ทางรถไฟสายบ้านไผ่–นครพนม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทางรถไฟสายบ้านไผ่–นครพนม
State Railway of Thailand Logo 2019.svg
ข้อมูลทั่วไป
สถานะโครงการส่วนต่อขยาย
เจ้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ปลายทาง
จำนวนสถานี14
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟระหว่างเมือง
ระบบรถไฟทางไกล
ของการรถไฟแห่งประเทศไทย
ผู้ดำเนินงานการรถไฟแห่งประเทศไทย
และบริษัทเอกชนในส่วน
ของสถานีขนถ่ายสินค้า
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง347 กม. (215.62 ไมล์)[1]
รางกว้างราง 1 เมตร ทางคู่
ความเร็ว180 กิโลเมตร/ชั่วโมง

ทางรถไฟสายบ้านไผ่–นครพนม เป็นโครงการรถไฟทางคู่สายใหม่ของการรถไฟแห่งประเทศไทย และเป็นส่วนต่อขยายของทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ โดยจะแยกจากช่วงชุมทางถนนจิระ–หนองคาย ที่สถานีรถไฟชุมทางบ้านหนองแวงไร่ อำเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น และไปสิ้นสุดปลายทางที่สถานีรถไฟสะพานมิตรภาพ 3 จังหวัดนครพนม

ประวัติโครงการ[แก้]

โครงการก่อสร้างทางรถไฟ ทางคู่ บ้านไผ่ มุกดาหาร นครพนม ใกล้เป็นจริงขณะนี้อยู่ระหว่างรอ พรฎ.เวนคืนที่ดินประกาศบังคับใช้ คาดว่าภายในเดือนกันยายน 2564 จะสามารถ เริ่มสำรวจเพื่อเวนคืนที่ดินได้และจะเริ่มก่อสร้างได้ต้นปี 2565 และใช้เวลาก่อสร้าง 4 ปี งบประมาณรวม 66,848.33 ล้านบาท

ลำดับเหตุการณ์[แก้]

กำหนดการในอนาคต
ปี (พ.ศ.) เดือน เหตุการณ์
2557 ออกแบบรายละเอียดโครงการฯ
2562 พฤษภาคม คณะรัฐมนตรีอนุมัติโครงการฯ
2563 เมษายน คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ มีมติเห็นชอบ EIA โครงการฯ
2564 มีนาคม การรถไฟแห่งประเทศไทยประกาศผลการประกวดราคาของโครงการฯ จำนวน 2 สัญญา
กันยายน พระราชกฤษฎีกา เวนคืนการก่อสร้างรถไฟทางคู่สายบ้านไผ่-นครพนม
29 ธันวาคม ลงนามสัญญาจ้างก่อสร้างทางรถไฟสายบ้านไผ่-นครพนม[2]
2565 เวนคืนพื้นที่สำหรับรองรับการก่อสร้าง (พื้นที่เวนคืนประมาณ 17,499 ไร่ ผ่านพื้นที่ทั้งหมด 6 จังหวัด 19 อำเภอ 70 ตำบล)

มูลค่าการเวนคืน 10,080.33 ล้านบาท[3]

2566 ดำเนินการก่อสร้าง

รายชื่อสถานีและจุดหยุดรถ[แก้]

มีจำนวนสถานีรถไฟเบื้องต้นทั้งหมด 14 สถานี 1 ชุมทางรถไฟ คือ ชุมทางรถไฟบ้านหนองแวงไร่[4] โดยทุกสถานีเป็นสถานีรถไฟประจำอำเภอหรือประจำจังหวัด

ชื่อสถานี / ที่หยุดรถ ชื่อ
ภาษาอังกฤษ
เลขรหัส ระยะทาง
จาก บผ. (กม.)
ชั้นสถานี ตัวย่อ ที่ตั้ง จำนวนขบวนที่
หยุดรับส่งผู้โดยสาร
หมายเหตุ
ตำบล อำเภอ จังหวัด
บ้านไผ่ - นครพนม
มาจากสถานีรถไฟบ้านไผ่
ชุมทางบ้านหนองแวงไร่ 0 + 300 3 ในเมือง บ้านไผ่ ขอนแก่น
ภูเหล็ก 10 + 072 3 ภูเหล็ก ลานกองเก็บตู้สินค้า
นาโพธิ์ 20 + 982 ป้ายหยุดรถ นาโพธิ์ กุดรัง มหาสารคาม
กุดรัง 30 + 441 3 กุดรัง
บรบือ 45 + 812 2 บรบือ บรบือ
หนองโน 59 + 310 ป้ายหยุดรถ หนองโน เมืองมหาสารคาม
มหาสารคาม 69 + 117 1 แวงน่าง ลานกองเก็บตู้สินค้า
เขวา 78 + 420 ป้ายหยุดรถ เขวา
ศรีสมเด็จ 85 + 429 ป้ายหยุดรถ โพธิ์สัย ศรีสมเด็จ ร้อยเอ็ด
สีแก้ว 85 + 429 ป้ายหยุดรถ สีแก้ว เมืองร้อยเอ็ด
ร้อยเอ็ด 104 + 897 1 ยางใหญ่ จังหาร ย่านกองเก็บตู้สินค้า
เชียงขวัญ 117+700 3 พระธาตุ เชียงขวัญ
โพธิ์ชัย 129 + 093 3 เชียงใหม่ โพธิ์ชัย
อำเภอโพนทอง 150 + 478 2 แวง โพนทอง ลานกองเก็บตู้สินค้า
เมยวดี 159 + 956 ป้ายหยุดรถ กกโพธิ์ หนองพอก
หนองพอก 175 + 945 3 หนองพอก
โคกสว่าง 183 + 285 ป้ายหยุดรถ โคกสว่าง
ห้องแซง 197 + 765 ป้ายหยุดรถ ห้องแซง เลิงนกทา ยโสธร
เลิงนกทา 209 + 666 2 กุดแห่
นิคมคำสร้อย 223 + 100 3 นากอก นิคมคำสร้อย มุกดาหาร
บ้านป่งแดง 228 + 100 ป้ายหยุดรถ หนองแวง
มุกดาหาร 247 + 176 1 มุกดาหาร เมืองมุกดาหาร
บ้านดานคำ 250 + 475 ป้ายหยุดรถ
สะพานมิตรภาพ 2 254 + 700 3 บางทรายใหญ่ ย่านกองเก็บตู้สินค้า
หว้านใหญ่ 267 + 899 3 หว้านใหญ่ หว้านใหญ่
ธาตุพนม 291 + 276 2 ธาตุพนม ธาตุพนม นครพนม
เรณูนคร 303 + 948 3 โพนทอง เรณูนคร
นาถ่อน 315 + 426 ป้ายหยุดรถ นาถ่อน ธาตุพนม
บ้านกลาง 320 + 022 ป้ายหยุดรถ บ้านกลาง
นครพนม 343 + 461 1 นาทราย นครพนม
สะพานมิตรภาพ 3 354 + 783 3 อาจสามารถ ย่านกองเก็บตู้สินค้า
สิ้นสุดรางรถไฟ กม. 354 + 783

รูปแบบสถานี ผลกระทบและการวางแผน[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. https://www.facebook.com/ThailandSkyline/posts/คืบหน้ารถไฟทางคู่สายใหม่-บ้านไผ่-มุกดาหาร-นครพนมการรถไฟฯ-เผยความคืบหน้าโครงการก่/989097587898502/
  2. https://www.facebook.com/pr.railway/posts/5344998998848261
  3. SUB_NUM (2021-09-24). "เวนคืนทางคู่ "บ้านไผ่-นครพนม" รถไฟ 6.6 หมื่นล้าน เปิดประเทศเชื่อม AEC". ประชาชาติธุรกิจ.
  4. "รถไฟทางคู่สายใหม่(บ้านไผ่-นครพนม) เพิ่มความสะดวกขนส่งสินค้าและโดยสาร". สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

https://www.prachachat.net/property/news-765887