ความตกลงอัตราส่วนร้อย
ความตกลงอัตราส่วนร้อย (อังกฤษ: Percentages agreement; รัสเซีย: Соглашение о процентах) เป็นข้อตกลงระหว่างโจเซฟ สตาลิน ผู้นำสหภาพโซเวียต กับวินสตัน เชอร์ชิล นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร ระหว่างการประชุมมอสโกครั้งที่สี่ ตุลาคม พ.ศ. 2487 เกี่ยวกับการแบ่งเขตอิทธิพลในยุโรปหลังสงคราม ข้อตกลงดังกล่าวได้กล่าวต่อสาธารณชนโดยเชอร์ชิล เอกอัครราชทูตสหรัฐ แอเวอริลล์ แฮร์ริแมน เป็นตัวแทนของรูสเวลได้มีส่วนร่วมการประชุมโดยเฉพาะ[2][3]
เนื้อหา[แก้]
วินสตัน เชอร์ชิลได้เสนอข้อตกลงระหว่างสหราชอาณาจักรกับสหภาพโซเวียตในการเข้ามาอำนาจยุโรปของทั้งสองฝ่าย[3]ตามข้อตกลงของเชอร์ชิลเห็นว่าสหภาพโซเวียตควรจะมีอิทธิพลร้อยละ 90 ในโรมาเนียและร้อยละ 75 ในบัลแกเรีย; สหราชอาณาจักรควรจะมีร้อยละ 90 ในกรีซ; และแบ่งกันร้อยละ 50 ในฮังการีและยูโกสลาเวีย เชอร์ชิลเขียนบนแผ่นกระดาษก่อนส่งให้สตาลินตรวจและติ๊กเครื่องหมายเมื่อข้อเสนอนั้นผ่าน[2][4][5][6][7] ผลคืออิทธิพลของสหภาพโซเวียตในบัลแกเรียมีมากขึ้นและถูกแก้ไขให้มีอิทธิพลฮังการีร้อยละ 80
เชอร์ชิลเรียกมันว่า"เอกสารอันดื้อรั้น (naughty document)"[5]
กาเบรียล โคลโก้ บันทึกไว้ว่า:
ในอัตชีวประวัติของเชอร์ชิลเรื่องนี้มีความสำคัญน้อยมากในวิธีการที่เขาและสตาลินแบ่งยุโรปตะวันออก ... "ติ๊ก" ของสตาลินแปลเป็นคำจริงที่ระบุไม่มีอะไรไม่ได้ หลายวันต่อมาเชอร์ชิลส่งร่างของการอภิปรายให้สตาลินและระมัดระวังการสื่อความหมายเขตอิทธิพล อีเด็น เพียรพยายามหลีกเลี่ยงคำว่าและถือว่าเป็นความเข้าใจเป็นเพียงข้อตกลงการปฏิบัติเกี่ยวกับวิธีแก้ปัญหาจะทำงานออกมาในแต่ละประเทศและในวันรุ่งขึ้นเขาและ โมโลตอฟ ปรับเปลี่ยนเปอร์เซ็นต์ในลักษณะให้มีความแม่นยำว่ามากกว่า[8]
สตาลินไม่ให้สัญญาเกี่ยวกับกรีซ แต่ไม่ได้รักษาสัญญาของเขาสำหรับโรมาเนีย, บัลแกเรียและฮังการีซึ่งกลายเป็นหนึ่งในรัฐคอมมิวนิสต์ที่ปราศจากอิทธิพลของอังกฤษ ยูโกสลาเวียไม่ขึ้นอิทธิพลกับสหภาพโซเวียตหรืออังกฤษ สหราชอาณาจักรได้รับการสนับสนุนกองกำลังของรัฐบาลกรีกในสงครามกลางเมืองส่วนสหภาพโซเวียตไม่ได้สนับสนุนกองโจรคอมมิวนิสต์[9]
ประเทศ | สหภาพโซเวียต | สหราชอาณาจักร |
---|---|---|
![]() |
75% | 25% |
![]() |
10% | 90% |
![]() |
50% | 50% |
![]() |
90% | 10% |
![]() |
50% | 50% |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ The document is contained in Britain's Public Record Office, PREM 3/66/7 (169).
- ↑ 2.0 2.1 Ryan 1987, p. 137 .
- ↑ 3.0 3.1 Holmes, Leslie (2009). Communism: A Very Short Introduction. Oxford University Press Inc. p. 25. ISBN 978-0-19-955154-5.
- ↑ Resis 1978 .
- ↑ 5.0 5.1 Rasor, Eugene L. Winston S. Churchill, 1874–1965: A Comprehensive Historiography and Annotated Bibliography. p. 269.
- ↑ Rose, Norman. Churchill: The Unruly Giant. p. 383.
- ↑ Cassimatis, Louis P. American Influence in Greece, 1917–1929. p. 240.
- ↑ Kolko 1990, p. 145 .
See also Tsakaloyannis 1986 . - ↑ Bell, P. M. H. (2001). The World Since 1945: An International History. ISBN 0-340-66235-2.