รายชื่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

คณะวิศวกรรมศาสตร์ในประเทศไทย ที่เปิดทำการสอนในสถาบันการศึกษา แบ่งได้ 2 ช่วงเวลา ดังนี้

ช่วงแรก ก่อน พ.ศ. 2531 มีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จำนวน 8 แห่ง โดยเรียงลำดับที่ได้เปิดสอน คือ

  1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2459)
  2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (คณะวิศวกรรมชลประทาน เครือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2497)
  3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี พ.ศ. 2503)
  4. มหาวิทยาลัยขอนแก่น (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2507)
  5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ พ.ศ. 2507)
  6. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี พ.ศ. 2507)
  7. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2510)
  8. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2513)

หมายเหตุ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (คณะวิศวกรรมเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา พ.ศ. 2518) ได้เปิดสอนสำหรับหลักสูตรต่อเนื่องจาก ปวส. และจัดได้ตั้งเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2537

ช่วงที่สอง หลัง พ.ศ. 2531 มีคณะวิศวกรรมศาสตร์เปิดสอนเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากปริมาณความต้องการของสังคมที่มีปริมาณสูงขึ้นมาก โดยเรียงลำดับที่ได้เปิดสอน คือ

  1. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ปีที่ก่อตั้งคณะ พ.ศ. 2532 และ ปีที่เปิดสอนรุ่นแรก พ.ศ. 2533)
  2. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (ปีที่ก่อตั้งคณะ พ.ศ. 2533 และ ปีที่เปิดสอนรุ่นแรก พ.ศ. 2531)
  3. มหาวิทยาลัยมหิดล (ปีที่ก่อตั้งคณะ พ.ศ. 2533 และ ปีที่เปิดสอนรุ่นแรก พ.ศ. 2533)
  4. มหาวิทยาลัยศิลปากร (ปีที่ก่อตั้งคณะ พ.ศ. 2534 และ ปีที่เปิดสอนรุ่นแรก พ.ศ. 2535)
  5. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ปีที่ก่อตั้งคณะ พ.ศ. 2535 และ ปีที่เปิดสอนรุ่นแรก พ.ศ. 2535)
  6. มหาวิทยาลัยบูรพา (ปีที่ก่อตั้งคณะ พ.ศ. 2536 และ ปีที่เปิดสอนรุ่นแรก พ.ศ. 2534)
  7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (ปีที่ก่อตั้งคณะ พ.ศ. 2536 และ ปีที่เปิดสอนรุ่นแรก พ.ศ. 2536)

ฯลฯ

ประวัติ[แก้]

มีสาขาหลัก ที่เปิดสอนในระดับ ปริญญาตรี หรือ เทียบเท่า ในหลักสูตร 4 ปี หรือ 5 ปี ซึ่งได้รับการรับรองจาก กระทรวงศึกษาธิการ โดยรับนักศึกษาจากผู้สำเร็จชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือ เทียบเท่า ในปัจจุบัน เรียงลำดับในคณะวิศวกรรมศาสตร์ 8 มหาวิทยาลัย ดังนี้

อนึ่ง หลักสูตรที่เปิดสอนก่อนหน้านี้เป็นหลักสูตร 3 ปี หรือ น้อยกว่า 3 ปี ทั้งของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (โรงเรียนยันตรศึกษา (พ.ศ. 2456)), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (โรงเรียนช่างชลประทาน (พ.ศ. 2481)), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี (พ.ศ. 2503)), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (โรงเรียนเทคนิคพระนครเหนือ (พ.ศ. 2502)) และ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (ศูนย์ฝึกโทรคมนาคมนนทบุรี (พ.ศ. 2503))

ทั้งนี้ ในช่วงแรก วิทยาลัยเทคนิคธนบุรี (พ.ศ. 2503) ,วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ (พ.ศ. 2507) และวิทยาลัยโทรคมมนาคมนนทบุรี (พ.ศ. 2507) ได้เปิดสอน หลักสูตรประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง (ปทส.) ซึ่งเทียบเท่า หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (วศ.บ.) และได้รับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (ใบ กว.) โดยต่อมา เมื่อได้รับการจัดตั้งเป็น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า (พ.ศ. 2514) จึงได้รับการรับรองวุฒิการศึกษาย้อนหลัง จาก ปทส. เป็น วศ.บ.

สาขาวิศวกรรมโยธา[แก้]

สถาบันการศึกษา ปีที่เปิดสอน วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) ปีที่ปรับหลักสูตร วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) หมายเหตุ
1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2472 ประกาศนียบัตรวิศวกรรมศาสตร์ชั้นสูง (โยธา) (4ปี) พ.ศ. 2474 วศ.บ. (โยธา) (4ปี)
2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2506 ประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง (โยธา) (5ปี) พ.ศ. 2514 วศ.บ. (โยธา) (5ปี) พ.ศ. 2532 ปรับเป็น วศ.บ. (โยธา) (4ปี)
3. มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2507 วศ.บ. (โยธา) (4ปี) - -
4. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2510 วศ.บ. (โยธา) (4ปี) - -
5. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2510 วศ.บ. (โยธา) (4ปี) - -
6. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2513 วศ.บ. (โยธา) (4ปี) - -
7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. 2527 อส.บ.(เทคโนโลยีโครงสร้าง) (2ปี) พ.ศ 2537 วศ.บ. (โยธา) (4ปี)
8. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. 2528 อส.บ.(เทคโนโลยีการก่อสร้าง) (4ปี) พ.ศ. 2541 วศ.บ. (โยธา) (4ปี)


สาขาวิศวกรรมเครื่องกล[แก้]

สถาบันการศึกษา ปีที่เปิดสอน วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) ปีที่ปรับหลักสูตร วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) หมายเหตุ
1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2472 ประกาศนียบัตรวิศวกรรมศาสตร์ชั้นสูง (เครื่องกล) (4ปี) พ.ศ. 2474 วศ.บ. (เครื่องกล) (4ปี)
2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2505 ประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง (เครื่องกล) (5ปี) พ.ศ. 2514 วศ.บ. (เครื่องกล) (5ปี) พ.ศ. 2532 ปรับเป็น วศ.บ. (เครื่องกล) (4ปี)
3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. 2507 ประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง (เครื่องกล) (5ปี) พ.ศ. 2514 วศ.บ. (เครื่องกล) (5ปี) พ.ศ. 25xx ปรับเป็น วศ.บ. (เครื่องกล) (4ปี)
4. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2510 วศ.บ. (เครื่องกล) (4ปี) - -
5. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2510 วศ.บ. (เครื่องกล) (4ปี) - -
6. มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2518 วศ.บ. (เครื่องกล) (4ปี) - -
7. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. 2519 วศ.บ. (เครื่องกล) (5ปี) - - พ.ศ. 2526 ปรับเป็น วศ.บ. (เครื่องกล) (4ปี)
8. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2521 วศ.บ. (เครื่องกล) (4ปี) - - -


สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า[แก้]

สถาบันการศึกษา ปีที่เปิดสอน วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) ปีที่ปรับหลักสูตร วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) หมายเหตุ
1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2472 ประกาศนียบัตรวิศวกรรมศาสตร์ชั้นสูง (ไฟฟ้า) (4ปี) พ.ศ. 2474 วศ.บ. (ไฟฟ้า) (4ปี)
2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2506 ประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง (ไฟฟ้า) (5ปี) พ.ศ. 2514 วศ.บ. (ไฟฟ้า) (5ปี) พ.ศ. 2532 ปรับเป็น วศ.บ. (ไฟฟ้า) (4ปี)
3. มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2507 วศ.บ. (ไฟฟ้า) (4ปี) - -
4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. 2510 ประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง (ไฟฟ้า) (5ปี) พ.ศ. 2514 วศ.บ. (ไฟฟ้า) (5ปี) พ.ศ. 25xx ปรับเป็น วศ.บ. (ไฟฟ้า) (4ปี)
5. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2510 วศ.บ. (ไฟฟ้า) (4ปี) - -
6. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2512 วศ.บ. (ไฟฟ้า) (4ปี) - -
7. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2518 วศ.บ. (ไฟฟ้า) (4ปี) - -
8. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. 2519 วศ.บ. (ไฟฟ้า) (5ปี) - - พ.ศ. 2526 ปรับเป็น วศ.บ. (ไฟฟ้า) (4ปี)


สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ[แก้]

สถาบันการศึกษา ปีที่เปิดสอน วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) ปีที่ปรับหลักสูตร วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) หมายเหตุ
1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2485 วศ.บ. (อุตสาหการ) (4ปี) - -
2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2505 ประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง (การผลิต) (5ปี) พ.ศ. 2514 วศ.บ. (อุตสาหการ) (5ปี) พ.ศ. 2532 ปรับเป็น วศ.บ. (อุตสาหการ) (4ปี)
3. มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2514 วศ.บ. (อุตสาหการ) (4ปี) - -
4. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2516 วศ.บ. (อุตสาหการ) (4ปี) - -
5. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2525 วศ.บ. (อุตสาหการ) (4ปี) - -
6. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2526 วศ.บ. (อุตสาหการ) (4ปี) - -
7. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. 2536 วศ.บ. (อุตสาหการ) (4ปี) - -
8. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. 2540 วศ.บ. (อุตสาหการ) (4ปี) - - -


สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่[แก้]

สถาบันการศึกษา ปีที่เปิดสอน วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) ปีที่ปรับหลักสูตร วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) หมายเหตุ
1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2481 วศ.บ. (เหมืองแร่) (4ปี) - -
2. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2518 วศ.บ. (เหมืองแร่) (4ปี) - -
3. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2526 วศ.บ. (เหมืองแร่) (4ปี) - - -


สาขาวิศวกรรมเคมี[แก้]

สถาบันการศึกษา ปีที่เปิดสอน วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) ปีที่ปรับหลักสูตร วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) หมายเหตุ
1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2516 วศ.บ. (เคมี) (4ปี) - -
2. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2517 วศ.บ. (เคมี) (5ปี) - - พ.ศ. 2532 ปรับเป็น วศ.บ. (เคมี) (4ปี)
3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2518 วศ.บ. (เคมี) (4ปี) - -
4. มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2527 วศ.บ. (เคมี) (4ปี) - -
5. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. 2527 วศ.บ. (เคมี) (5ปี) - - พ.ศ. 25xx ปรับเป็น วศ.บ. (เคมี) (4ปี)
6. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2532 วศ.บ. (เคมี) (4ปี) - -
7. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. 2537 วศ.บ. (เคมี) (4ปี) - - -


สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม[แก้]

สถาบันการศึกษา ปีที่เปิดสอน วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) ปีที่ปรับหลักสูตร วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) หมายเหตุ
1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2495 วศ.บ. (สุขาภิบาล) (4ปี) พ.ศ. 25xx วศ.บ. (สิ่งแวดล้อม) (4ปี)
2. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2524 วศ.บ. (สิ่งแวดล้อม) (4ปี) - -
3. มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2526 วศ.บ. (สิ่งแวดล้อม) (4ปี) - -
4. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2535 วศ.บ. (สิ่งแวดล้อม) (4ปี) - -
5. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2536 วศ.บ. (สิ่งแวดล้อม) (4ปี) - -
6. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2540 วศ.บ. (สิ่งแวดล้อม) (4ปี) - - -


สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์[แก้]

สถาบันการศึกษา ปีที่เปิดสอน วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) ปีที่ปรับหลักสูตร วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) หมายเหตุ
1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2518 วศ.บ. (คอมพิวเตอร์) (4ปี) - -
2. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. 2521 วศ.บ. (คอมพิวเตอร์) (5ปี) - - พ.ศ. 2526 ปรับเป็น วศ.บ. (คอมพิวเตอร์) (4ปี)
3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ. 2530 วศ.บ. (คอมพิวเตอร์) (5ปี) - - พ.ศ. 2532 ปรับเป็น วศ.บ. (คอมพิวเตอร์) (4ปี)
4. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2530 วศ.บ. (คอมพิวเตอร์) (4ปี) - -
5. มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2533 วศ.บ. (คอมพิวเตอร์) (4ปี) - -
6. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2535 วศ.บ. (คอมพิวเตอร์) (4ปี) - -
7. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2539 วศ.บ. (คอมพิวเตอร์) (4ปี) - -
8. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ พ.ศ. 2542 วศ.บ. (คอมพิวเตอร์) (4ปี) - - -


สาขาวิศวกรรมชลประทาน[แก้]

สถาบันการศึกษา ปีที่เปิดสอน วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) ปีที่ปรับหลักสูตร วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) หมายเหตุ
1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2497 ชป.บ. (5ปี) (ปริญญาช่างชลประทานบัณฑิต) พ.ศ. 2507 วศ.บ. (ชลประทาน) (4ปี)


สาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม[แก้]

สถาบันการศึกษา ปีที่เปิดสอน วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) ปีที่ปรับหลักสูตร วุฒิการศึกษา (หลักสูตร) หมายเหตุ
1. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. 2509 ประกาศนียบัตรเทคนิคชั้นสูง (โทรคมนาคม) (5ปี) พ.ศ. 2514 วศ.บ. (โทรคมนาคม) (5ปี) พ.ศ. 2526 ปรับเป็น วศ.บ. (โทรคมนาคม) (4ปี)


รายชื่อสถานศึกษา ที่เปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์[แก้]

  1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  2. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
  3. มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
  4. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  5. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน
  6. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศรีราชา
  7. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สกลนคร
  8. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (วิทยาลัยพาณิชยนาวีนานาชาติ)
  9. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  10. บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  11. สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม(FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
  12. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  13. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตระยอง
  14. บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  15. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  16. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  17. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
  18. มหาวิทยาลัยพะเยา
  19. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  20. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
  21. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
  22. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  23. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
  24. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น.
  25. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  26. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
  27. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
  28. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
  29. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
  30. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  31. มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
  32. มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
  33. มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  34. มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย
  35. มหาวิทยาลัยทักษิณ
  36. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  37. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  38. มหาวิทยาลัยนเรศวร
  39. มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่
  40. มหาวิทยาลัยบูรพา
  41. มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  42. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  43. มหาวิทยาลัยมหิดล
  44. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี
  45. มหาวิทยาลัยรังสิต
  46. มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  47. มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
  48. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  49. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  50. มหาวิทยาลัยศรีปทุม
  51. มหาวิทยาลัยศิลปากร
  52. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  53. มหาวิทยาลัยสยาม
  54. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  55. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
  56. มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
  57. มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
  58. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
  59. สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
  60. สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ( SIIT TU )
  61. สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
  62. สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
  63. สถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย
  64. สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM)
  65. วิทยาลัยการชลประทาน สถาบันสมทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  66. มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
  67. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
  68. มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี สมุทรปราการ
  69. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  70. มหาวิทยาลัยนครพนม
  71. สถาบันรัชต์ภาคย์
  72. มหาวิทยาลัยปทุมธานี
  73. มหาลัยวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
  74. วิทยาลัยพิชญบัณฑิต

สาขาวิชาทางวิศวกรรมศาสตร์[แก้]

สถาบัน วิศวกรรมเกษตร วิศวกรรมขนส่ง/โลจิสติกส์ วิศวกรรมขนถ่ายวัสดุ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมเคมี วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเหมืองแร่ /ธรณี วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมยานยนต์ วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมโลหการ วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมอวกาศยาน วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมโทรคมนาคม วิศวกรรมเซรามิก วิศวกรรมอาหาร วิศวกรรมพอลิเมอร์ วิศวกรรมวัสดุ วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร วิศวกรรมชีวการแพทย์ วิศวกรรมปิโตรเคมีและวัสดุพอลิเมอร์ สาขาวิศวกรรมต่อเรือ วิศวกรรมเครื่องกลเรือ วิศวกรรมนอกฝั่งทะเล วิศวกรรมระบบควบคุม วิศวกรรมวัดคุม วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมชลประทาน วิศวกรรมการบิน วิศวกรรมพลังงาน วิศวกรรมทรัพยากรน้ำ วิศวกรรมรถไฟ วิศวกรรมเครื่องจักรเกษตร วิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยวและแปรสภาพ วิศวกรรมการทำความเย็นและการปรับอากาศ วิศวกรรมการขนส่งทางราง วิศวกรรมออกแบบผลิตภัณฑ์ วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมการยาง วิศวกรรมสถาปัตยกรรมการจัดการองค์กร วิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์ วิศวกรรมสื่อประสม
จุฬาลงกรณ์                          รวมอยู่ในวิศวกรรมโลหการ    เปิดในระดับปริญญาโทและเอก    รวมอยู่ในวิศวกรรมเครื่องกล  รวมอยู่ในวิศวกรรมเครื่องกล  รวมอยู่ในภาควิศวกรรมไฟฟ้าและเครื่องกล  รวมอยู่ในภาควิศวกรรมไฟฟ้า   สาขาวิศวกรรมหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
กรุงเทพ  สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และหุ่นยนต์    จัดการเรียนการสอนควบคู่กับสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (ปัจจุบันทางมหาวิทยาลัยได้ยุติการเรียนการสอนในสาขาวิชาดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อยแล้ว)  จัดการเรียนการสอนควบคู่กับสาขาวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม (ปัจจุบันทางมหาวิทยาลัยได้ยุติการเรียนการสอนในสาขาวิชาดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อยแล้ว)  สาขาวิชาวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์และวิทยาการข้อมูล  สาขาวิชาวิศวกรรมมัลติมีเดียและเอ็นเตอร์เทนเมนต์
เกษตรศาสตร์                                              
พระจอมเกล้าธนบุรี          เปิดสอนระดับปริญญาโท โครงการร่วมกับประเทศญี่ปุ่น              เปิดสอนระดับปริญญาโทและเอก           อยู่ในคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ                            อยู่ในคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์  
พระจอมเกล้าฯลาดกระบัง                               สาขาวิศวกรรมหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์  สาขาวิชาวิศวกรรมดนตรีและสื่อประสม
มหิดล   เปิดสอนระดับปริญญาเอก             เปิดสอนระดับปริญญาตรี ที่วิทยาเขตกาญจนบุรี ปริญญาโทและเอก ที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์       เปิดสอนระดับปริญญาโท
ธรรมศาสตร์            
SIIT TU            
สงขลานครินทร์                        
ขอนแก่น                   เปิดสอนระดับปริญญาโทและเอก ที่วิทยาเขตหนองคาย
ศรีนครินทรวิโรฒ                   สาขาวิชาวิศวกรรมคอนเสิร์ตและมัลติมีเดีย (หลักสูตรนานาชาติ)
เชียงใหม่                
แม่ฟ้าหลวง      
ปทุมวัน                
สุรนารี                                          
ธุรกิจบัณฑิตย์          
มทร.ธัญบุรี                          สาขาวิชาวิศวกรรมชลประทานและการจัดการน้ำ
มทร.อีสาน                        
มทร.พระนคร              
นเรศวร                
สยาม              
พะเยา                
ศิลปากร                
มหานคร                    
มหาสารคาม            
อุบลราชธานี            
บูรพา            สาขาวิชาปัญญาประดิษฐ์ประยุกต์และเทคโนโลยีอัจฉริยะและสาขาปัญญาประดิษฐ์ประยุกต์และเทคโนโลยีอัจฉริยะ
นครพนม        
นราธิวาสราชนครินทร์      
วลัยลักษณ์            สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์
ไทยญี่ปุ่น        
ราชมงคลล้านนา              
ราชภัฏชัยภูมิ  
ราชภัฎเพชรบุรี หลักสูตรเทียบโอนและ4ปี หลักสูตร4ปี
รังสิต  เปิดสอนหลักสูตร 4 ปีและหลักสูตร 5 ปี ปริญญาสองใบ(ป.ตรีควบป.โท)ร่วมกับ AIT      เปิดสอนหลักสูตร 4 ปีและหลักสูตร 5 ปี ปริญญาสองใบ(ป.ตรีควบป.โท)ร่วมกับ AIT    เปิดสอนระดับปริญญาโท-เอกและหลักสูตร 5 ปี ปริญญาสองใบ(ป.ตรีควบป.โท)ร่วมกับ AIT     หลักสูตรร่วมกับ Malaysian Institute of Aviation Technology       รวมกับวิศวกรรมเครื่องกล    รวมอยู่กับวิศวกรรมเคมี
รามคำแหง คอมพิวเตอร์ โยธา สิ่งแวดล้อม อุตสาหการ

ดูเพิ่ม[แก้]