การรุกบูดาเปสต์
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
การรุกบูดาเปสต์ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เป็นส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกใน สงครามโลกครั้งที่สอง) | |||||||
![]() การรุกบูดาเปสต์ (พร้อมด้วยการรุกในคาบสมุทรบอลข่านครั้งอื่นๆ) ของสหภาพโซเวียต แสดงด้วยพื้นที่สีเขียวทางทิศใต้ของแผนที่นี้ | |||||||
| |||||||
คู่ขัดแย้ง | |||||||
![]() ![]() |
![]() ![]() | ||||||
ผู้บัญชาการหรือผู้นำ | |||||||
![]() ![]() ![]() ![]() |
![]() ![]() ![]() ![]() ![]() | ||||||
กำลัง | |||||||
2nd Ukrainian Front 3rd Ukrainian Front |
กองทัพกลุ่มใต้ | ||||||
กำลังพลสูญเสีย | |||||||
Soviet: 80,026 dead and missing 240,056 wounded and sick[1][2] |
|||||||
40,000 civilians dead |
การรุกบูดาเปสต์ เป็นการรบโดยทั่วไปของกองทัพแดงแห่งสหภาพโซเวียต เพื่อกวาดล้างกองทัพนาซีเยอรมนีและพันธมิตรฝ่ายอักษะให้ออกไปจากฮังการี การรุกเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1944 จนกระทั่งกรุงบูดาเปสต์แตกในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1945 กองทัพเยอรมันซึ่งได้รับคำสั่งจากฮิตเลอร์ให้เข้ายึดครองฮังการี (ตามแผนปฏิบัติการพันแซร์เฟาสท์และปฏิบัติการมาร์กาเรต) เพื่อหลีกเลี่ยงการละทิ้งที่มั่นจากค่ายของฝ่ายอักษะ และปกป้องปีกใต้ของแนวรบฝ่ายเยอรมนี จนต้องปราชัยให้แก่กองทัพโซเวียตในที่สุด
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Glantz, David M., and Jonathan House. When Titans Clashed: How the Red Army Stopped Hitler. (Lawrence, Kansas: University Press of Kansas, 1995. ISBN 0-7006-0899-0) p. 298
- ↑ Krivosheev, G. F. Soviet casualties and combat losses in the Twentieth Century. (London: Greenhill Books, 1997. ISBN 1-85367-280-7) p. 152
หนังสือแนะนำ[แก้]
- David M. Glantz The Soviet‐German War 1941–45: Myths and Realities: A Survey Essay.