ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์
ยุทธการเนเธอร์แลนด์ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ ยุทธการที่ฝรั่งเศส | |||||||
ศูนย์กลางของรอตเทอร์ดามถูกทำลายหลังจากโดนทิ้งระเบิด | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร | เยอรมนี | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
เฮนรี วินเคลมัน Jan Joseph Godfried van Voorst tot Voorst เฮนรี่ จีโฮค์ |
เฟดอร์ ฟ็อน บ็อค (Army Group B) Hans Graf von Sponeck | ||||||
กำลัง | |||||||
9 divisions 700 guns[1] 1 tank 5 tankettes 32 armoured cars[2] 145 aircraft[3] Total: 280,000 men |
22 divisions 1378 guns 759 tanks 830 aircraft[4] 6 armoured trains[5] Total: 750,000 men | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
2332 KIA (Dutch Army)[6] 7000 wounded[6] 216 French KIA[6] 43 British KIA[6] Over 2000 civilians killed[6] |
2032 KIA[6] 6000–7000 wounded[6] 4 armoured trains[7] 225–275 aircraft total loss[6] 1350 prisoners to England[6] |
ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์ (ดัตช์: Slag om Nederland) เป็นส่วนหนึ่งของกรณีสีเหลือง (เยอรมัน: Fall Gelb) เยอรมันได้บุกยึดครองกลุ่มประเทศแผ่นดินต่ำ (เบลเยี่ยม,ลักเซมเบิร์กและเนเธอร์แลนด์) และฝรั่งเศสระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.การสู้รบได้ดำเนินการต่อไปจนกระทั่งการยอมจำนนของกองทัพหลักของเนเธอร์แลนด์ เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม ทหารชาวดัตช์ในจังหวัดเซลันด์ยังคงต่อสู้กับกองทัพเวร์มัคท์จนกระทั่งวันที่ 17 พฤษภาคม เมื่อเยอรมนีได้ยึดครองประเทศเอาไว้อย่างสมบูรณ์
ยุทธการที่เนเธอร์แลนด์ถือเป็นยุทธการแรกที่กองทัพอากาศเยอรมัน ใช้ทหารพลร่ม (Fallschirmjäger) โดยเข้ายึดสนามบินของฝ่ายดัตซ์และสถานที่ทางยุทธศาสตร์ในรอตเทอร์ดาม และเดอะเฮก,ความรวดเร็วเพื่อการบุกรุกประเทศและตรึงกองทัพเนเธอร์แลนด์เอาไว้
ภายหลังการทิ้งระเบิดที่รอตเทอร์ดามโดยลุฟท์วัฟเฟอ,เยอรมันได้ข่มขู่ว่าจะทิ้งระเบิดเมืองต่างๆของดัตซ์ให้ราบคาบ ถ้ากองทัพเนเธอร์แลนด์ปฏิเสธที่จะยอมจำนน เสนาธิการทหารฝ่ายดัตซ์ต่างรู้ดีว่าไม่อาจหยุดยั้งการทิ้งระเบิดได้และออกคำสั่งให้กองทัพยุติสู้รบเพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะเกิดขึ้น.การยึดครองของเนเธอร์แลนด์ล่าสุดได้รับการปลดปล่อยในปี 1945.
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Goossens, Dutch armament: Artillery, waroverholland.nl
- ↑ Goossens, Dutch armament: Miscellaneous, waroverholland.nl
- ↑ Goossens, Dutch armament: Military airplanes, waroverholland.nl
- ↑ Hooton 2007, p. 48
- ↑ De Jong, Het Koninkrijk, Staatsuitgeverij, 1971
- ↑ 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 6.6 6.7 6.8 Goossens, Balance Sheet, waroverholland.nl
- ↑ Kaufmann, J. E.; Kaufmann, H. W. (2 October 2007). Hitler's Blitzkrieg Campaigns: The Invasion And Defense Of Western Europe, 1939-1940. Da Capo Press. p. 191. ISBN 9780306816918. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-31. สืบค้นเมื่อ 2017-05-12.