คันตาโร ซูซูกิ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คันตาโร ซูซูกิ
鈴木 貫太郎
นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น
ดำรงตำแหน่ง
7 เมษายน ค.ศ. 1945 – 17 สิงหาคม ค.ศ. 1945
กษัตริย์ จักรพรรดิโชวะ
ก่อนหน้า คูนิอากิ โคอิโซะ
ถัดไป นารูฮิโกะ ฮิงาชิกูนิ
ประธานองคมนตรีญี่ปุ่น
ดำรงตำแหน่ง
10 สิงหาคม ค.ศ. 1944 – 7 เมษายน ค.ศ. 1945
กษัตริย์ จักรพรรดิโชวะ
ก่อนหน้า โยชิมิจิ ฮาระ
ถัดไป ฮิรานูมะ คิอิจิโร
ดำรงตำแหน่ง
15 ธันวาคม ค.ศ. 1945 – 13 มิถุนายน ค.ศ. 1946
ก่อนหน้า ฮิรานูมะ คิอิจิโร
ถัดไป ชิมิซุ โทรุ
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด 18 มกราคม ค.ศ. 1868(1868-01-18)
คูเซะ, อิซูมิ, จักรวรรดิญี่ปุ่น
เสียชีวิต 17 เมษายน ค.ศ. 1948(1948-04-17) (80 ปี)
โนบะ, ชิบะ, เขตยึดครองญี่ปุ่น
พรรค Imperial Rule Assistance Association (1940–1945)
การเข้าร่วม
พรรคการเมืองอื่น
อิสระ (ก่อน ค.ศ. 1940 และหลัง ค.ศ. 1945)
คู่สมรส ซูซูกิ ทากะ
บุตร ซูซูกิ อิจิ
ฟูจิเอะ ซากาเอะ
อาดาจิ มิตสึโกะ
ศิษย์เก่า โรงเรียนการทหารกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น
วิชาชีพ พลเรือเอก, นักการเมือง
ลายมือชื่อ SuzukiK kao.svg
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้  ญี่ปุ่น
สังกัด Naval flag of จักรวรรดิญี่ปุ่น กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น
ประจำการ 1887–1929
ยศ Imperial Japan-Navy-OF-9-collar.svg พลเรือเอก
บังคับบัญชา Akashi, Soya, Shikishima, Tsukuba
Maizuru Naval District, IJN 2nd Fleet, IJN 3rd Fleet, Kure Naval District, Combined Fleet
การยุทธ์
บำเหน็จ เครื่องราชอิสริยาภรณ์เหยี่ยวทองคำ (ชั้นที่ 3)

บารอน คันตาโร ซูซูกิ (ญี่ปุ่น: 鈴木 貫太郎โรมาจิKantarō Suzuki; 18 มกราคม ค.ศ. 1868 – 17 เมษายน ค.ศ. 1948[1]) เป็นพลเรือเอกในกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น สมาชิกและผู้นำคนสุดท้ายของสมาคมให้ความช่วยเหลือการปกครองจักรวรรดิ และนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนที่ 29 ตั้งแต่ 7 เมษายน ถึง 17 สิงหาคม ค.ศ. 1945

อ้างอิง[แก้]

  1. [1] Nishida, People of the Imperial Japanese Navy.

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Frank, Richard (2001). Downfall: The End of the Imperial Japanese Empire. Penguin. ISBN 0-14-100146-1.
  • Gilbert, Martin (2004). The Second World War: A Complete History. Holt. ISBN 0-8050-7623-9.
  • Keegan, John (2005). The Second World War. Penguin. ISBN 0-14-303573-8.
  • Kowner, Rotem (2006). Historical Dictionary of the Russo-Japanese War. The Scarecrow Press. ISBN 0-8108-4927-5.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]