การล้อมเลนินกราด
การล้อมเลนินกราด | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เป็นส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออก ในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
ปืนต่อสู้อากาศยานของโซเวียตแถบมหาวิหารเซนต์ไอแซ็ก ปี 1941 | |||||||
| |||||||
คู่ขัดแย้ง | |||||||
![]() ![]() ![]() |
![]() | ||||||
ผู้บัญชาการหรือผู้นำ | |||||||
![]() ![]() ![]() |
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() | ||||||
กำลังพลสูญเสีย | |||||||
![]() 1942:เสียชีวิตรวม 267,327 คน (KIA, WIA, MIA)[6] 1943:เสียชีวิตรวม 205,937 คน (KIA, WIA, MIA)[7] 1944: เสียชีวิตรวม 21,350 คน (KIA, WIA, MIA)[8] รวมทั้งหมด: 579,985 คน |
![]() ทหาร 1,017,881 นายเสียชีวิต, ถูกจับหรือสูญหาย[9] ทหาร 2,418,185 นายบาดเจ็บหรือป่วย[9] รวมทั้งหมด: 3,436,066 นาย
|
การล้อมเลนินกราด (รัสเซีย: блокада Ленинграда blokada Leningrada) เป็นการปิดล้อมทางทหารที่ยืดเยื้อมาจากทางใต้โดยกองทัพกลุ่มเหนือของนาซีเยอรมนีต่อเมืองเลนินกราดของสหภาพโซเวียต (ปัจจุบันคือ เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก) บนแนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง กองทัพฟินแลนด์ได้เข้ารุกรานจากทางเหนือ ได้ร่วมมือกับเยอรมันจนกระทั่งฟินแลนด์ยึดดินแดนที่สูญเสียไปในสงครามฤดูหนาวที่ผ่านมา แต่ได้ปฏิเสธที่จะเข้าใกล้เมืองอื่นเพิ่มเติม ยังได้ร่วมมือกับเยอรมัน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1942 ในเดือนสิงหาคม กองพลน้ำเงินของสเปนได้ถูกย้ายไปยังปีกด้านตะวันออกเฉียงใต้ของวงล้อมเลนินกราด ทางใต้ของเนวาใกล้กับเมืองพุชกิน Kolpino และการเข้าแทรกแซงหลักอยู่ใน Krasny Bor ในพื้นที่แม่น้ำ Izhora[10][11]
การล้อมเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1941 เมื่อแวร์มัคท์ได้ตัดขาดถนนเส้นทางสุดท้ายที่จะเข้าไปในเมือง แม้ว่ากองทัพโซเวียตจะสามารถเปิดเส้นทางที่มีขนาดแคบที่สามารถเข้าไปในเมืองได้ในวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 1943 กองทัพแดงก็ยังไม่อาจที่จะคลายวงล้อมได้จนถึงวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 1944 เป็นเวลาเพียง 872 วันนับจากการเริ่มต้น การปิดล้อมครั้งนี้กลายเป็นการปิดล้อมที่ยาวนานที่สุดและการทำลายล้างมากที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์และอาจเป็นเหตุทำให้มีผู้บาดเจ็บและผู้เสียชีวิตมากที่สุด นักประวัติศาสตร์บางคน จากทั้งอดีตสหภาพโซเวียตและตะวันตกต่างได้บรรจุเหตุการณ์ครั้งนี้ว่าเป็นการฆ่าล้างเผ่าพันธ์[12][13][14]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Brinkley & Haskey 2004, p. 210
- ↑ Wykes 1972, pp. 9–21
- ↑ Baryshnikov 2003; Juutilainen 2005, p. 670; Ekman, P-O: Tysk-italiensk gästspel på Ladoga 1942, Tidskrift i Sjöväsendet 1973 Jan.–Feb., pp. 5–46.
- ↑ Carell 1966, pp. 205–210
- ↑ http://ww2stats.com/cas_ger_okh_dec41.html
- ↑ http://ww2stats.com/cas_ger_okh_dec42.html
- ↑ http://ww2stats.com/cas_ger_okh_dec43.html
- ↑ http://ww2stats.com/cas_ger_okh_dec44.html
- ↑ 9.0 9.1 9.2 Glantz 2001, pp. 179
- ↑ Gavrilov, B.I., Tragedy and Feat of the 2nd Shock Army, defunct site paper
- ↑ Carlos Caballero Jurado; Ramiro Bujeiro (2009). Blue Division Soldier 1941–45: Spanish Volunteer on the Eastern Front. Osprey Publishing. p. 34. ISBN 978-1-84603-412-1.
- ↑ Bidlack, Richard; Lomagin, Nikita; Schwartz, Marian (2012). The Leningrad Blockade, 1941–1944: A New Documentary History from the Soviet Archives. Yale University Press. pp. Introduction page. ISBN 9780300110296. JSTOR j.ctt5vm646.
- ↑ "the Leningrad blockade". Osteuropa. 61 (8/9): 393–398. 2011. ISSN 0030-6428. JSTOR 44936469.
- ↑ Hund, Wulf Dietmar; Koller, Christian; Zimmermann, Moshe (2011). Racisms Made in Germany. LIT Verlag Münster. ISBN 978-3-643-90125-5.