ข้ามไปเนื้อหา

การทัพตูนิเซีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การทัพตูนิเซีย
ส่วนหนึ่งของ การทัพแอฟริกาเหนือในสงครามโลกครั้งที่สอง

เชลยศึกชาวเยอรมันและอิตาลีในภายหลังจากตูนิสถูกยึดครอง วันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1943.
วันที่17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1942 – 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1943
สถานที่34°N 09°E / 34°N 9°E / 34; 9
ผล ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
ฝ่ายอักษะถูกขับไล่ออกจากแอฟริกาเหนือ
คู่สงคราม

 สหราชอาณาจักร

 สหรัฐ
 ฝรั่งเศสเสรี
นิวซีแลนด์
ราชอาณาจักรกรีซ กรีซ
 เยอรมนี
 อิตาลี
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหราชอาณาจักร ฮาโรลด์ อเล็กซานเดอร์
สหราชอาณาจักร เคนเนธ แอนเดอร์สัน
สหราชอาณาจักร เบอร์นาร์ด มอนต์โกเมอรี
สหรัฐ ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์
สหรัฐ จอร์จ เอส. แพตตัน
นาซีเยอรมนี อัลแบร์ท เค็สเซิลริง
นาซีเยอรมนี แอร์วีน ร็อมเมิล
นาซีเยอรมนี H.J. von Arnim Surrendered
ราชอาณาจักรอิตาลี โจวันนี เมสเซ Surrendered
กำลัง
March:
500,000 troops
1,800+ tanks
1,200+ field guns
Thousands of aircraft[1]
March:
350,000 troops[nb 1]
200+ tanks[nb 2]
1,000+ field guns
Thousands of aircraft[1]
ความสูญเสีย
76,020
849 aircraft destroyed
340+ tanks lost[nb 3]

290,000–362,000 (238,000-300,000 captured)
2,422+ aircraft destroyed

600+ aircraft captured
450+ tanks lost[nb 4]
1,000+ guns captured
Thousands of trucks captured[3]
แม่แบบ:Campaignbox North Africa

แม่แบบ:Campaignbox Tunisia Campaign

แม่แบบ:Campaignbox Free French

การทัพตูนีเซีย(ยังเป็นที่รู้จักกันคือ ยุทธการที่ตูนีเซีย) เป็นหนึ่งในการสู้รบที่เกิดขึ้นในตูนีเซียในช่วงการทัพแอฟริกาเหนือในสงครามโลกครั้งที่สอง ระหว่างกองทัพฝ่ายอักษะและกองทัพฝ่ายสัมพันธมิตร ฝ่ายสัมพันธมิตรประกอบไปด้วยกองทัพจักรวรรดิบริติช รวมทั้งกองกำลังกรีก กับอเมริกาและกองทัพน้อยฝรั่งเศส การสู้รบได้เปิดฉากด้วยความสำเร็จช่วงแรกโดยกองทัพเยอรมันและอิตาลี แต่เส้นทางการขนส่งเสบียงได้ถูกยับยั้งอย่างแน่นหนามากจนนำไปสู่ความพ่ายแพ้อย่างย่อยยับของฝ่ายอักษะ ทหารชาวเยอรมันและอิตาลีทั้งหมด 250,000 นาย ได้ตกเป็นเชลยศึก รวมทั้งส่วนใหญ่ของกองทัพน้อยแอฟริกา

หมายเหตุ

[แก้]
  1. 2/3 of the combat troops and 1/3 of the support troops were Germans[1]
  2. Operational tanks only[1]
  3. 183 lost in the Battle of Kasserine Pass, 6 lost in the Battle of Medenine, 40 lost in the Battle of El Guettar, 16 lost in Operation Oxhead (Operation Ochsenkopf), at least 51 lost in the Battle of the Mareth Line, 32 lost in the Battle of Wadi Akarit, 12 lost in Operation Vulcan and several more lost in minor battles.[1]
  4. Mitcham lists the following tank losses with no upper limit and no noted losses to mechanical breakdowns. 34 (20 German, 14 Italian) lost in the Battle of Kasserine Pass, 55 (40 German, 15 Italian) lost in the Battle of Medenine, 45 (mostly German) lost in the Battle of El Guettar, 71 (all German) lost in Operation Oxhead (Operation Ochsenkopf) and 200+ operational tanks (mostly German) lost in actions after March 9. Mitcham also notes that a very large number of tanks were not operational at the time due to previous mechanical issues; for instance, by April 22, only 45% of German tanks were operational, with the rest confined to workshops. Therefore the actual number of tanks lost after March 9 is possibly around 450 rather than 200.[2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 Mitcham, p. 78
  2. Mitcham, pp. 56 to 84.
  3. Churchill, Winston. "The Hinges of Fate: The Second World War, Volume IV". Houghton Mifflin Company, 1950. Page 697, quoting a telegram from General Alexander on 12 May 1943: "It appears that we have taken over 1,000 guns, of which 180 are 88-mm, 250 tanks and many thousands of motor vehicles, most of which are operational".