ประเทศไอร์แลนด์
ไอร์แลนด์ | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
Éire (ไอร์แลนด์) Ireland (อังกฤษ) |
||||||
|
||||||
เพลงชาติ: เอารานนาวีอัน "เพลงของทหาร" |
||||||
ที่ตั้งของ ไอร์แลนด์ (สีเขียวเข้ม) – ในทวีปยุโรป (สีเขียว & สีเทาเข้ม) |
||||||
เมืองหลวง (และเมืองใหญ่สุด) | ดับลิน 53°20.65′N 6°16.05′W / 53.34417°N 6.26750°W | |||||
ภาษาราชการ | ภาษาไอริชและภาษาอังกฤษ | |||||
การปกครอง | ประชาธิปไตยระบบรัฐสภา | |||||
• | ประธานาธิบดี | ไมเคิล ดี. ฮิกกินส์ |
||||
• | นายกรัฐมนตรี | ลีโอ วาราดกา | ||||
เอกราช | จาก สหราชอาณาจักร | |||||
• | ได้รับการยอมรับ | 21 มกราคม พ.ศ. 2462 | ||||
• | โดยสนธิสัญญา | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2464 | ||||
พื้นที่ | ||||||
• | รวม | 70,273 ตร.กม. (118) 27,133 ตร.ไมล์ |
||||
• | แหล่งน้ำ (%) | 2 | ||||
ประชากร | ||||||
• | 2557 (ประเมิน) | 4,609,600 | ||||
• | 2555 (สำมะโน) | 4,588,252 | ||||
• | ความหนาแน่น | 65.3 คน/ตร.กม. (142) 168.8 คน/ตร.ไมล์ |
||||
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | 2560 (ประมาณ) | |||||
• | รวม | $ 344.770 พันล้าน | ||||
• | ต่อหัว | $ 72,632 | ||||
จีดีพี (ราคาตลาด) | 2560 (ประมาณ) | |||||
• | รวม | $ 325.649 พันล้าน | ||||
• | ต่อหัว | $ 68,604 | ||||
จีนี (2557) | 31.9[1] | |||||
HDI (2559) | ![]() |
|||||
สกุลเงิน | ยูโร (€) 1 (EUR ) |
|||||
เขตเวลา | GMT (UTC+0) | |||||
• | ฤดูร้อน (DST) | IST (UTC+1) | ||||
ขับรถด้าน | ซ้ายมือ | |||||
โดเมนบนสุด | .ie | |||||
รหัสโทรศัพท์ | 353 | |||||
1 ก่อนหน้า 1999: ปอนด์ไอริช ("Punt") |
ไอร์แลนด์[2] (อังกฤษ: Ireland, เสียงอ่าน: /ˈaɪərlənd/ ( ฟังเสียง) หรือ [ˈaɾlənd]; ไอริช: Éire [ˈeːɾʲə] เอเหรอะ) คำบรรยายระบอบการปกครองของประเทศนี้ (ไม่ใช่ชื่อทางการ) คือ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ (อังกฤษ: Republic of Ireland; ไอริช: Poblacht na hÉireann)[3] นับเป็นสมาชิกที่อยู่ไกลสุดทางตะวันตกของสหภาพยุโรป มีประชากร 4 ล้านกว่าคน เป็นประเทศบนเกาะไอร์แลนด์ อยู่ห่างจากทวีปยุโรปไปทางตะวันตกเฉียงเหนือ โดยครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 5 ใน 6 ของเกาะดังกล่าว (ส่วนที่เหลืออีก 1 ใน 6 ของเกาะไอร์แลนด์ เรียกว่า ไอร์แลนด์เหนือ เป็นส่วนหนึ่งของสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ) ในการแข่งขันรักบี้ระดับนานาชาติ นักกีฬาจากทั้งสาธารณรัฐไอร์แลนด์ และแคว้นไอร์แลนด์เหนือ จะเข้าร่วมในทีมเดียวกัน ในชื่อทีมสหพันธ์รักบี้ไอร์แลนด์ นอกจากนี้ไอร์แลนด์เป็นอีกประเทศหนึ่งที่ใช้เงินยูโร
เนื้อหา
ประวัติศาสตร์[แก้]
ภูมิศาสตร์[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การเมืองการปกครอง[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
ประเทศไอร์แลนด์แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 31 เทศมณฑล ได้แก่
|
เมืองใหญ่ที่สุดในประเทศไอร์แลนด์
2011 census | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ที่ | เมือง | เทศมณฑล | ประชากร (คน) | ||||||
ดับลิน ![]() คอร์ก |
1 | ดับลิน | ดับลิน | 1,110,627 | ![]() ลิเมอริก ![]() กอลเวย์ | ||||
2 | คอร์ก | คอร์ก | 198,582 | ||||||
3 | ลิเมอริก | ลิเมอริก | 91,454 | ||||||
4 | กอลเวย์ | กอลเวย์ | 76,778 | ||||||
5 | วอเตอร์ฟอร์ด | วอเตอร์ฟอร์ด | 51,519 | ||||||
6 | ดรอเฮดา | เลาท์ | 38,578 | ||||||
7 | ดันดอล์ก | เลาท์ | 37,816 | ||||||
8 | ซอดส์ | ฟิงกัล | 36,924 | ||||||
9 | เบรย์ | วิกโลว์ | 31,872 | ||||||
10 | นาวาน | มีท | 28,559 |
กฎหมาย[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กองทัพ[แก้]
กองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (อังกฤษ: Irish Republican Army; ไอริช: Óglaigh na hÉireann) เป็นขบวนการของชนกลุ่มน้อยชาวไอริชที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกในไอร์แลนด์เหนือ ต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชจากสหราชอาณาจักร โดยใช้ความรุนแรง เช่น การลอบสังหาร การปล้นธนาคาร และการวางระเบิดพลเรือนมาตั้งแต่เริ่มก่อตั้งองค์กรเมื่อ พ.ศ. 2512 วัตถุประสงค์หลักคือต้องการแยกไอร์แลนด์เหนือออกจากสหราชอาณาจักรที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์ เพื่อไปรวมกับประเทศไอร์แลนด์
กองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ได้รับการสนับสนุนจากชาวไอริชที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิกในพื้นที่และที่อยู่ต่างแดน เช่นในสหรัฐและแคนาดาซึ่งเป็นแหล่งเงินทุนสำคัญทำให้กองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ยงยืนหยัดต่อสู้กับรัฐบาลอังกฤษได้
พ.ศ. 2541 กองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์และกลุ่มซันเฟนได้ประกาศวางอาวุธและลงนามในสนธิสัญญาสงบศึกกับอังกฤษและขบวนการอื่นๆของชาวไอริช ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับข้อตกลงในการวางอาวุธ ทำให้สมาชิกกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์บางส่วนไม่พอใจ ประกาศแยกตัวออกมาตั้งกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ใหม่เมื่อ พ.ศ. 2542 และออกปฏิบัติการด้วยความรุนแรงต่อไป
เศรษฐกิจการคลัง[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การศึกษา[แก้]
ไอร์แลนด์มีสามระดับการศึกษา คือระดับประถมศึกษา, มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ระบบการศึกษาเป็นส่วนใหญ่อยู่ภายใต้แนวทางของรัฐบาล โดยผ่านทางรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการและวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้รับการยอมรับในระดับประถมและมัธยมศึกษา ที่จะต้องปฏิบัติตามหลักสูตรที่จัดตั้งขึ้นโดยหน่วยงานที่มีอำนาจที่ได้กำหนดให้ เด็กทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาภาคบังคับ ซึ่งมีช่วงอายุระหว่างหกและสิบห้าปี เด็กทุกคนที่มีอายุไม่เกินสิบแปดปีจะต้องสำเร็จการศึกษาระดับชั้นสามปีแรกของมัธยมศึกษา รวมทั้งต้องมีหนังสือรับรองการสอบที่มีชื่อว่าจูเนียร์ เซอร์ทิฟิเคท[4]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การท่องเที่ยว[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
กีฬา[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "Ireland". World Bank.
- ↑ Government of Ireland (1937). "Article 4". Constitution of Ireland. Dublin: Stationary Office.
The name of the State is Éire, or, in the English language, Ireland.
- ↑ Government of Ireland (1948). "Article 2". Republic of Ireland Act, 1948. Dublin: Government of Ireland.
It is hereby declared that the description of the State shall be the Republic of Ireland.
- ↑ Education (Welfare) Act, 2000 (Section 17)
บรรณานุกรม[แก้]
- Gilland, Karin (2001). Ireland: Neutrality and the International Use of Force. Routledge. ISBN 0415218047.
- Greenwood, Margaret (2003). Rough guide to Ireland. Rough Guides. ISBN 1843530597.
- Mangan, James Clarence (2007). James Clarence Mangan - His Selected Poems. Read Books. ISBN 1408627000.
- Meinardus, Otto Friedrich August (2002). Two thousand years of Coptic Christianity. American Univ in Cairo Press. ISBN 9774247574.
- Moody, Theodore William (2005). A New History of Ireland: Prehistoric and early Ireland. Oxford University Press. ISBN 0198217374.
หนังสืออ่านเพิ่ม[แก้]
- Bunreacht na hÉireann (the 1937 constitution) (PDF versionPDF)
- The Irish Free State Constitution Act, 1922
- J. Anthony Foley and Stephen Lalor (ed), Gill & Macmillan Annotated Constitution of Ireland (Gill & Macmillan, 1995) (ISBN 0-7171-2276-X)
- FSL Lyons, Ireland Since the Famine
- Alan J. Ward, The Irish Constitutional Tradition: Responsible Government and Modern Ireland 1782–1992 (Irish Academic Press, 1994) (ISBN 0-7165-2528-3)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
คุณสามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับ ประเทศไอร์แลนด์ ได้โดยค้นหาจาก โครงการพี่น้องของวิกิพีเดีย : | |
---|---|
![]() |
หาความหมาย จากวิกิพจนานุกรม |
![]() |
หนังสือ จากวิกิตำรา |
![]() |
คำคม จากวิกิคำคม |
![]() |
ข้อมูลต้นฉบับ จากวิกิซอร์ซ |
![]() |
ภาพและสื่อ จากคอมมอนส์ |
![]() |
เนื้อหาข่าว จากวิกิข่าว |
![]() |
แหล่งเรียนรู้ จากวิกิวิทยาลัย |
- รัฐบาล
- Irish State – รัฐบาลสาธารณรัฐไอร์แลนด์
- Áras an Uachtaráin – ประธานาธิบดีสาธารณรัฐไอร์แลนด์
- Taoiseach – นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐไอร์แลนด์
- Tithe an Oireachtais – รัฐสภาสาธารณรัฐไอร์แลนด์
- Chief of State and Cabinet Members
- ข้อมูลทั่วไป
- Ireland information from the United States Department of State
- Portals to the World from the United States Library of Congress
- Ireland at UCB Libraries GovPubs
- Ireland ที่เว็บไซต์ Curlie
ประเทศไอร์แลนด์ ข้อมูลการท่องเที่ยวจาก วิกิท่องเที่ยว
|
|