ข้ามไปเนื้อหา

ปฏิบัติการดาวน์ฟอล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปฏิบัติการดาวน์ฟอล
ส่วนหนึ่งของ สงครามแปซิฟิก
สถานที่
ผล ถูกยกเลิกหลังญี่ปุ่นยอมจำนนในวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945
คู่สงคราม

สัมพันธมิตร (สหประชาชาติ):

 ญี่ปุ่น
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
แฮร์รี เอส. ทรูแมน
ดักลาส แมกอาเธอร์
เชสเตอร์ ดับเบิลยู. นิมิตซ์
เคอร์ติส เลอเมย์
คารืล สปาตซ์
วอลเตอร์ ครูเอเกอร์
โจเซฟ สติลเวลล์
รอเบิร์ต แอล. เอเชลเบอร์เกอร์
คอร์ตนีย์ ฮอจส์
วิลเลียม เอ็ฟ. ฮาลซีย์
เรย์มอนด์ เอ. สปรูแอนส์
จอห์น เฮ็ช. ทาวเวอร์ส[3]
เฟรเดอริก ซี. เชอร์แมน[3]
ริชมอนด์ เค. เทอร์เนอร์[4]
เคลเมนต์ แอตต์ลี
บรูซ ฟราเซอร์
เบอร์นาร์ด รอว์ลิงส์[5]
จักรพรรดิโชวะ
คันตาโร ซูซูกิ
นารูฮิโกะ ฮิงาชิกูนิ
โคเรจิกะ อานามิ
มิตสึมาซะ โยไน
โยชิจิโร อูเมซุ
โซเอมุ โทโยดะ
ฮาจิเมะ ซูงิยามะ
ชุนโรกุ ฮาตะ
เซชิโร อิตางากิ
มาซากาซุ คาวาเบะ
ชิซูอิจิ ทานากะ
อิซามุ โยโกยามะ
เคซูเกะ ฟูจิเอะ
ทาซูกุ โอกาดะ
เอตาโร อูจิยามะ
คิอิจิโร ฮิงูจิ[5][6]
หน่วยที่เกี่ยวข้อง

หน่วยภาคพื้นดิน:

กองทัพบกสหรัฐ, แปซิฟิก

(หน่วยสหรัฐสูงถึง 58 หน่วย และกองพลเครือจักรภพ 3-5 กองขึ้นไป)[7][8]

หน่วยนาวิกโยธิน:

กองเรือแปซิฟิกสหรัฐ

หน่วยอากาศ:
USASTAF Pacific

สหรัฐ กองทัพอากาศที่ 5
สหรัฐ กองทัพอากาศที่ 7
สหรัฐ กองทัพอากาศที่ 13

สหราชอาณาจักร ไทเกอร์ฟอร์ซ

หน่วยภาคพื้นดิน:

First General Army

Second General Army

Patriotic Citizens' Fighting Corps[6]

(66 หน่วย, กองพลน้อย 36 หน่วย และกองทหาร 45 หน่วย ไม่รวมหน่วยของ PCFC)[10]

หน่วยนาวิกโยธิน:
Navy General Command

หน่วยอากาศ:
Air General Army

  • จักรวรรดิญี่ปุ่น First Air Army
  • จักรวรรดิญี่ปุ่น Sixth Air Army

จักรวรรดิญี่ปุ่น Third Air Fleet
จักรวรรดิญี่ปุ่น Fifth Air Fleet
จักรวรรดิญี่ปุ่น Tenth Air Fleet
จักรวรรดิญี่ปุ่น Sixth Air Fleet

จักรวรรดิญี่ปุ่น Twelfth Air Fleet[6]
กำลัง

สหรัฐ มากกว่า 5,000,000 คน (คาดการณ์)[11]
สหราชอาณาจักร 1,000,000 (คาดการณ์)[12]

รวมมากกว่า 6,000,000 คน (คาดการณ์)

ทหาร 4,335,500 นาย[13]
พลเมืองที่ถูกเกณฑ์ทหาร 31,550,000 คน[14]

รวม 35,885,500 คน

ปฏิบัติการดาวน์ฟอล (อังกฤษ: Operation Downfall) เป็นแผนการโดยรวมของฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อบุกญี่ปุ่นในช่วงใกล้จะสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการถูกยกเลิกเมื่อญี่ปุ่นได้ยอมจำนนหลังจากโดนทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่เมืองฮิโรชิมะและนางาซากิ สหภาพโซเวียตประกาศร่วมสงครามต่อต้านญี่ปุ่น และยึดครองแมนจูเรีย[15] ปฏิบัติการดาวน์ฟอลแบ่งออกเป็นสองส่วนด้วยกันคือ: ปฏิบัติการโอลิมปิก (Operation Olympic) และ ปฏิบัติการโคโรเนต (Operation Coronet) ปฏิบัติการจะเริ่มต้นในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1945 ปฏิบัติการโอลิมปิกมีวัตถุประสงค์เพื่อยึดดินแดนหนึ่งในสามทางใต้ของดินแดนตอนใต้สุดของประเทศญี่ปุ่น เกาะคีวชู และเกาะโอกินาวะที่พึ่งยึดได้เพื่อใช้เป็นพื้นที่รองรับการรุกคืบต่อไป ต่อมาในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1946 ปฏิบัติการโคโรเนตถูกวางแผนไว้สำหรับบุกที่ราบคันโต ใกล้กับโตเกียว บนเกาะฮนชู สนามบินบนเกาะคีวชูที่ยึดได้ในปฏิบัติการโอลิมปิกจะเป็นฐานสนับสนุนปฏิบัติการโคโรเนต ถ้าดาวน์ฟอลเกิดขึ้น นี่อาจจะเป็นการทำสงครามสะเทินน้ำสะเทินบกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์[16]

ภูมิศาสตร์ของญี่ปุ่นทำให้ฝ่ายญี่ปุ่นทราบถึงแผนการบุกนี้เช่นกัน ญี่ปุ่นสามารถทำนายแผนการบุกของฝ่ายสัมพันธมิตรได้ถูกต้องและได้ทำการปรับแผนป้องกัน ปฏิบัติการเคะสึโง (Operation Ketsugō) ญี่ปุ่นวางแผนป้องกันเกาะคีวชูทั้งหมดด้วยกองหนุนเพียงน้อยนิดสำหรับปฏิบัติการป้องกันใด ๆ ที่ตามมา มีการคาดการณ์ถึงผู้บาดเจ็บล้มตายในจำนวนหลากหลายต่างกันไป แต่ก็เป็นจำนวนที่สูงมากสำหรับทั้งสองฝ่ายขึ้นกับระดับการต่อต้านของประชาชนญี่ปุ่นในการบุก คาดกันว่าอาจมีผู้บาดเจ็บล้มตายถึงหนึ่งล้านคนสำหรับฝ่ายสัมพันธมิตร[17] และสิบล้านคนสำหรับฝ่ายญี่ปุ่น

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Chapter XIII "Downfall" The Plan For The Invasion Of Japan". United States Army Center of Military History. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-17. สืบค้นเมื่อ January 23, 2016.
  2. Cooke, Tim (2004). History of World War II. p. 169. ISBN 0761474838.
  3. 3.0 3.1 The Fast Carriers: The Forging of an Air Navy by Clark G. Reynolds (1968; 1978; 1992; 2014), pp. 360–62.
  4. Dyer, George Carroll (May 28, 2017). "The Amphibians Came to Conquer: The Story of Admiral Richmond Kelly Turner". Hyperwar, p. 1108.
  5. 5.0 5.1 5.2 Giangreco 2009
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 Japanese Monographs 17–20 Retrieved 21 August 2015.
  7. History of Planning Division, ASF vols. 6, 7, and 9
  8. Giangreco (2009) p. 62
  9. Chapter 13: "Downfall" p. 422 เก็บถาวร 2019-08-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved 23 Aug. 2015
  10. Demobilization and Disarmament of the Japanese Armed Forces เก็บถาวร 2008-04-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน pgs. 118, 120. Retrieved 21 August 2015.
  11. Giangreco (2009) p. 29. According to Secretary of War Henry Stimson, the number of American military personnel involved in operations to subjugate Japan "was on the order of 5 million men; if all those indirectly concerned are included, it was larger still."
  12. Giangreco (2009) pp. 22–23: "As envisioned in the summer of 1945, the ground and air elements, in combination with the full-bore Royal Navy commitment, would ultimately entail that nearly a million British and empire servicemen be gathered for Operation Coronet, the invasion of Honshu near Tokyo."
  13. Cook (1992). Japan at War: an Oral History. New Press. ISBN 978-1-56584-039-3. p. 403. Japanese strength is given at 4,335,500 in the Home Islands and 3,527,000 abroad.
  14. Giangreco (2009) p. 122: "These militia units received regular combat training with whatever weapons could be scrounged while continuing to perform their agricultural and industrial duties unless directed to other tasks, such as building defensive works, by area commanders. Some 28 million Japanese fell under the provisions of the law in addition to the 1.3 million civilians already working for the Navy and 2.25 million for the Army."
  15. Giangreco (2009) pg. xvi
  16. "Chapter 13: "DOWNFALL"- The Plan for the Invasion of Japan". history.army.mil. สืบค้นเมื่อ 2021-07-27.
  17. Frank, p. 340.

บรรณานุกรม

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]