ข้ามไปเนื้อหา

สงครามอังกฤษ-อิรัก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สงครามอังกฤษ-อิรัก
ส่วนหนึ่งของ สงครามโลกครั้งที่สอง (เขตสงครามเมดิเตอร์เรเนียนและตะวันออกกลาง)

ทหารอังกฤษที่แบกแดด, 11 มิถุนายน ค.ศ. 1941
วันที่2–31 พฤษภาคม ค.ศ. 1941 (1941-05-02 – 1941-05-31)[7][nb 4]
สถานที่
ผล ฝ่ายสัมพันธมิตรชนะ
คู่สงคราม

 สหราชอาณาจักร

สนับสนุนทางอากาศและทะเล:
 ออสเตรเลีย[nb 1]
 นิวซีแลนด์[nb 2]
กรีซ[nb 3]
 อิรัก
สนับสนุนทางทหาร:
 ไรช์เยอรมัน[4]
 อิตาลี[5]
 ฝรั่งเศสเขตวีชี[6]
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
โคลด อชินเค
อาร์ชิบอลด์ วาเวลล์[9]
เอ็ดเวิร์ด ไกแนน[10]
วิลเลียม เฟรเซอร์[9]
วิลเลียม สลิม
เอช. จี. สมาร์ต[11]
Ouvry Roberts
จอห์น ดัลเบียก
เราะชีด อาลี อัลเกลานี
เศาะลาฮุดดีน อัศศ็อบบาฆ โทษประหารชีวิต
กามิล ชะบีบ โทษประหารชีวิต
ฟะฮ์มี ซะอีด โทษประหารชีวิต
มะห์มูด ซัลมาน โทษประหารชีวิต
เฟาซี อัลกาววุกญี
อะมีน อัลฮุซัยนี[12]
แวร์เนอร์ ยุงค์
กำลัง
1 infantry division[13]
2 brigade groups[nb 5]
100+ aircraft[nb 6]
4 divisions[16]
30,000 troops[17]
116 Iraqi aircraft[18] (50–60 serviceable)[10]
21–29 German aircraft[4][19]
12 Italian aircraft[5]
ความสูญเสีย
บาดเจ็บและเสียชีวิตน้อย[20]
มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 200 คน[21]
อากาศยาน 28 ลำ[22]
เสียชีวิต 500 นาย[20]
อากาศยานอิรักที่ใช้งานได้ส่วนใหญ่[23]
อากาศยานเยอรมัน 19 ลำ[5]
อากาศยานอิตาลี 3 ลำ[5]

สงครามอังกฤษ-อิรัก เป็นการทัพทางทหารของฝ่ายสัมพันธมิตรที่นำโดยบริติชในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองต่อราชอาณาจักรอิรักภายใต้การนำของเราะชีด อัลเกลานี ที่ได้ยึดอำนาจในรัฐประหารอิรัก ค.ศ. 1941 ด้วยความช่วยเหลือจากเยอรมันและอิตาลี การทัพครั้งนี้ได้ส่งผลให้รัฐบาลของเกย์ลานีต้องล่มสลาย การยึดครองอิรักอีกครั้งโดยบริติช และการกลับคืนสู่อำนาจของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์แห่งอิรัก มกุฎราชกุมารอับดัลอิละฮ์ ซึ่งเป็นมิตรกับบริติช

อิรักในอาณัติถูกปกครองโดยบริติชนับตั้งแต่ ค.ศ. 1921 ก่อนที่อิรักจะได้รับเอกราชเพียงในนามใน ค.ศ. 1932 บริติชได้สรุปสนธิสัญญาอังกฤษ-อิรัก ค.ศ. 1930 ซึ่งถูกต่อต้านจากฝ่ายชาตินิยมอิรัก รวมทั้งเราะชีด อัลเกลานี แม้ว่าอิรักถือว่าเป็นอำนาจที่เป็นกลางภายใต้การปกครองของผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ อับดัลอิละฮ์ มันมีรัฐบาลที่สนับสนุนบริติช ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1941 ฝ่ายชาตินิยมอิรักได้ก่อรัฐประหารจตุรัสทองคำด้วยความช่วยเหลือจากนาซีเยอรมนีและฟาสซิสต์อิตาลี รัฐประหารครั้งนี้ได้โค่นล้มอับดัลอิละฮ์ และแต่งตั้งอัล-เกย์ลานีเป็นนายกรัฐมนตรี เขาสร้างความสัมพันธ์ที่เป็นมิตรกับฝ่ายอักษะ ทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรต้องตอบโต้ สำหรับฝ่ายสัมพันธมิตร อิรักทำหน้าที่แทนเป็นสะพานทางบกที่สำคัญระหว่างกองกำลังบริติชในอียิปต์และอินเดีย

หลังจากการสู้รบปะทะหลายครั้ง การโจมตีทางอากาศของฝ่ายสัมพันธมิตรได้เปิดฉากต่ออิรัก เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม การทัพดังกล่าวส่งผลให้รัฐบาลที่มีอายุสั้นของอัล-เกย์ลานีต้องล่มสลาย และแต่งตั้งอับดัลอิละฮ์ เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์อีกครั้ง สิ่งนี้ได้เพิ่มอิทธิพลของฝ่ายสัมพันธมิตรในเขตสงครามตะวันออกกลาง

หมายเหตุ

[แก้]
  1. HMAS Yarra, representing Australia, participated at sea.[1]
  2. HMNZS Leander, representing New Zealand, participated at sea.[2]
  3. Greek airmen undergoing training at Habbaniya flew sorties against the Iraqis.[3]
  4. ในวันที่ 30 พฤษภาคม เราะชีด อัลเกลานีกับผู้สนับสนุนหลบหนีไปเปอร์เซีย จากนั้นในเวลา 4 นาฬิกาของวันที่ 31 พฤษภาคม นายกเทศมนตรีแบกแดดลงนามสงบศึกบนสะพานข้ามคลอง Washash[8] ปฏิบัติการทหาร Mercol, Gocol และ Harcol ต่อกลุ่มสงครามกองโจรดำเนินต่อในเดือนมิถุนายน
  5. See Iraqforce; Habforce constituted one reinforced Brigade group while the force based at RAF Habbaniya constituted the other.
  6. 85 aircraft based at RAF Habbaniya.[14][15] 18 bombers were flown into RAF Shaibah as reinforcements[11] while No. 244 Squadron RAF was already based there equipped with Vicker Vincents.[15] No. 84 Squadron RAF was rebased to RAF Aqir, in Palestine, to support British ground forces during the rebellion.[15] Four Bristol Blenheims of No. 203 Squadron RAF were flown to RAF Lydda, also in Palestine, to fly combat missions over Iraq.[15]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Wavell, p. 4094.
  2. Waters, p. 24.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Carr
  4. 4.0 4.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair195
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair196
  6. Sutherland, Jon; Canwell, Diane (2011). Vichy Air Force at War: The French Air Force that Fought the Allies in World War II. Barnsley: Pen & Sword Aviation. pp. 38–43. ISBN 978-1-84884-336-3.
  7. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair182-3
  8. Playfair 1956, pp. 192, 332.
  9. 9.0 9.1 Playfair 1956, p. 186.
  10. 10.0 10.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair179
  11. 11.0 11.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair183
  12. Patterson, David (2010). A Genealogy of Evil: Anti-Semitism from Nazism to Islamic Jihad. Cambridge University Press. p. 114. ISBN 978-0-521-13261-9.
  13. Mackenzie, p. 101.
  14. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Playfair182
  15. 15.0 15.1 15.2 15.3 Jackson, p. 159.
  16. url="https://resources.saylor.org/wwwresources/archived/site/wp-content/uploads/2011/08/HIST351-10.2.2-Anglo-Iraqi-War.pdf"
  17. Lyman, Iraq 1941, p. 25.
  18. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Lyman2526
  19. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Mack100
  20. 20.0 20.1 Wavell, p. 3439.
  21. "Resources.saylor.org" (PDF). Commonwealth War Graves Commission. สืบค้นเมื่อ 12 August 2010.
  22. Playfair 1956, p. 193.
  23. Lyman, p. 48.