืนมีรูปปั้นหล่อทองแดงขนาดสองเท่าคนธรรมดาของนักรบ 5 เหล่า คือ ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ตำรวจ และพลเรือน ศิลปินผู้ปั้นรูปเหล่านี้เป็นลูกศิษย์ของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เช่น สิทธิเดช แสงหิรัญ, อนุจิตร แสงเดือน, พิมาน มูลประสุข, แช่ม ขาวมีชื่อ ภายใต้การควบคุมของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ด้านนอกของผนังห้องโถงเป็นแผ่นทองแดงจารึกนามผู้เสียชีวิต รายนามผู้ที่ได้รับการจารึกไว้มีทั้งสิ้น 160 นาย เป็นทหารบก 94 นาย ทหารเรือ 41 นาย ทหารอากาศ 13 นาย และตำรวจสนาม 12 นาย จนถึงปัจจุบันแผ่นทองแดงจารึกรายนามผู้เสียชีวิตและผู้สละชีพเพื่อชาติจากสงครามต่าง ๆ ตั้งแต่ พ.ศ. 2483–2497 รวมทั้งสิ้น 801 นาย

รายชื่อที่ปรากฏในแผ่นป้ายของอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ (ด้านนอกผนังห้องโถง)
  • พันโท จำลอง อัญชันภาติ
  • ร้อยโท นาค ชานยิ้ม
  • ร้อยตรี ทองอยู่ ภู่สุวรรณ
  • จ่าสิบเอก น้อม กาญจนลักษณ์
  • จ่าสิบเอก จอม น้อยจิตต์
  • จ่าสิบเอก บุญเทือง บุญทอง
  • จ่าสิบเอก ยุ่น บุญอิน
  • จ่าสิบเอก เรียง ฤทธิโยธี
  • จ่าสิบเอก ถนอม แซ่เตียม
  • จ่าสิบเอก เนย โพธิศรี
  • จ่ายสิบเอก ชง ลือชา
  • จ่าสิบโท บุญชู เพ็ญฉาย
  • จ่าสิบโท สริน คุชริก
  • จ่าเอก รัก ชัชนาค
  • จ่าเอก นุน สุกรี
  • จ่าเอก แตม ศรีสมบูรณ์
  • จ่าเอก ดวง คำหน่อเนียง
  • จ่าเอก จันท์ อุงเยี่ยม
  • พันโท สนาน สุทธิโรจน์
  • ร้อยโท สถิต โรหิตโยธิน
  • ร้อยตรี อุ่น นุชทองม่วง
  • จ่าสิบเอก ทอง เกยุประทุม
  • จ่าสิบเอก เพ็ง ฟักสุด
  • จ่าสิบเอก จิน สุไตรทอน
  • จ่าสิบเอก มณี นาคทอง
  • จ่าสิบเอก ชาดา ตลับทอง
  • จ่าสิบเอก สวน หาสูงเนิน
  • จ่าสิบเอก นิล สุวคมรำ
  • จ่าสิบเอก เสาร์ อินชัยภูมิ
  • จ่าสิบโท ไช้ เฮงฮะ
  • จ่าสิบโท เบี้ยว การยุดดี
  • สิบเอก คำจันทร์ เสรี
  • สิบเอก เจริญ ศิลปะประเสริฐ
  • สิบเอก เหรียญ ทองน้อย
  • สิบเอก คำอ้าง สังภา
  • พันตรี คมเรส จันทเรือง
  • ร้อยโท ประสงค์ ทัศนพยัค
  • ร้อยตรี อำ สำเร็จงาน
  • จ่าสิบเอก โสภา ดอนสีดา
  • จ่าสิบเอก น้อย นาคพิมล
  • จ่าสิบเอก เปรม คงชื่นจิตต์
  • จ่าสิบเอก ผล น่วงมาก
  • จ่าสิบเอก เฮง อุพตาม
  • จ่าสิบเอก เก่ง กร่อยสันเทียะ
  • จ่าสิบเอก กวน แซ่อึ้ง
  • จ่าสิบเอก พัน หรั่งพากกะวาง
  • จ่าสิบเอก กอน ชูศรี
  • จ่าสิบเอก ทอง ชวนชมชีพ
  • สิบเอก ประจบ เอี่ยมศักดิ์
  • สิบเอก สำราญ สุวนัจฉา
  • สิบเอก เพ็ชร ทองเทียม
  • สิบเอก รอด รอนคอย
  • พันตรี สาย แก้วสาย
  • ร้อยโท เฉลิม ลาภัล
  • ร้อยตรี ณรงค์ พันธุรัตน์
  • จ่าสิบเอก เพลิน วิมูลผล
  • จ่าสิบเอก นพ เชาว์นะสังค์
  • จ่าสิบเอก พุด เคสันเทียะ
  • จ่าสิบเอก น้อย กลิ่นแก้ว
  • จ่าสิบเอก จันสม ทองหลาง
  • จ่าสิบเอก อำคา จิตรเสงี่ยม
  • จ่าสิบเอก หนุน การเกตุ
  • จ่าสิบเอก คำ ศรีเพ็ชร์
  • จ่าสิบโท ละมัย คงประดิษฐ์
  • จ่าสิบโท พัน สูงประโคน
  • สิบเอก ถนอม โพธิ์ทอง
  • สิบเอก พิน ไหล่มณี
  • สิบเอก อั้ย แสงชั้น
  • สิบเอก ชาย สิงโคตร
  • พันตรี สนั่น พุกกะมาน
  • ร้อยโท นิล สงสะอาด
  • ร้อยตรี พร บัวเยน
  • จ่าสิบเอก พยู เสาวโชติ
  • จ่าสิบเอก วิเชียร กลิ่นไกล
  • จ่าสิบเอก อุ๋ย แก้วสุวผ่อง
  • จ่าสิบเอก โปรย หงส์ทอง
  • จ่าสิบเอก ไหม พรมงาม
  • จ่าสิบเอก สำออย ยิ้มละมั้ย
  • จ่าสิบเอก สด ประสาททอง
  • จ่าสิบเอก ถุ้น หอมจันทึก
  • จ่าสิบโท ผ่อง ทองดี
  • สิบเอก อำนวย ปิ่นทอง
  • สิบเอก หม่น สาลเปี่ยม
  • สิบเอก พร จันนุม
  • สิบเอก บำรุง สุวรรณปัญญาส
  • สิบโท อ้วน ไชยชะนะ
  • พันตรี วินิต บุญวานิช
  • ร้อยโท พรม ชูวงศ์
  • ร้อยโท ชื่น สุขจิตต์
  • จ่าสิบเอก หวัด อินทะโค
  • จ่าสิบเอก อุ่น สุขสวัสดิ์
  • จ่าสิบเอก คำ ศรีสวัสดิ์
  • จ่าสิบเอก จ้อย รัตนิรัมย์
  • จ่าสิบเอก อาร หาญทะเล
  • จ่าสิบเอก เงิน แสนยามาตร์
  • จ่าสิบเอก เนิม เปลี่ยนจิตร์
  • จ่าสิบเอก อ่อน นามในพลกรัง
  • จ่าสิบโท บุญมี ใจมั่น
  • สิบเอก จริน ธีรากิตย์
  • สิบเอก เสมา ดอนบุญไชย
  • สิบเอก อนงค์ เอี่ยมเศรษฐี
  • สิบเอก ผาด บุญมา
  • สิบโท ทอด เพิ่มพูล
  • ร้อยโท สวัสดิ์ ดิษยบุตร
  • ร้อยโท ไพบูลย์ เอี่ยมสอาด
  • ร้อยตรี เทพ รุ่นสูงเนิน
  • จ่าสิบเอก ใจ นพแก้ว
  • จ่าสิบเอก ปลั่ง ดารัมย์
  • จ่าสิบเอก เจริญ อนันต์ทรัพย์
  • จ่าสิบเอก สนิท ริดาคำ
  • จ่าสิบเอก เดช สมาชัย
  • จ่าสิบเอก วัน อมกระโทก
  • จ่าสิบเอก สอาด แซ่ตัน
  • จ่าสิบโท ประยูร ขาวสำอาง
  • สิบเอก อินทจักร แก้วมา
  • สิบเอก อ้อม สังเกต
  • สิบเอก ลอ เพ็ชรนิล
  • สิบเอก จรัล ธีราทิตย์
  • สิบโท ยนต์ นพพลี
  • ร้อยโท ทบ แก้วมรกฎ
  • ร้อยตรี ก่อเกื้อ ยอดยง
  • ร้อยตรี เที่ยง ดวงสูงเนิน
  • จ่าสิบเอก สบาย เวชริสิทธิ์
  • จ่าสิบเอก โต๊ะ กุลรัตน์
  • จ่าสิบเอก ผัน คำกิ่ง
  • จ่าสิบเอก เต้า ก่ายกอง
  • จ่าสิบเอก ดุสย์ คงกลม
  • จ่าสิบเอก หมา เกินจันทึก
  • จ่าสิบเอก เติม โต๊ะสมัน
  • จ่าสิบเอก กวย อึ่งโพธิ์
  • จ่าสิบโท จรูญ กาญจนเสมา
  • สิบเอก นิตย์ สุขแสงศาสตร์
  • สิบเอก เล็ก กลัดสมบัติ
  • สิบเอก พยนต์ นนมาลี
  • สิบเอก ประยงค์ บัวพลู
  • สิบโท ปั้น สร้อยสูงเนิน
  • ร้อยโท จำเนียน อารีกูล
  • ร้อยตรี ผาย สมจิตร์
  • จ่าสิบเอก เทียม แซ่ตัง
  • จ่าสิบเอก บุญ บัวสิริ
  • จ่าสิบเอก เจียม บุญกล้า
  • จ่าสิบเอก เจือ นิเอระ
  • จ่าสิบเอก บุญเทียม มหายสปัญญา
  • จ่าสิบเอก ฟู สรีพุ่ม
  • จ่าสิบเอก ทอง ม่องทอง
  • จ่าสิบเอก อด ช่วนคำ
  • จ่าสิบโท ปุ่น พาหาว้า
  • จ่าสิบโท ปั้น เจริญพันธ์
  • สิบเอก มา ดวงดี
  • สิบเอก สุนทร คล้ามไพบูลย์
  • สิบเอก ชุน ฉลูทอง
  • สิบเอก ไถ ถาอินแก้ว
  • สิบตรี จี่ หมอทรัพย์

ความสำคัญ

[แก้]
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิยามค่ำคืน

นอกจากเป็นอนุสรณ์สถานที่สำคัญ และเป็นที่จารึกรายนามทหารที่เสียชีวิต ในกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศส สงครามโลกครั้งที่ 2 และสงครามเกาหลีแล้ว ยังเป็นต้นทางของถนนพหลโยธิน รวมไปถึงศูนย์กลางการคมนาคมที่มีรถโดยสารให้บริการในหลายเส้นทาง เป็นจำนวนมาก ทั้งรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และรถตู้ ผ่านตลอด 24 ชั่วโมง จึงทำให้อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิเป็นชุมทางการคมนาคมที่สำคัญของกรุงเทพมหานครในปัจจุบัน

นอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ถ่ายทำภาพยนตร์โฆษณา ptt performa gold เมื่อปี พ.ศ. 2540 และยังเป็นฉากระเบิดอนุสาวรีย์ ในภาพยนตร์เรื่อง มหาอุตม์ เมื่อปี พ.ศ. 2546

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

[แก้]
ศูนย์การค้าเซ็นจูรี่ เดอะมูฟวี่พลาซ่า

การเดินทาง

[แก้]

การเดินทางโดยรถโดยสารสาธารณะสู่อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

ภาพรวม

[แก้]
การขนส่งสาธารณะ
บริการ สถานี/ที่หยุดรถประจำทาง เส้นทาง/สาย
รถโดยสารประจำทาง เกาะราชวิถี 8, 12, 14, 18, 28, 97, 108, 509, 515, 515E, 536, 538, 539, 2-3, 2-15, 2-38, 3-26E, 3-37, 3-39, 3-55,4

, 4-61

เกาะพญาไท 14, 17, 34, 36, 38, 54, 59, 62, 74, 77, 108, 139, 140, 204, 503, 510, 515, 529, 536, 539, 1-2E, 1-3, 1-63, 3-8, 3-39, 3-44, 3-45, 3-54, 4-3, 4-23E, 4-28, 4-62
เกาะดินแดง 12, 24, 36, 36ก, 92, 168, 187, 538, 1-2E, 1-37, 1-56, 1-63, 3-26E, 3-37, 3-55
เกาะพหลโยธิน 8, 26, 27, 28, 34, 39, 54, 59, 63, 74, 77, 97, 157, 166, 204, 502, 503, 509, 510, 522, A2, 1-3, 1-5, 2-15, 2-38, 3-45, 4-54E, 4-33E)
รถไฟฟ้าบีทีเอส N3 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

สีม่วง : เขตการเดินรถที่ 1
สีเขียว : เขตการเดินรถที่ 2
สีแดง : เขตการเดินรถที่ 3
สีส้มแดง : เขตการเดินรถที่ 4
สีชมพู : เขตการเดินรถที่ 5
สีเหลือง : เขตการเดินรถที่ 6
สีนํ้าเงิน : เขตการเดินรถที่ 7
สีนํ้าตาล : เขตการเดินรถที่ 8

รถเอกชน

สีกรมท่า : เส้นทางของ บจก.ไทยสมายล์บัส (และบริษัทในเครือ)

รถโดยสารประจำทาง (เกาะดินแดง)

[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
12 (3) รถโดยสารประจำทาง สนามกีฬาห้วยขวาง สํานักงานที่ดินกรุงเทพ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก. มีรถให้บริการตลอดคืน
24 (2-39) (3) ประชานิเวศน์ 3 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
36 (2-40) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่พระราม 9 ท่านํ้าสี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
36ก (2-41) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่สวนสยาม อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
168 (2) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) งดให้บริการชั่วคราว
1-50 (3) เคหะร่มเกล้า 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
3-26E Handicapped/disabled access (3) สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) งดให้บริการชั่วคราว

รถเอกชน

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
12 (3-37) Handicapped/disabled access ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศ สํานักงานที่ดินกรุงเทพ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
27 (1-37) Handicapped/disabled access มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
28 (4-38) Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม สถานีขนส่งผู้โดยสารสายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน) บจก.สมารท์บัส
34E (1-2E) Handicapped/disabled access รังสิต หัวลำโพง บจก.ไทยสมายล์บัส
92 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ พัฒนาการ 1.รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีครีมขาว-นํ้าเงิน
187 Handicapped/disabled access รังสิตคลอง 3 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ธรรมนัส ทรานสปอร์ต
517 (1-56) Handicapped/disabled access พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง บจก.ไทยสมายล์บัส
1-63 Handicapped/disabled access ตลาดปัฐวิกรณ์ พระราม 8
3-55 Handicapped/disabled access ท่าเรือคลองเตย พระราม 7

รถโดยสารประจำทาง (เกาะพญาไท)

[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
34 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก.
36 (2-40) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่พระราม 9 ท่านํ้าสี่พระยา 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
54 (3) รถโดยสารประจำทาง วงกลม: อู่พระราม 9 ดินแดง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
1-8 (59) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

สวนหลวงพระราม 8
62 (3-42) (2) ท่าเรือสาธุประดิษฐ์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

77 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่สาธุประดิษฐ์ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2-52 (204) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่กําแพงเพชร ท่านํ้าราชวงศ์ 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

สนามกีฬาห้วยขวาง
503 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สนามหลวง 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
536 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถเอกชน

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
14 (3-39) Handicapped/disabled access ถนนตก ศรีย่าน รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
17 (4-3) Handicapped/disabled access บิ๊กซีพระประแดง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
34E (1-2E) Handicapped/disabled access รังสิต หัวลำโพง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
34 (1-3) Handicapped/disabled access บางเขน

38 (3-8) Handicapped/disabled access

รถโดยสารประจำทาง อู่ไทยสมายล์บัส (สาขามหาวิทยาลัยรามคำแหง 2) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
74 ห้วยขวาง คลองเตย รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กมินิบัสสีส้ม บจก.เนื้อทองทรานสปอร์ต
77 (3-45) Handicapped/disabled access เซ็นทรัลพระราม 3 สถานีขนส่งผู้โดยสารจตุจักร (หมอชิต 2) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
108 (4-19) Handicapped/disabled access วงกลม:เดอะมอลล์ท่าพระ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส

139 (3-16E)

มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2 อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า บจก.ไพศาลสามัคคีขนส่ง
140 (4-23E) Handicapped/disabled access เคหะธนบุรี/แสมดำ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
529 (4-28) Handicapped/disabled access แสมดำ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
1-63 Handicapped/disabled access ตลาดปัฐวิกรณ์ พระราม 8 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
3-44 Handicapped/disabled access ท่าเรือคลองเตย อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
3-54 Handicapped/disabled access ตลาดพลู อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส

รถโดยสารประจำทาง (เกาะราชวิถี)

[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
12 (3) รถโดยสารประจำทาง สนามกีฬาห้วยขวาง สํานักงานที่ดินกรุงเทพ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง ขสมก.
18 (2) ตลาดท่าอิฐ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
97 (2) กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลสงฆ์ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
509 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่บรมราชชนนี รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
515 (3) เซ็นทรัลศาลายา อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
536 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)
3-26E Handicapped/disabled access (3) สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

รถเอกชน

[แก้]
รถโดยสารประจำทางสาย 8 (บริการโดยบจก.กลุ่ม 39 เดินรถ) ที่เกาะราชวิถี
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
8 แฮปปี้แลนด์ สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีชมพู
รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีครีมขาว-นํ้าเงิน
บจก.กลุ่ม 39 เดินรถ
บจก.ทรัพย์ 888
8 (2-38) Handicapped/disabled access แฮปปี้แลนด์ สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
12 (3-37) Handicapped/disabled access ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศ สํานักงานที่ดินกรุงเทพ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
14 (3-39) Handicapped/disabled access ถนนตก ศรีย่าน รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
18 (2-3) Handicapped/disabled access ตลาดท่าอิฐ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
28 (4-38) Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม สถานีขนส่งผู้โดยสารสายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สมารท์บัส
108 (4-19) Handicapped/disabled access วงกลม:เดอะมอลล์ท่าพระ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
538 Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.สมารท์บัส
539 (4-62) Handicapped/disabled access อ้อมน้อย อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) หจก.539 รุ่งเรือง
3-55 Handicapped/disabled access ท่าเรือคลองเตย พระราม 7 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส

รถโดยสารประจำทาง (เกาะพหลโยธิน)

[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
26 (1-36) (1) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ขสมก.
54 (2-44) (3) รถโดยสารประจำทาง วงกลม: อู่พระราม 9 ดินแดง รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
59 (1-8) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สนามหลวง รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

63 (2) รถโดยสารประจำทาง เอ็มอาร์ทีสะพานพระนั่งเกล้า อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

77 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่สาธุประดิษฐ์ รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

97 (2) โรงพยาบาลสงฆ์ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

กระทรวงสาธารณสุข
166 (1) เมืองทองธานี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ
502 (1) รถโดยสารประจำทาง อู่มีนบุรี อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน
503 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต สนามหลวง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
509 (2) รถโดยสารประจำทาง อู่บรมราชชนนี รถโดยสารประจำทาง สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)
(1-19) 510 (2) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)
(1-22E) 522 (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

A2 (1) เพิ่มที่ →{{rail-interchange}} ท่าอากาศยานดอนเมือง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

รถช่วยวิ่ง (เหตุการณ์รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

[แก้]
สายที่ เขตการเดินรถที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
1-19 (510) 1
(กปด.21)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศูนย์รังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ขสมก. รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง รถช่วยวิ่งจากสาย 39
1-19 (510) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) รถช่วยวิ่งจากสาย 95ก 503
A2 1
(กปด.21)
ท่าอากาศยานดอนเมือง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) รถช่วยวิ่งจากสาย 107 129

รถเอกชน

[แก้]
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
8 แฮปปี้แลนด์ สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีชมพู
รถโดยสารประจำทางธรรมดาสีครีมขาว-นํ้าเงิน
บจก.กลุ่ม 39 เดินรถ
บจก.ทรัพย์ 888
8 (2-38) Handicapped/disabled access แฮปปี้แลนด์ สะพานพระพุทธยอดฟ้า รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
28 (4-38) Handicapped/disabled access มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม สถานีขนส่งผู้โดยสารสายใต้ใหม่ (ตลิ่งชัน) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) บจก.สมารท์บัส
34 (1-3) Handicapped/disabled access บางเขน สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
39 (1-5) Handicapped/disabled access รังสิต อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
74 ห้วยขวาง คลองเตย รถโดยสารประจำทางขนาดเล็กมินิบัสสีส้ม บจก.เนื้อทองทรานสปอร์ต
77 (3-45) Handicapped/disabled access เซ็นทรัลพระราม 3 สถานีขนส่งผู้โดยสารจตุจักร (หมอชิต 2) รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส
157 (4-54E) Handicapped/disabled access อ้อมใหญ่ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) บจก.ไทยสมายล์บัส

รถโดยสารประจำทาง (ทางด่วน)

[แก้]

องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ

[แก้]
  • Handicapped/disabled access เส้นทางที่มีรถรองรับวีลแชร์
สายที่ จุดเริ่มต้น จุดสิ้นสุด ขึ้นทางด่วนที่ ลงทางด่วนที่ เวลาให้บริการ ประเภทของรถที่ให้บริการ ผู้ให้บริการ หมายเหตุ
24 (1) อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ประชานิเวศน์ 3 พหลโยธิน งามวงศ์วาน เร่งด่วนเย็น 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง
63 (1) MRT พระนั่งเกล้า/ท่าเรือนนทบุรี 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

166 (1) เมืองทองธานี ตลอดวัน 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม-แดง

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม-น้ำเงิน

ขสมก.
ศูนย์ราชการแจ้งวัฒนะ
522 (1-22E) (3) รถโดยสารประจำทาง อู่รังสิต 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู)

2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ)

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

13°45′53″N 100°32′19″E / 13.76472°N 100.53861°E / 13.76472; 100.53861

  1. Thai PBS, 77 ปี ภาพจำประวัติศาสตร์กลางกรุง, 11 ก.ย. 61, https://www.thaipbs.or.th/news/content/274518