รายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก เป็นพิธีการของการวิ่งเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปีย, ประเทศกรีซ ไปยังสถานที่จัดกีฬาโอลิมปิก ในครั้งนั้นๆ โดยครั้งแรกได้เริ่มในโอลิมปิกเบอร์ลิน 1936[1] และต่อจากนั้นก็ได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในทุก ๆ ครั้ง

โอลิมปิกครั้งก่อน ๆ ได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในหลายประเทศ แต่ในปัจจุบันคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ได้จำกัดให้วิ่งคบเพลิงภายในประเทศ หลังเกิดการประท้วงใน การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2008[2]

โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]

เมืองเจ้าภาพ วัน ระยะทาง (กิโลเมตร) นักวิ่งคบเพลิง (คน) เส้นทาง
นาซีเยอรมนี เบอร์ลิน 1936 8 3,422 3,422
กระถางคบเพลิง ณ กรุงเบอร์ลิน
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์เทสซาโลนีกี) – บัลแกเรีย โซเฟียสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย เบลเกรดฮังการี บูดาเปสต์ออสเตรีย เวียนนาเชโกสโลวาเกีย ปราก

สายในประเทศ

นาซีเยอรมนี (เดรสเดินเบอร์ลิน[3])

ญี่ปุ่น/ฟินแลนด์ ยกเลิก
สหราชอาณาจักร ยกเลิก
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 1948 13 7,870 3,372
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเกาะคอร์ฟู) – อิตาลี (บารีมิลาน) – สวิตเซอร์แลนด์ (โลซานเจนีวา) – ฝรั่งเศส (เบอซ็องซงเม็ตซ์) – ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์กเบลเยียม บรัสเซลส์ฝรั่งเศส (ลีลกาแล)

สายในประเทศ

สหราชอาณาจักร (โดเวอร์ลอนดอน)

ฟินแลนด์ เฮลซิงกิ 1952 5 3,365 1,416
การวิ่งคบเพลิง ณ ประเทศกรีซ
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) – เดนมาร์ก (ออลบอร์โอเดนเซโคเปนเฮเกน) – สวีเดน (มัลเมอกอเทนเบิร์กสต็อกโฮล์ม)

สายในประเทศ

ฟินแลนด์ (ทอร์นีโอโอวลุเฮลซิงกิ)

ออสเตรเลีย เมลเบิร์น 1956 21 20,470 3,118
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

ออสเตรเลีย (ดาร์วินบริสเบนซิดนีย์แคนเบอร์ราเมลเบิร์น)

สวีเดน สต็อกโฮล์ม 1956
(กีฬาขี่ม้า)
9 1,000 490
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) – เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน

สายในประเทศ

สวีเดน (มัลเมอสต็อกโฮล์ม)

อิตาลี โรม 1960 14 2,750 1,529
การวิ่งคบเพลิงในพิธีเปิด
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

อิตาลี (ซีรากูซากาตาเนียเมสซีนาเรจโจคาลาเบรียเนเปิลส์โรม)

ญี่ปุ่น โตเกียว 1964 51 20,065 870
การวิ่งคบเพลิง ณ นครนะฮะ
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) – ตุรกี อิสตันบูลเลบานอน เบรุตอิหร่าน เตหะรานปากีสถาน ลาฮอร์อินเดีย นิวเดลี – ประเทศพม่า ย่างกุ้งไทย กรุงเทพมหานครมาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ฟิลิปปินส์ มะนิลา ฮ่องกงไต้หวัน ไทเป

สายในประเทศ

ญี่ปุ่น (เกาะโอะกินะวะโตเกียว)

เม็กซิโก เม็กซิโกซิตี 1968 51 13,620 2,778
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) – อิตาลี (เจนัวบาร์เซโลนามาดริดเซบิยาปาลอสลาส พัลมาส) – ประเทศบาฮามาส เกาะซาน ซาลวาดอร์

สายในประเทศ

เม็กซิโก (เบรากรุซเม็กซิโกซิตี)

เยอรมนีตะวันตก มิวนิก 1972 30 5,532 6,000
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์เทสซาโลนีกี) – ตุรกี อิสตันบูลบัลแกเรีย วาร์นาโรมาเนีย (บูคาเรสต์ทิมิโซอารา) – สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย เบลเกรดฮังการี บูดาเปสต์ออสเตรีย (เวียนนาลินซ์ซาลซ์บูร์กอินส์บรุค)

สายในประเทศ

เยอรมนีตะวันตก (การ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชินมิวนิก)

แคนาดา มอนทรีออล 1976 5 775 1,214
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

แคนาดา (ออตตาวามอนทรีออล)

สหภาพโซเวียต มอสโก 1980 31 4,915 5,000
การจุดคบเพลิงในพิธีเปิด
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์เทสซาโลนีกี) – บัลแกเรีย โซเฟียโรมาเนีย บูคาเรสต์

สายในประเทศ

สหภาพโซเวียต (คีชีเนาเคียฟตูลามอสโก)

สหรัฐ ลอสแอนเจลิส 1984 83 15,000 3,636
การวิ่งคบเพลิง ณ นครลอสแอนเจลิส
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

สหรัฐ (นครนิวยอร์กบอสตันฟิลาเดลเฟียวอชิงตัน ดี.ซี.ดีทรอยต์ชิคาโกอินเดียแนโพลิสแอตแลนตาเซนต์หลุยส์แดลลัสเดนเวอร์ซอลต์เลกซิตีซีแอตเทิลซานฟรานซิสโกแซนดีเอโกลอสแอนเจลิส)

เกาหลีใต้ โซล 1988 26 15,250 1,467
การจุดคบเพลิงในพิธีเปิด
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

เกาหลีใต้ (เชจูปูซานโซล)

สเปน บาร์เซโลนา 1992 51 6,307 10,448
การวิ่งคบเพลิง ณ เมืองบาร์เซโลนา
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

สเปน (เอมปูเรียสบิลบาโออาโกรุญญามาดริดเซบิยาลาส พัลมาสมาลากาบาเลนเซียปัลมาบาร์เซโลนา)

สหรัฐ แอตแลนตา 1996 112 29,016 13,267
การวิ่งคบเพลิง ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

สหรัฐ (ลอสแอนเจลิสลาสเวกัสซานฟรานซิสโกซีแอตเทิลซอลต์เลกซิตีเดนเวอร์แดลลัสเซนต์หลุยส์มินนีแอโพลิสชิคาโกดีทรอยต์บอสตันนครนิวยอร์กฟิลาเดลเฟียวอชิงตัน ดี.ซี.ไมแอมีเบอร์มิงแฮมแอตแลนตา)

ออสเตรเลีย ซิดนีย์ 2000 127 27,000 13,300
การวิ่งคบเพลิง ณ รัฐนิวเซาท์เวลส์
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) –  กวม ปาเลา ไมโครนีเชีย นาอูรู หมู่เกาะโซโลมอน ปาปัวนิวกินี วานูวาตู ซามัว อเมริกันซามัว หมู่เกาะคุก ตองงานิวซีแลนด์ (ควีนส์ทาวน์ไครสต์เชิร์ชเวลลิงตันโรโตรัวออกแลนด์)

สายในประเทศ

ออสเตรเลีย (โขดหินอุลูรูบริสเบนดาร์วินเพิร์ทแอดิเลดเมลเบิร์นแคนเบอร์ราซิดนีย์)

กรีซ เอเธนส์ 2004 142 86,000 11,360
การวิ่งคบเพลิง ณ กรุงบรัสเซลส์
สายในประเทศ (รอบจุดเพลิง)

กรีซ (โอลิมเปียมาราธอนเอเธนส์)

สายต่างประเทศ

ออสเตรเลีย ซิดนีย์เมลเบิร์นญี่ปุ่น โตเกียวเกาหลีใต้ โซลจีน ปักกิ่งอินเดีย เดลีอียิปต์ ไคโรแอฟริกาใต้ เคปทาวน์บราซิล รีโอเดจาเนโรเม็กซิโก เม็กซิโกซิตีสหรัฐ (ลอสแอนเจลิสเซนต์หลุยส์แอตแลนตานครนิวยอร์ก) – แคนาดา มอนทรีออลเบลเยียม (แอนต์เวิร์ปบรัสเซลส์) – เนเธอร์แลนด์ อัมสเตอร์ดัมสวิตเซอร์แลนด์ (โลซานเจนีวา) – ฝรั่งเศส ปารีสสหราชอาณาจักร ลอนดอนสเปน (มาดริดบาร์เซโลนา) – อิตาลี โรมเยอรมนี (มิวนิกเบอร์ลิน) – สวีเดน สต็อกโฮล์มฟินแลนด์ เฮลซิงกิรัสเซีย มอสโกยูเครน เคียฟตุรกี อิสตันบูลบัลแกเรีย โซเฟียไซปรัส นิโคเซีย

สายในประเทศ

กรีซ (ฮีราคลีออนเทสซาโลนีกีปาทรัสเอเธนส์)

จีน ปักกิ่ง 2008 130 137,000 21,880
การวิ่งคบเพลิง ณ กรุงลอนดอน
สายต่างประเทศ

1. กรีซ (โอลิมเปียมาราธอนเอเธนส์) – จีน (1)
2. คาซัคสถาน อัลมาเตอตุรกี อิสตันบูลรัสเซีย เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กสหราชอาณาจักร ลอนดอนฝรั่งเศส ปารีสสหรัฐ ลอสแอนเจลิสอาร์เจนตินา บัวโนสไอเรสแทนซาเนีย ดาร์-เอส-ซาลามโอมาน มัสกัตปากีสถาน อิสลามาบาดอินเดีย มุมไบไทย กรุงเทพมหานครมาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์อินโดนีเซีย จาการ์ตาออสเตรเลีย แคนเบอร์ราญี่ปุ่น นางาโนะเกาหลีใต้ โซลเกาหลีเหนือ เปียงยางเวียดนาม นครโฮจิมินห์ ฮ่องกง มาเก๊าจีน (2)

สายในประเทศ

1. จีน ปักกิ่ง
2. จีน (ซานย่าอู๋ซิฉานว่านหนิงไหโข่วกว่างโจวเซินเจิ้นฮุ่ยโจวซัวเถาฝูโจวเฉวียนโจวเซี่ยเหมินหลงยานหรุ้ยจินจิ่งกังซานหนานชางเวินโจวหนิงปัวหางโจวเฉาซิงเจียเซียงเซี่ยงไฮ้ซูโจวหนานทงไท่โจวหยางโจวหนานจิงเหอเฝย์หวยหนานอู๋หูจี้ซีเขาหวงอู่ฮั่นอี้ชางจิ่นโจวเยฺว่หยางฉางชาเฉาชานกุ้ยหลินหนานหนิงไป๋เซอคุนหมิงลี่เจียงแชงกรี-ลากุ้ยหยางไคลีจุนอี้ฉงชิ่งกวงอานเหมียนหยางกวงอานลาซาโกลมุดชิงไห่ซีหนิงอุรุมชีคาสการ์ซือเหอจือฉางจือตุนหวงเจี่ยยู่กวนจิ่วฉวนเทียนฉุ่ยหลานโจวจงเหว่ยอู๋จงอิ๋นชวนเหยียนอันหยางหลิงเสียนหยางซีอานยฺวิ่นเฉิงผิงเหยาไท่หยวนต้าถงฮูฮอตออดอสบาวตูฉีเฟิ่งฉีฉีฮาร์ต้าชิ่งฮาร์บินซ่งหยวนฉางชุนจี๋หลินหยานจี๋เฉิ่นหยางเปินซีเหลียวหยางอันชานต้าเหลียนเยียนไถเวยไห่ชิงเต่าหรีเจ้าหลินอี้กูฟูไทอันจี่หนานซางฉิวไคเฟิงเจิ้งโจวลกเอี๋ยงอันหยางฉือเจียจวงฉินฮวงเต่าฉินฮวงเต่าเทียนจินเล่อซานจือกงยีบินเฉิงตูปักกิ่ง)

สหราชอาณาจักร ลอนดอน 2012 70 12,800 8,000
การวิ่งคบเพลิง ณ มณฑลแลงคาเชอร์
สายต่างประเทศ

1.กรีซ (โอลิมเปียฮีราคลีออนโยอานนีนาเทสซาโลนีกีเอเธนส์) – สหราชอาณาจักร (1)
2. ไอล์ออฟแมน ดักลาสสหราชอาณาจักร (2)
3. สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ดับลินสหราชอาณาจักร (3)
4. เกิร์นซีย์ เซนต์ปีเตอร์พอร์ตเจอร์ซีย์ เซนต์เฮลิเยอร์สหราชอาณาจักร (4)

สายในประเทศ

1. สหราชอาณาจักร (แลนด์สเอ็นด์ - พลิมัททอร์ควีย์เอ็กซิเตอร์บาร์นสเทเพิลทวนทันแกลสทันเบอร์รีบาธบริสตอลกลอสเตอร์วุร์สเตอร์คาร์ดิฟฟ์สวอนซีอเบอริธวิธบังกอร์เชสเตอร์มัชเวนล็อกสโตก-ออน-เทรนต์ลิเวอร์พูล) – ไอล์ออฟแมน
2. สหราชอาณาจักร (เบลฟาสต์เดอร์รี่นิวรี) – สาธารณรัฐไอร์แลนด์
3. สหราชอาณาจักร (เบลฟาสต์ - สแตรนแรร์กลาสโกว์อินเวอร์เนสส์เคิร์กวอลล์เลอร์วิคสตอร์โนเวย์อินเวอร์เนสส์แอเบอร์ดีนดันดีเซนต์แอนดรูส์สเตอร์ลิงเอดินบะระนิวคาสเซิลอะพอนไทน์คิงส์ตันอะพอนฮัลล์ยอร์กคาร์ไลล์ดัมฟรายส์แบล็กพูลแมนเชสเตอร์ลีดส์เชฟฟีลด์นอตทิงแฮมดาร์บีเบอร์มิงแฮมสแตรทฟอร์ดริมแม่น้ำเอวอนรักบี้คอเวนทรีนอริชอิปสวิชเคมบริดจ์สโตก แมนด์วิลล์ออกซฟอร์ดวินด์เซอร์แอสคอทเรดิงวินเชสเตอร์ซอลส์บรีชาฟต์บิวรีบอร์นมัธเซาแทมป์ตัน) – เกิร์นซีย์
4. สหราชอาณาจักร (พอร์ตสมัทชิชิสเตอร์ไบรตันเฮสติงส์โดเวอร์ - แคนเทอร์เบอรีเมดสโตนลอนดอน)

บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 106 20,000 12,000
การวิ่งคบเพลิง ณ กรุงบราซิเลีย ถือโดยวังแดร์เลย์ โกร์เดย์รู จี ลีมา
สายต่างประเทศ

กรีซ ('โอลิมเปีย'ไพกรอสอมาเลียดาเลไคนาเกาะซาคินทอสปาทรัสมิสโซลองกิอัสทากอสเกาะเลฟคาด้านิคาโปลิสเพรียฟเซอิกูแมนิทซาเกาะคอร์ฟู - โยอานนีนาเวเรียเทสซาโลนีกีเซอเรสดรามาคาวาลาอเล็กซานโดรโพลิสโคโมตินิซานติเคเทอรินีลาริสซาคัลซีสมาราธอนเอเธนส์) – สวิตเซอร์แลนด์ (โลซานเจนีวา)

สายในประเทศ

บราซิล (บราซีเลียโกยาเนียเบโลโอรีซอนชีวิตอเรียซัลวาดอร์อารากาจูมาเซโอเรซีฟีโจเอาเปสโซอานาตาลเฟร์นันดูจีนอโรนยาโฟร์ตาเลซาปาลมัสเซาลูอีสเบเลงมากาปามาเนาส์รีอูบรังกูโปร์ตูเวลยูกังปูกรังจีโฟซ โด อีกัวสุปอร์โตอเลเกรโฟลเรียนอโปลิสบลูเมเนากูรีตีบาซังตูสเซาเปาลูรีโอเดจาเนโร)

โอลิมปิกฤดูหนาว[แก้]

เมืองเจ้าภาพ วัน ระยะทาง (กิโลเมตร) นักวิ่งคบเพลิง (คน) เส้นทาง
นอร์เวย์ ออสโล 1952 2 225 94
สายในประเทศ

นอร์เวย์ (มอร์เกดอลออสโล)

อิตาลี กอร์ตีนาดัมเปซโซ 1956 5
สายในประเทศ

อิตาลี (โรมเวนิสกอร์ตีนาดัมเปซโซ)

สหรัฐ สควอว์วัลเลย์ 1960 19 960 700
สายต่างประเทศ

นอร์เวย์ (มอร์เกดอลออสโล)

สายในประเทศ

สหรัฐ (ลอสแอนเจลิสเฟรสโนสควอว์วัลเลย์)

ออสเตรีย อินส์บรุค 1964 8
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

ออสเตรีย (เวียนนาอินส์บรุค)

ฝรั่งเศส เกรอนอบล์ 1968 50 7,222 5,000
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

ฝรั่งเศส (ปารีสสทราซบูร์ลียงบอร์โดตูลูซมาร์แซย์นีซชามอนีเกรอนอบล์)

ญี่ปุ่น ซัปโปะโระ 1972 38 18,741 16,300
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

ญี่ปุ่น (โอะกินะวะโตเกียวซัปโปะโระ)

ออสเตรีย อินส์บรุค 1976 6 1,618
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) – ออสเตรีย (1)(2)

สายในประเทศ

1. ออสเตรีย (เวียนนาลินซ์ซาลซ์บูร์กอินส์บรุค)
2. ออสเตรีย (กราซคลาเกินฟวร์ทอินส์บรุค)

สหรัฐ เลคพลาซิด 1980 15 12,824 52
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) – สาธารณรัฐไอร์แลนด์ แชนนอน

สายในประเทศ

สหรัฐ (ทานทัพอากาศแลงลีย์, แฮมป์ตันวอชิงตัน ดี.ซี.บอลทิมอร์ฟิลาเดลเฟียนครนิวยอร์กออลบานีเลคพลาซิด)

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ซาราเยโว 1984 11 5,289 1,600
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ดูโบรฟนิกสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (1)(2)
1. สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (สปลิตลูบลิยานาซาเกร็บซาราเยโว)
2. สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (สโกเปียนอวีซาดเบลเกรดซาราเยโว)

แคนาดา แคลกะรี 1988 95 18,000 6,250
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

แคนาดา (เซนต์จอห์นส์นครควิเบกมอนทรีออลออตตาวาโทรอนโตวินนิเพ็กอินูวิกแวนคูเวอร์เอ็ดมันตันแคลกะรี)

ฝรั่งเศส แอลเบอร์วีลล์ 1992 58 5,500 5,500
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

ฝรั่งเศส (ปารีสน็องต์เลออาฟวร์ลีลสทราซบูร์ลิโมชบอร์โดตูลูซอาฌักซีโยนีซมาร์แซย์ลียงเกรอนอบล์แอลเบอร์วีลล์)

นอร์เวย์ ลิลเลฮัมเมร์ 1994 82[nb 1] 12,000[nb 1] 7,000[nb 1]
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) – เยอรมนี (แฟรงก์เฟิร์ตชตุทท์การ์ทคาร์ลสรูเออดึสเซิลดอร์ฟโคโลญฮัมบวร์ค) – เดนมาร์ก โคเปนเฮเกนสวีเดน สต็อกโฮล์ม

สายในประเทศ

นอร์เวย์ (ออสโลลิลเลฮัมเมร์)
(เพลิงจากมอร์เกดอล: มอร์เกดอลคริสเตียนซานสตาวังเงร์แบร์เกนทรอนด์เฮมทรุมเซอสฟาลบาร์ทรุมเซอโบโดออสโลลิลเลฮัมเมร์)[nb 1][4][5][6]

ญี่ปุ่น นะงะโนะ 1998 51 3,486 6,901
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

ญี่ปุ่น โตเกียวญี่ปุ่น (1)(2)(3) 1. ญี่ปุ่น (ฮกไกโดชิบะโตเกียวนะงะโนะ)
2. ญี่ปุ่น (โอะกินะวะฮิโระชิมะเคียวโตะนะงะโนะ)
3. ญี่ปุ่น (คะโงะชิมะโอซะกะชิซุโอะกะนะงะโนะ)

สหรัฐ ซอลต์เลกซิตี 2002 85 21,275 12,012
การวิ่งคบเพลิง ณ เมืองโพรโว
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

สหรัฐ (แอตแลนตาชาร์ลสตันแจ็กสันวิลล์เซนต์ออกัสตินออร์แลนโดไมแอมีโมบายไบล็อกซีนิวออร์ลีนส์ฮิวสตันแซนแอนโทนีโอออสตินแดลลัสลิตเทิลร็อกเมมฟิสแนชวิลล์ลุยส์วิลล์ซินซินแนติพิตต์สเบิร์กคัมเบอร์แลนด์วอชิงตัน ดี.ซี. – บอลทิมอร์ฟิลาเดลเฟียนครนิวยอร์ก - ฮาร์ตฟอร์ดพรอวิเดนซ์บอสตันเบอร์ลิงตันเลคพลาซิดซีราคิวส์คลีฟแลนด์โคลัมบัสชิคาโกมิลวอกีดีทรอยต์ฟอร์ตเวนอินเดียแนโพลิสเลกซิงตันเซนต์หลุยส์แคนซัสซิตีโอมาฮาวิชิทอโอคลาโฮมาซิตีอามาริลโลแอลบูเคอร์คีฟีนิกซ์ลอสแอนเจลิสซานฟรานซิสโกสควอว์วัลเลย์สปาร์คส์พอร์ตแลนด์ซีแอตเทิลจูโนบอยซีโบซแมนไชเอนน์เดนเวอร์ซอลต์เลกซิตี[7])

อิตาลี ตูริน 2006 75 11,300 10,000
สายต่างประเทศ

1. กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) – อิตาลี (1)
2. มอลตา วัลเลตตาอิตาลี (2)
3.  ซานมารีโนอิตาลี (3)
4. สโลวีเนีย โคเพอร์ออสเตรีย คลาเกินฟวร์ทอิตาลี (4)
5. สวิตเซอร์แลนด์ ลูกาโนอิตาลี (5)
6. ฝรั่งเศส แอลเบอร์วีลล์อิตาลี (6)

สายในประเทศ

1. อิตาลี (โรมฟลอเรนซ์เจนัวคัลยารี) – มอลตา
2. อิตาลี (ปาแลร์โมเนเปิลส์บารีแอนโคนา) – ซานมารีโน
3. อิตาลี (โบโลญญาเวนิสตรีเยสเต) – สโลวีเนีย
4. อิตาลี (เทรนโตกอร์ตีนาดัมเปซโซมิลาน) – สวิตเซอร์แลนด์
5. อิตาลี บาโดเนเคียฝรั่งเศส
6. อิตาลี ตูริน

แคนาดา แวนคูเวอร์ 2010 106 45,000+ 12,000+
การวิ่งคบเพลิง ณ เมืองมองก์ตัน
สายต่างประเทศ

1. กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) – แคนาดา (1)
2. สหรัฐ รัฐวอชิงตันแคนาดา (2)

สายในประเทศ

1. แคนาดา (วิกตอเรียยูคอนนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์รัฐแอลเบอร์ตารัฐซัสแคตเชวันรัฐแมนิโทบานูนาวุตรัฐควิเบกรัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์รัฐโนวาสโกเชียรัฐพรินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์รัฐนิวบรันสวิกรัฐควิเบกรัฐออนแทรีโอรัฐแมนิโทบารัฐซัสแคตเชวันรัฐแอลเบอร์ตา) – สหรัฐ
2. แคนาดา แวนคูเวอร์[8]

รัสเซีย โซชี 2014 123 65,000
การวิ่งคบเพลิง ณ เมืองซามารา
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

รัสเซีย (มอสโกโคลอมนาโอดินต์โซโวพระราชวังอาร์คานเจลสเกอคราสโนกรอสค์ดมิตรอฟเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กคาลินินกราดเมอร์มานสค์อาคันเกลสค์ยาคุตสค์วลาดีวอสตอคอีร์คุตสค์โนโวซีบีสค์คาซานนิจนีนอฟโกรอดวอลโกกราดรอสตอฟ ออนดอนแอสตราคันกรอซนีโซชี)

เกาหลีใต้ พย็องชัง 2018 - - -
การวิ่งคบเพลิง ณ เมืองพาจู
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

เกาหลีใต้ (อินช็อนเชจูปูซานอุลซันเกียวเชทงยองชางวอนซาชอน (จังหวัดคย็องซังใต้)ยอซูซุนชอนมกโพ(จังหวัดช็อลลาใต้)ช็อนจู (จังหวัดช็อลลาเหนือ)(จังหวัดชุงช็องใต้)แทจ็อนเซจงชุงจูดันยาง (จังหวัดชุงช็องเหนือ)อันดง (จังหวัดคย็องซังเหนือ)แทกูโพฮัง (จังหวัดคย็องซังเหนือ)ซูว็อน (จังหวัดคย็องกี)โซลพาจูย็อนช็อน (จังหวัดคย็องกี)ซัมโชกจองซอนพย็องชัง (จังหวัดคังว็อน))

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 ในการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 ได้แบ่งเป็น 2 สาย สายแรกคือสายที่วิ่งภายในประเทศ ซึ่งเพลิงของสายนี้ได้ถูกจุดที่เมืองมอร์เกดอล ซึ่งเป็นสถานที่จุดเพลิงของโอลิมปิกฤดูหนาว 2 สมัย และส่วนที่ 2 คือ สายที่ใช้เพลิงจากเมืองโอลิมเปีย ซึ่งคณะกรรมการจัดการแข่งขันได้วางแผนให้รวมทั้ง 2 เพลิง เป็นเพลิงเดียวกัน แต่ถูกระงับจากการประท้วงของทางการกรีซ ทำให้พิธีเปิดได้ใช้แค่เพลิงจากเมืองโอลิมเปีย ส่วนเพลิงจากเมืองมอร์เกดอลได้ใช้ในพาราลิมปิกฤดูหนาวแทน

โอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน[แก้]

เมืองเจ้าภาพ วัน ระยะทาง (กิโลเมตร) นักวิ่งคบเพลิง (คน) เส้นทาง
สิงคโปร์ สิงคโปร์ 2010 22 26,700+ 2,400+
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) – เยอรมนี เบอร์ลินเซเนกัล ดาการ์เม็กซิโก เม็กซิโกซิตีนิวซีแลนด์ ออกแลนด์เกาหลีใต้ โซล

สายในประเทศ

 สิงคโปร์

จีน หนานจิง 2014 108 104
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์) – ออนไลน์

สายในประเทศ

จีน หนานจิง

โอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว[แก้]

เมืองเจ้าภาพ วัน ระยะทาง (กิโลเมตร) นักวิ่งคบเพลิง (คน) เส้นทาง
ออสเตรีย อินส์บรุค 2012 18 3,573 2,012
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

ออสเตรีย (อินส์บรุคเบรเกนซ์เซนต์แอนทอนและอาร์ลเบิร์กลีนซ์คลาเกินฟวร์ทเซอร์เมอร์ริงเวียนนากราซไอเซนชตัดท์ซังคท์เพิลเทินลินซ์ซาลซ์บูร์กสคลาดมิงอินส์บรุค)

นอร์เวย์ ลิลเลฮัมเมร์ 2016 74 - -
สายต่างประเทศ

กรีซ (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

นอร์เวย์ (ลิลเลฮัมเมร์ออสโลลิลเลฮัมเมร์)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Bowlby, Chris. "The Olympic torch's shadowy past", BBC News, 2008-03-05. Retrieved on 2009-10-21.
  2. Zinser, Lynn (March 27, 2009). "I.O.C. Bars International Torch Relays". The New York Times. สืบค้นเมื่อ August 3, 2012.
  3. Official Report of the เบอร์ลิน 1936 Olympiad
  4. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-06. สืบค้นเมื่อ 2011-07-19.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-20. สืบค้นเมื่อ 2018-03-30.
  6. "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-12-02. สืบค้นเมื่อ 2010-12-10.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  7. "2002 Olympic Torch Relay Route". PR Newswire. สืบค้นเมื่อ 24 November 2008.
  8. "Provincial and territorial routes[ลิงก์เสีย]", แวนคูเวอร์ 2010 official site, listing the exact stops on the tour.